SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
1
2


                          หญ้า ถอดปล้อ ง




ชื่อ : หญ้า ถอดปล้อ ง (Horsetail)
ชื่อ อื่น : เครือ เซาะปอเยาว แยปอ หญ้า เงือ ก หญ้า หูห นวก
ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Equisetum debile Roxb.ex Vaucher
วงศ์ : EQUISETACEAE
ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ :
    หญ้าถอดปล้องเป็นพืชไร้เมล็ด ลำาต้นตั้งตรง ขนาดเล็ก สีเขียว สูง
๓๐-๑๐๐ ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๕ มม. มีข้อปล้องเห็นชัดเจน ภายใน
กลวง ด้านนอกเป็นร่องตามยาว ผิวสาก แตกกิ่งก้านตามข้อ ใบ เป็น
กาบเล็ก ๆ รูปฟันเลื่อย เชื่อมติดกันรอบข้อ สีนำ้าตาลหรือขาว ซึ่งหลุด
ร่วงง่าย
สรรพคุณ และประโยชน์ :
   ต้น กินเป็นยาขับปัสสาวะ เป็นยาเย็น ตำาเป็นยาพอกบาดแผล พอก
กระดูกที่เดาะหรือหักและพอกแก้ปวดตามข้อ


                               เฟริ์น
3




ชื่อ
วิท ยาศาสตร์ : Nephrolepsis biserrata (SW.)Schot
ชื่อ วงศ์ : OLEANDRACEAE
ชื่อ ท้อ งถิ่น : เฟิร ์น หางปลา เฟิร ์น ก้า มปู เฟิร ์น ตีน ตะขาบ
ถิ่น กำา เนิด : มีถ ิ่น กำา เนิด อยู่ใ นคิว บา และบราซิล
ลัก ษณะทั่ว ไป :
    เป็นพรรณเฟิร์นชนิดหนึ่งที่แตกลำาต้นออกเป็นกอใหญ่ จะมีลำาต้นสั้น
ๆ
การขยายพัน ธุ์:
   เป็นเฟิร์นที่มีความแข็งแรง และทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศใน
เมืองไทยได้เป็นอย่างดีนิยมปลูกเป็นไม้กระถางมากกว่า อยู่ได้ทั้งในที่
ร่มและที่มีแสงแดดจัดแต่ต้องมีความชุ่มชื้นของดินตลอดเวลา ดินที่ปลูก
ควรเป็นดินผสมพิเศษที่มีการระบายนำ้าได้ดี พยายามอย่าให้นำ้าขังจน
แฉะ ต้องการความชื้นในอากาศปานกลางและนำ้าพอสมควร ขยาย
พันธุ์ด้วยการแยกกอหรือเพาะสปอร์
4


                                สน




ชื่อ
วิท ยาศาสตร์ : Calocedrus macrolepis Kurz
ชื่อ วงศ์ : CUPRESSACEAE
ชื่อ ท้อ งถิ่น : สนใบต่อ แปกลม (ลม) สนแผง
ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์
วิส ัย : เป็นไม้ต้นประเภทพืชเมล็ดเปลือย ขนาดใหญ่ สูงถึง 35 ม.
เรือนยอดทึบรูปร่ม ปลายกิ่งห้อยลง ลำาต้นเปลาตรง เปลือกเรียบ สี
นำ้าตาลแดง เมื่อแก่จะล่อนหลุดเป็นสะเก็ดยาวบางๆ
            ใบ : เป็นเกล็ด ขนาดเล็กเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ละ 4
เกล็ด แผ่นใบด้านล่างมีไขสีขาว
            ดอก : แยกเพศ ดอกตัวผู้มีกาบกลมขนาดเล็กเรียงซ้อนกัน
เป็นรูปไข่ สีนำ้าตาล ยาวประมาณ 0.5 ซม.มีอับเรณูซ่อนอยู่ตามโคน
กาบ ดอกตัวเมียออกเดี่ยว ตามปลายกิ่ง
             ผล : รูปไข่ กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1 ซม. เปลือกแข็ง แห้ง
แล้วแตก แยกเป็น 6 ส่วน เมล็ดเล็กสีนำ้าตาลอ่อน มีปีก 2 ปีก ยาวไม่เท่า
กัน
การกระจายพัน ธุ์แ ละนิเ วศวิท ยา : มีการกระจายพันธุ์ในพม่า จีน
ภาคใต้ ลาว ไต้หวัน และเวียดนาม
5


       ประเทศไทยพบทางภาคตะวันอกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดเลย ใน
ป่าดิบเขา ความสูงจากระดับทะเล       800 -1,300 ม.
ประโยชน์ : เนื้อไม้ละเอียด สีเหลือง ใช้ในการบุผนังตกแต่งภายใน
อาคาร
                              แป๊ะ ก๊ว ย




ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Ginkgo biloba
ชื่อ สามัญ : Salisburya adiantifolia , Maidenhair tree,
Forty-coin tree, Pai Kuo Yeh (Chinese)
วงศ์ : Ginkgoaceae
ลัก ษณะของพืช
       เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูง 10-25 ม. ทุกส่วนไม่มีขน แตกกิ่งก้าน
สาขาห่าง ๆ เปลือกสีเทาต้นแก่เปลือกสีนำ้าตาลอมเหลือง ใบออกมาจาก
ปลายกิ่งสั้น กิ่งละ 3-5 ใบ รูปพัดจีน กว้าง 5-8 ซม.           ยาว
ประมาณ 8 ซม. ปลายใบเว้าตรงกลาง มีรอยเว้าตื้น ๆ หลายแห่ง หรือ
เป็นคลื่น โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เส้นใบเรียงถี่ ๆ เป็นรูปพัด ใบอ่อน
สีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม ก่อนผลัดใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ก้านใบ
เรียวยาว ดอกเป็นดอกแยกเพศ และอยู่ต่างต้นกัน ออกที่ปลายกิ่งสั้น
บริเวณเดียวกับที่เกิดใบ ดอกเพศผู้แต่ละกิ่งจะออกประมาณ 4-6 ช่อ
ลักษณะช่อเป็นแท่งห้อยลง มีเกสรเพศผู้จำานวนมาก อับเรณูติดที่ปลาย
ก้านเกสร มี 2 ลอน ดอกเพศเมียออกกิ่งละ 2-3 ดอก ดอกมีก้านยาว ที่
ปลายก้านมีไข่ 2 เมล็ด ไข่ไม่มีรังไข่หุ้ม แต่มักจะเจริญเติบโตเพียงเมล็ด
เดียว ผลรูปค่อนข้างกลมหรือรีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. เป็น
ผลชนิดมีเนื้อนุ่มแต่เมล็ดแข็ง เมื่อสุกสีเหลือง ผิวสีนวล กลิ่นค่อนข้าง
เหม็น เมล็ดรูปรีหรือรูปไข่ เปลือกแข็ง สีออกเหลืองนวล เนื้อภายใน
6


เมล็ดเมื่อทำาให้สุกใช้เป็นอาหารได้ทั้งคาว และหวาน เรียกว่า "แป๊ะ
ก๊วย"
สรรพคุณ และวิธ ีใ ช้
       สารสกัดจากใบ มีฤทธิ์ในการช่วยไหลเวียนของโลหิต มีฤทธิ์ฆ่า
แมลงศัตรูพืช เมล็ด กินได้เมื่อขจัดสารพิษออกแล้ว ใช้เป็นยาฝาดสมาน
ระงับประสาท ขับเสมหะ แก้ไอ หืดหอบ บำารุงร่างกาย ฟอกเลือด ขับ
พยาธิ ลดไข้และสารสกัดจากเมล็ดมีฤทธิ์เป็นยาชีวนะต่อเชื้อวัณโรค-
เปลือกเมล็ด มีฤทธิ์กัดทำาลาย เมื่อสัมผัสจะทำาให้ผิวหนังอักเสบ และมี
ผู้นำามาใช้เป็นยาฆ่าแมลง
                                  ปรง




ชื่อ
วิท ยาศาสตร์: Cycas pectinata Griff.
ชื่อ พื้น เมือ ง: บอกะ (มลายู-สตูล )
ชื่อ วงศ์: CYCADACEAE
ลัก ษณะทั่ว ไปทางพฤกษศาสตร์ :
      เป็นไม้ยืนต้น ลำาต้น สูง 3-4 เมตร เปลือกสีเทาอมดำา ขรุขระแตก
เป็นเกล็ด ลำาต้นเดี่ยวหรือแตกแขนง ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออก
บริเวณยอดยาว 1.5-2.5 เมตร ใบย่อยลักษณะรูปยาวแคบ ปลายใบ
เรียวแหลมและมน หรือเว้าบุ๋ม ลักษณะขอบใบเรียบ ขนาด 1.0-1.3
7


x8-32 เซนติเมตร เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ก้านใบมีหนามห่าง ๆ เมล็ด
รูปไข่ ขนาด 3.0-3.5 x4.5-4.8 เซนติเมตร บริเวณผิวเกลี้ยง
ช่ว งการออกดอกและติด ผล : ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงกุมภาพันธ์
นิเ วศวิท ยา: พบในป่าดงดิบ หรือเขาหินปูน
การใช้ป ระโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ดอกกระถางหรือลงแปลง มีดอกหอม
และสวยงาม
การขยายพัน ธุ์: ใช้เมล็ด
                   พืช ใบเลี้ย งคู่ (หางนกยูง ไทย )




ชื่อ                                                   วิท ยาศาสตร์
: Caesalpinia pulcherrima (L.) Sw.
ชื่อ วงศ์ : LEGUMINOSAE / CASALPI-NIACEAE
ชื่อ สามัญ : Barbados Pride , peacock Flower
ชื่อ ท้อ งถิ่น : ส้ม พอ พญาไม้ผ ุ ขวางยอย
ลัก ษณะวิส ัย : ไม้พ ุ่ม
ลัก ษณะ :
    เป็นพรรณไม้พุ่ม ที่มีลำาต้นขนาดเล็ก และแตกกิ่งก้านสาขามาก
เรือนยอดจะโปร่งกิ่งก้านสาขาที่ยังอ่อนอยู่เป็นสีเขียว ส่วนกิ่งที่แก่หรือ
เปลือกของต้นจะเป็นสีนำ้าตาลเข้ม ลำาต้นสูงประมาณ 3-4 เมตร เป็นไม้
ใบรวมออกใบเป็นแผงซึ่งแผงๆหนึ่งมีใบย่อยอยู่หลายคู่ แต่ละคู่จะตรง
ข้ามกัน และใบย่อยตรงส่วนปลายจะไม่มีคู่ ลักษณะใบย่อยจะกลมมน
ปลายใบมนแต่โคนใบแหลมออกเรียงกันเป็นคู่ๆ ตามก้านใบ ก้านใบ
ก้านหนึ่งจะมีใบย่อยอยู่ราวๆ 8-12 คู่ ขนาดของใบย่อยกว้างประมาณ
8


0.5 นิ้ว ยาว 1 นิ้ว มีสีเขียว ออกดอกเป็นช่ออยู่ตามปลายกิ่ง หรือส่วน
ยออดของต้น ช่อดอกจะยาวเกือบ 1 ฟุตได้ ดอกของหางนกยูงมีอยู่
หลายสีเช่น แดง เหลือง ชมพู ส้ม มีอยู่ 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่
ราวๆ 1-1.5 นิ้ว ขอบของกลีบจะยับย่นเป็นเส้นลอนสีเหลือง เกสรอยู่
กลางดอกเป็นเส้นงอนยาวโผล่พ้นเหนือดอกออกมา ลักษณะของผล
เป็นฝักแบน
และมีเมล็ดอยู่ภายในมาก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ชอบแสงแดดจัด
ปลูกง่ายและขึ้นง่าย ปลูกได้ในดินทุกชนิดและยังทนทานอีกด้วย
ต้องการนำ้าและความชื้นปานกลาง
การขยายพัน ธุ์ :
       การเพาะเมล็ดราก ของต้นดอกสีแดง ปรุงเป็นยา รับประทานขับ
ประจำาเดือน




                 พืช ใบเลี้ย งเดี่ย ว ( ต้น ทิว ลิป )




ชื่อ สามัญ :                                             tulip
ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Tulipa spp. L.
ชื่อ วงศ์ : Liliaceae
ชื่อ อื่น ๆ : ดอกไม้เ มือ งหนาว
หมวดหมู่ท รัพ ยากร : พืช
ลัก ษณะ : ทิวลิป (Tulip) เป็นชื่อสามัญของพันธุ์ไม้หัว ทีออกดอก
                                                         ่
ในฤดูใบไม้ผลิ ถ้าเราจะกล่าวกันถึง ต้นหรือดอก “ทิวลิป” ก็จะเหมือนๆ
กับการพูดถึง “กล้วยไม้” หรือ “กุหลาบ” อย่างนั้นเอง เพราะชื่อของทิว
9


ลิป กล้วยไม้ และกุหลาบ เป็นคำาสามัญนามที่ไม่ได้มีจัดแยกประเภทกัน
ว่า เป็นต้นไม้หรือดอกไม้อย่างไหน พันธุ์ไหน หรือชนิดไหน พันธุ์พืช
แต่ละอย่าง หรือแต่ละนามนี้ ต่างก็มีสายพันธุ์ต่างๆ ที่แตกแขนงออกไป
เป็นพันธุ์ (Species) เป็นชนิด (Variety)ลักษณะทิวลิปเป็นพืชใบเลี้ยง
เดี่ยว รูปใบเล็กเรียวยาว ปลายใบแหลม เส้นแขนงใบจะเป็นแนวขนาน
ไปตามความยาวของใบ และเรียวลู่ไปรวมกันที่บริเวณปลายใบ ใบ
แต่ละใบจะออกสลับทิศทางตรงข้ามกัน ต้นหนึ่งๆ จะออกใบประมาณ 3-
4 ใบ โดยปรกติทิวลิปจะมีขนาดสูงระหว่าง 12-18 นิ้ว ซึ่งก็ต้องแล้วแต่
พันธุ์และชนิดของทิวลิปแต่ละอย่าง ดอกของทิวลิปก็เช่นเดียวกัน มี
หลายแบบ หลายสี และหลายขนาด แต่โดยปรกติดอกทิวลิปจะเป็น
ดอกไม้รูปถ้วย ยามบานไม่บานแฉ่ง แต่จะบานเพียงแค่แย้มๆ กลีบออก
ให้รู้ว่าเป็นดอกทิวลิปที่บานแล้ว แต่อย่างบายแฉ่งก็มีบ้างเหมือนกัน
เช่น พวกดอกทิวลิปซ้อนหลายๆ ชั้น ปรกติดอกทิวลิปจะมีกลีบดอก
ซ้อนกันเพียง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบดอกของทิวลิปมีสีสันต่างๆ
มากมายหลายเฉดสี นับตั้งแต่สีแสด แดง ส้ม เหลืองเข้ม เหลือง เหลือง
อ่อน ชมพู ขาว และสีสลับลายหลายอย่าง มีทั้งสีเดียวล้วนๆ และสีผสม
ในดอกเดียว หรือที่เรียกว่า ”Broken Tulips” เกสรผู้เป็นสีเหลืองอ่อน
หรือขาวเป็นแท่งรูปหัวศรมี 6 เส้น เกสรเมียมีขนาดโตกว่าเกสรผู้ อยู่
กึ่งกลางเกสรผู้ เป็นลักษณะแท่งรูปสามเหลี่ยมยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร
( ซึ่งมีขนาดยาวไล่เลี่ยกับเกสรผู้ ) ปลายเกสรเมียแต่ละเหลี่ยม งอลง
เป็นสามแฉก ส่วนที่ปลายเกสรผู้บางพันธุ์อาจจะเป็นติ่งสีนำ้าตาลเข้ม
หรือสีดำาก็มี
ประโยชน์ :
        ประโยชน์ของดอกทิวลิปมีดังนี้
1. ช่วยเติมสีสันให้เเก่โลก ทำาให้โลกสวยงาม
2. ดอกไม้บางชนิดนำามาเป็นอาหารได้เช่นดอกขจร ดอกเเค ดอกโสน
เป็นต้น
3. นำามาประดับตกเเต่งบ้านได้
4. เป็นตัวกลางในการสือความหมายต่างๆเช่นบอกรัก เป็นกำาลังใจ
หวังดี เป็นต้น
5. ใช้ในพิธีต่างๆเช่น วันเเม่ วันพ่อ เป็นต้น
6. ใช้เพาะปลูกเพื่อค้าขายเป็นอาชีพได้
7. ส่งกลิ่นหอมเป็นผลดีต่อสุขภาพ
10


8. เป็นยารักษาโรคได้ เช่น ดอกกระดังงาไทย ดอกพิกุล ดอกมะลิ
ดอกชุมเห็นเทศ ดอกขี้เหล็ก ดอกกระทือ        ดอกยี่เข่ง ดอกผักปลัง
ดอกบานเย็น ดอกสะเดา ดอกคำาแสด ดอกปีป ดอกจำาปี ดอกทองกวาว
ดอกกุหลาบ มอญ ดอกพะยอม ดอกกุ่ม ดอกมะรุม ดอกทับทิมเป็นต้น
9. เป็นอาหารของสัตว์ได้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในป่า
10. ทำาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างได้เช่น ดอกไม้อบเเห้ง พวงมาลัย นำ้าหอม สี
ผสมอาหาร เป็นต้น
11. ช่วยเพิ่มออกซิเจนในอากาศให้มากขึ้น
9


ลิป กล้วยไม้ และกุหลาบ เป็นคำาสามัญนามที่ไม่ได้มีจัดแยกประเภทกัน
ว่า เป็นต้นไม้หรือดอกไม้อย่างไหน พันธุ์ไหน หรือชนิดไหน พันธุ์พืช
แต่ละอย่าง หรือแต่ละนามนี้ ต่างก็มีสายพันธุ์ต่างๆ ที่แตกแขนงออกไป
เป็นพันธุ์ (Species) เป็นชนิด (Variety)ลักษณะทิวลิปเป็นพืชใบเลี้ยง
เดี่ยว รูปใบเล็กเรียวยาว ปลายใบแหลม เส้นแขนงใบจะเป็นแนวขนาน
ไปตามความยาวของใบ และเรียวลู่ไปรวมกันที่บริเวณปลายใบ ใบ
แต่ละใบจะออกสลับทิศทางตรงข้ามกัน ต้นหนึ่งๆ จะออกใบประมาณ 3-
4 ใบ โดยปรกติทิวลิปจะมีขนาดสูงระหว่าง 12-18 นิ้ว ซึ่งก็ต้องแล้วแต่
พันธุ์และชนิดของทิวลิปแต่ละอย่าง ดอกของทิวลิปก็เช่นเดียวกัน มี
หลายแบบ หลายสี และหลายขนาด แต่โดยปรกติดอกทิวลิปจะเป็น
ดอกไม้รูปถ้วย ยามบานไม่บานแฉ่ง แต่จะบานเพียงแค่แย้มๆ กลีบออก
ให้รู้ว่าเป็นดอกทิวลิปที่บานแล้ว แต่อย่างบายแฉ่งก็มีบ้างเหมือนกัน
เช่น พวกดอกทิวลิปซ้อนหลายๆ ชั้น ปรกติดอกทิวลิปจะมีกลีบดอก
ซ้อนกันเพียง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบดอกของทิวลิปมีสีสันต่างๆ
มากมายหลายเฉดสี นับตั้งแต่สีแสด แดง ส้ม เหลืองเข้ม เหลือง เหลือง
อ่อน ชมพู ขาว และสีสลับลายหลายอย่าง มีทั้งสีเดียวล้วนๆ และสีผสม
ในดอกเดียว หรือที่เรียกว่า ”Broken Tulips” เกสรผู้เป็นสีเหลืองอ่อน
หรือขาวเป็นแท่งรูปหัวศรมี 6 เส้น เกสรเมียมีขนาดโตกว่าเกสรผู้ อยู่
กึ่งกลางเกสรผู้ เป็นลักษณะแท่งรูปสามเหลี่ยมยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร
( ซึ่งมีขนาดยาวไล่เลี่ยกับเกสรผู้ ) ปลายเกสรเมียแต่ละเหลี่ยม งอลง
เป็นสามแฉก ส่วนที่ปลายเกสรผู้บางพันธุ์อาจจะเป็นติ่งสีนำ้าตาลเข้ม
หรือสีดำาก็มี
ประโยชน์ :
        ประโยชน์ของดอกทิวลิปมีดังนี้
1. ช่วยเติมสีสันให้เเก่โลก ทำาให้โลกสวยงาม
2. ดอกไม้บางชนิดนำามาเป็นอาหารได้เช่นดอกขจร ดอกเเค ดอกโสน
เป็นต้น
3. นำามาประดับตกเเต่งบ้านได้
4. เป็นตัวกลางในการสือความหมายต่างๆเช่นบอกรัก เป็นกำาลังใจ
หวังดี เป็นต้น
5. ใช้ในพิธีต่างๆเช่น วันเเม่ วันพ่อ เป็นต้น
6. ใช้เพาะปลูกเพื่อค้าขายเป็นอาชีพได้
7. ส่งกลิ่นหอมเป็นผลดีต่อสุขภาพ

More Related Content

What's hot

ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80banhongschool
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003withawat na wanma
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1pinknoey
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1pinknoey
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1pinknoey
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจsasinabenz
 
มะเฟือง
มะเฟืองมะเฟือง
มะเฟือง2kiku2
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 

What's hot (18)

Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
 
New species
New speciesNew species
New species
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1
 
ต้นวาสน1
ต้นวาสน1ต้นวาสน1
ต้นวาสน1
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
มะเฟือง
มะเฟืองมะเฟือง
มะเฟือง
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 

Similar to หญ้าถอดปล้อง

Similar to หญ้าถอดปล้อง (20)

Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 

หญ้าถอดปล้อง

  • 1. 1
  • 2. 2 หญ้า ถอดปล้อ ง ชื่อ : หญ้า ถอดปล้อ ง (Horsetail) ชื่อ อื่น : เครือ เซาะปอเยาว แยปอ หญ้า เงือ ก หญ้า หูห นวก ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Equisetum debile Roxb.ex Vaucher วงศ์ : EQUISETACEAE ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ : หญ้าถอดปล้องเป็นพืชไร้เมล็ด ลำาต้นตั้งตรง ขนาดเล็ก สีเขียว สูง ๓๐-๑๐๐ ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๕ มม. มีข้อปล้องเห็นชัดเจน ภายใน กลวง ด้านนอกเป็นร่องตามยาว ผิวสาก แตกกิ่งก้านตามข้อ ใบ เป็น กาบเล็ก ๆ รูปฟันเลื่อย เชื่อมติดกันรอบข้อ สีนำ้าตาลหรือขาว ซึ่งหลุด ร่วงง่าย สรรพคุณ และประโยชน์ : ต้น กินเป็นยาขับปัสสาวะ เป็นยาเย็น ตำาเป็นยาพอกบาดแผล พอก กระดูกที่เดาะหรือหักและพอกแก้ปวดตามข้อ เฟริ์น
  • 3. 3 ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Nephrolepsis biserrata (SW.)Schot ชื่อ วงศ์ : OLEANDRACEAE ชื่อ ท้อ งถิ่น : เฟิร ์น หางปลา เฟิร ์น ก้า มปู เฟิร ์น ตีน ตะขาบ ถิ่น กำา เนิด : มีถ ิ่น กำา เนิด อยู่ใ นคิว บา และบราซิล ลัก ษณะทั่ว ไป : เป็นพรรณเฟิร์นชนิดหนึ่งที่แตกลำาต้นออกเป็นกอใหญ่ จะมีลำาต้นสั้น ๆ การขยายพัน ธุ์: เป็นเฟิร์นที่มีความแข็งแรง และทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศใน เมืองไทยได้เป็นอย่างดีนิยมปลูกเป็นไม้กระถางมากกว่า อยู่ได้ทั้งในที่ ร่มและที่มีแสงแดดจัดแต่ต้องมีความชุ่มชื้นของดินตลอดเวลา ดินที่ปลูก ควรเป็นดินผสมพิเศษที่มีการระบายนำ้าได้ดี พยายามอย่าให้นำ้าขังจน แฉะ ต้องการความชื้นในอากาศปานกลางและนำ้าพอสมควร ขยาย พันธุ์ด้วยการแยกกอหรือเพาะสปอร์
  • 4. 4 สน ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Calocedrus macrolepis Kurz ชื่อ วงศ์ : CUPRESSACEAE ชื่อ ท้อ งถิ่น : สนใบต่อ แปกลม (ลม) สนแผง ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ วิส ัย : เป็นไม้ต้นประเภทพืชเมล็ดเปลือย ขนาดใหญ่ สูงถึง 35 ม. เรือนยอดทึบรูปร่ม ปลายกิ่งห้อยลง ลำาต้นเปลาตรง เปลือกเรียบ สี นำ้าตาลแดง เมื่อแก่จะล่อนหลุดเป็นสะเก็ดยาวบางๆ ใบ : เป็นเกล็ด ขนาดเล็กเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ละ 4 เกล็ด แผ่นใบด้านล่างมีไขสีขาว ดอก : แยกเพศ ดอกตัวผู้มีกาบกลมขนาดเล็กเรียงซ้อนกัน เป็นรูปไข่ สีนำ้าตาล ยาวประมาณ 0.5 ซม.มีอับเรณูซ่อนอยู่ตามโคน กาบ ดอกตัวเมียออกเดี่ยว ตามปลายกิ่ง ผล : รูปไข่ กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1 ซม. เปลือกแข็ง แห้ง แล้วแตก แยกเป็น 6 ส่วน เมล็ดเล็กสีนำ้าตาลอ่อน มีปีก 2 ปีก ยาวไม่เท่า กัน การกระจายพัน ธุ์แ ละนิเ วศวิท ยา : มีการกระจายพันธุ์ในพม่า จีน ภาคใต้ ลาว ไต้หวัน และเวียดนาม
  • 5. 5 ประเทศไทยพบทางภาคตะวันอกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดเลย ใน ป่าดิบเขา ความสูงจากระดับทะเล 800 -1,300 ม. ประโยชน์ : เนื้อไม้ละเอียด สีเหลือง ใช้ในการบุผนังตกแต่งภายใน อาคาร แป๊ะ ก๊ว ย ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Ginkgo biloba ชื่อ สามัญ : Salisburya adiantifolia , Maidenhair tree, Forty-coin tree, Pai Kuo Yeh (Chinese) วงศ์ : Ginkgoaceae ลัก ษณะของพืช เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูง 10-25 ม. ทุกส่วนไม่มีขน แตกกิ่งก้าน สาขาห่าง ๆ เปลือกสีเทาต้นแก่เปลือกสีนำ้าตาลอมเหลือง ใบออกมาจาก ปลายกิ่งสั้น กิ่งละ 3-5 ใบ รูปพัดจีน กว้าง 5-8 ซม. ยาว ประมาณ 8 ซม. ปลายใบเว้าตรงกลาง มีรอยเว้าตื้น ๆ หลายแห่ง หรือ เป็นคลื่น โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เส้นใบเรียงถี่ ๆ เป็นรูปพัด ใบอ่อน สีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม ก่อนผลัดใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ก้านใบ เรียวยาว ดอกเป็นดอกแยกเพศ และอยู่ต่างต้นกัน ออกที่ปลายกิ่งสั้น บริเวณเดียวกับที่เกิดใบ ดอกเพศผู้แต่ละกิ่งจะออกประมาณ 4-6 ช่อ ลักษณะช่อเป็นแท่งห้อยลง มีเกสรเพศผู้จำานวนมาก อับเรณูติดที่ปลาย ก้านเกสร มี 2 ลอน ดอกเพศเมียออกกิ่งละ 2-3 ดอก ดอกมีก้านยาว ที่ ปลายก้านมีไข่ 2 เมล็ด ไข่ไม่มีรังไข่หุ้ม แต่มักจะเจริญเติบโตเพียงเมล็ด เดียว ผลรูปค่อนข้างกลมหรือรีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. เป็น ผลชนิดมีเนื้อนุ่มแต่เมล็ดแข็ง เมื่อสุกสีเหลือง ผิวสีนวล กลิ่นค่อนข้าง เหม็น เมล็ดรูปรีหรือรูปไข่ เปลือกแข็ง สีออกเหลืองนวล เนื้อภายใน
  • 6. 6 เมล็ดเมื่อทำาให้สุกใช้เป็นอาหารได้ทั้งคาว และหวาน เรียกว่า "แป๊ะ ก๊วย" สรรพคุณ และวิธ ีใ ช้ สารสกัดจากใบ มีฤทธิ์ในการช่วยไหลเวียนของโลหิต มีฤทธิ์ฆ่า แมลงศัตรูพืช เมล็ด กินได้เมื่อขจัดสารพิษออกแล้ว ใช้เป็นยาฝาดสมาน ระงับประสาท ขับเสมหะ แก้ไอ หืดหอบ บำารุงร่างกาย ฟอกเลือด ขับ พยาธิ ลดไข้และสารสกัดจากเมล็ดมีฤทธิ์เป็นยาชีวนะต่อเชื้อวัณโรค- เปลือกเมล็ด มีฤทธิ์กัดทำาลาย เมื่อสัมผัสจะทำาให้ผิวหนังอักเสบ และมี ผู้นำามาใช้เป็นยาฆ่าแมลง ปรง ชื่อ วิท ยาศาสตร์: Cycas pectinata Griff. ชื่อ พื้น เมือ ง: บอกะ (มลายู-สตูล ) ชื่อ วงศ์: CYCADACEAE ลัก ษณะทั่ว ไปทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้น ลำาต้น สูง 3-4 เมตร เปลือกสีเทาอมดำา ขรุขระแตก เป็นเกล็ด ลำาต้นเดี่ยวหรือแตกแขนง ใบ ใบประกอบแบบขนนก ออก บริเวณยอดยาว 1.5-2.5 เมตร ใบย่อยลักษณะรูปยาวแคบ ปลายใบ เรียวแหลมและมน หรือเว้าบุ๋ม ลักษณะขอบใบเรียบ ขนาด 1.0-1.3
  • 7. 7 x8-32 เซนติเมตร เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ก้านใบมีหนามห่าง ๆ เมล็ด รูปไข่ ขนาด 3.0-3.5 x4.5-4.8 เซนติเมตร บริเวณผิวเกลี้ยง ช่ว งการออกดอกและติด ผล : ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงกุมภาพันธ์ นิเ วศวิท ยา: พบในป่าดงดิบ หรือเขาหินปูน การใช้ป ระโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ดอกกระถางหรือลงแปลง มีดอกหอม และสวยงาม การขยายพัน ธุ์: ใช้เมล็ด พืช ใบเลี้ย งคู่ (หางนกยูง ไทย ) ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Caesalpinia pulcherrima (L.) Sw. ชื่อ วงศ์ : LEGUMINOSAE / CASALPI-NIACEAE ชื่อ สามัญ : Barbados Pride , peacock Flower ชื่อ ท้อ งถิ่น : ส้ม พอ พญาไม้ผ ุ ขวางยอย ลัก ษณะวิส ัย : ไม้พ ุ่ม ลัก ษณะ : เป็นพรรณไม้พุ่ม ที่มีลำาต้นขนาดเล็ก และแตกกิ่งก้านสาขามาก เรือนยอดจะโปร่งกิ่งก้านสาขาที่ยังอ่อนอยู่เป็นสีเขียว ส่วนกิ่งที่แก่หรือ เปลือกของต้นจะเป็นสีนำ้าตาลเข้ม ลำาต้นสูงประมาณ 3-4 เมตร เป็นไม้ ใบรวมออกใบเป็นแผงซึ่งแผงๆหนึ่งมีใบย่อยอยู่หลายคู่ แต่ละคู่จะตรง ข้ามกัน และใบย่อยตรงส่วนปลายจะไม่มีคู่ ลักษณะใบย่อยจะกลมมน ปลายใบมนแต่โคนใบแหลมออกเรียงกันเป็นคู่ๆ ตามก้านใบ ก้านใบ ก้านหนึ่งจะมีใบย่อยอยู่ราวๆ 8-12 คู่ ขนาดของใบย่อยกว้างประมาณ
  • 8. 8 0.5 นิ้ว ยาว 1 นิ้ว มีสีเขียว ออกดอกเป็นช่ออยู่ตามปลายกิ่ง หรือส่วน ยออดของต้น ช่อดอกจะยาวเกือบ 1 ฟุตได้ ดอกของหางนกยูงมีอยู่ หลายสีเช่น แดง เหลือง ชมพู ส้ม มีอยู่ 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่ ราวๆ 1-1.5 นิ้ว ขอบของกลีบจะยับย่นเป็นเส้นลอนสีเหลือง เกสรอยู่ กลางดอกเป็นเส้นงอนยาวโผล่พ้นเหนือดอกออกมา ลักษณะของผล เป็นฝักแบน และมีเมล็ดอยู่ภายในมาก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ชอบแสงแดดจัด ปลูกง่ายและขึ้นง่าย ปลูกได้ในดินทุกชนิดและยังทนทานอีกด้วย ต้องการนำ้าและความชื้นปานกลาง การขยายพัน ธุ์ : การเพาะเมล็ดราก ของต้นดอกสีแดง ปรุงเป็นยา รับประทานขับ ประจำาเดือน พืช ใบเลี้ย งเดี่ย ว ( ต้น ทิว ลิป ) ชื่อ สามัญ : tulip ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Tulipa spp. L. ชื่อ วงศ์ : Liliaceae ชื่อ อื่น ๆ : ดอกไม้เ มือ งหนาว หมวดหมู่ท รัพ ยากร : พืช ลัก ษณะ : ทิวลิป (Tulip) เป็นชื่อสามัญของพันธุ์ไม้หัว ทีออกดอก ่ ในฤดูใบไม้ผลิ ถ้าเราจะกล่าวกันถึง ต้นหรือดอก “ทิวลิป” ก็จะเหมือนๆ กับการพูดถึง “กล้วยไม้” หรือ “กุหลาบ” อย่างนั้นเอง เพราะชื่อของทิว
  • 9. 9 ลิป กล้วยไม้ และกุหลาบ เป็นคำาสามัญนามที่ไม่ได้มีจัดแยกประเภทกัน ว่า เป็นต้นไม้หรือดอกไม้อย่างไหน พันธุ์ไหน หรือชนิดไหน พันธุ์พืช แต่ละอย่าง หรือแต่ละนามนี้ ต่างก็มีสายพันธุ์ต่างๆ ที่แตกแขนงออกไป เป็นพันธุ์ (Species) เป็นชนิด (Variety)ลักษณะทิวลิปเป็นพืชใบเลี้ยง เดี่ยว รูปใบเล็กเรียวยาว ปลายใบแหลม เส้นแขนงใบจะเป็นแนวขนาน ไปตามความยาวของใบ และเรียวลู่ไปรวมกันที่บริเวณปลายใบ ใบ แต่ละใบจะออกสลับทิศทางตรงข้ามกัน ต้นหนึ่งๆ จะออกใบประมาณ 3- 4 ใบ โดยปรกติทิวลิปจะมีขนาดสูงระหว่าง 12-18 นิ้ว ซึ่งก็ต้องแล้วแต่ พันธุ์และชนิดของทิวลิปแต่ละอย่าง ดอกของทิวลิปก็เช่นเดียวกัน มี หลายแบบ หลายสี และหลายขนาด แต่โดยปรกติดอกทิวลิปจะเป็น ดอกไม้รูปถ้วย ยามบานไม่บานแฉ่ง แต่จะบานเพียงแค่แย้มๆ กลีบออก ให้รู้ว่าเป็นดอกทิวลิปที่บานแล้ว แต่อย่างบายแฉ่งก็มีบ้างเหมือนกัน เช่น พวกดอกทิวลิปซ้อนหลายๆ ชั้น ปรกติดอกทิวลิปจะมีกลีบดอก ซ้อนกันเพียง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบดอกของทิวลิปมีสีสันต่างๆ มากมายหลายเฉดสี นับตั้งแต่สีแสด แดง ส้ม เหลืองเข้ม เหลือง เหลือง อ่อน ชมพู ขาว และสีสลับลายหลายอย่าง มีทั้งสีเดียวล้วนๆ และสีผสม ในดอกเดียว หรือที่เรียกว่า ”Broken Tulips” เกสรผู้เป็นสีเหลืองอ่อน หรือขาวเป็นแท่งรูปหัวศรมี 6 เส้น เกสรเมียมีขนาดโตกว่าเกสรผู้ อยู่ กึ่งกลางเกสรผู้ เป็นลักษณะแท่งรูปสามเหลี่ยมยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร ( ซึ่งมีขนาดยาวไล่เลี่ยกับเกสรผู้ ) ปลายเกสรเมียแต่ละเหลี่ยม งอลง เป็นสามแฉก ส่วนที่ปลายเกสรผู้บางพันธุ์อาจจะเป็นติ่งสีนำ้าตาลเข้ม หรือสีดำาก็มี ประโยชน์ : ประโยชน์ของดอกทิวลิปมีดังนี้ 1. ช่วยเติมสีสันให้เเก่โลก ทำาให้โลกสวยงาม 2. ดอกไม้บางชนิดนำามาเป็นอาหารได้เช่นดอกขจร ดอกเเค ดอกโสน เป็นต้น 3. นำามาประดับตกเเต่งบ้านได้ 4. เป็นตัวกลางในการสือความหมายต่างๆเช่นบอกรัก เป็นกำาลังใจ หวังดี เป็นต้น 5. ใช้ในพิธีต่างๆเช่น วันเเม่ วันพ่อ เป็นต้น 6. ใช้เพาะปลูกเพื่อค้าขายเป็นอาชีพได้ 7. ส่งกลิ่นหอมเป็นผลดีต่อสุขภาพ
  • 10. 10 8. เป็นยารักษาโรคได้ เช่น ดอกกระดังงาไทย ดอกพิกุล ดอกมะลิ ดอกชุมเห็นเทศ ดอกขี้เหล็ก ดอกกระทือ ดอกยี่เข่ง ดอกผักปลัง ดอกบานเย็น ดอกสะเดา ดอกคำาแสด ดอกปีป ดอกจำาปี ดอกทองกวาว ดอกกุหลาบ มอญ ดอกพะยอม ดอกกุ่ม ดอกมะรุม ดอกทับทิมเป็นต้น 9. เป็นอาหารของสัตว์ได้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในป่า 10. ทำาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างได้เช่น ดอกไม้อบเเห้ง พวงมาลัย นำ้าหอม สี ผสมอาหาร เป็นต้น 11. ช่วยเพิ่มออกซิเจนในอากาศให้มากขึ้น
  • 11. 9 ลิป กล้วยไม้ และกุหลาบ เป็นคำาสามัญนามที่ไม่ได้มีจัดแยกประเภทกัน ว่า เป็นต้นไม้หรือดอกไม้อย่างไหน พันธุ์ไหน หรือชนิดไหน พันธุ์พืช แต่ละอย่าง หรือแต่ละนามนี้ ต่างก็มีสายพันธุ์ต่างๆ ที่แตกแขนงออกไป เป็นพันธุ์ (Species) เป็นชนิด (Variety)ลักษณะทิวลิปเป็นพืชใบเลี้ยง เดี่ยว รูปใบเล็กเรียวยาว ปลายใบแหลม เส้นแขนงใบจะเป็นแนวขนาน ไปตามความยาวของใบ และเรียวลู่ไปรวมกันที่บริเวณปลายใบ ใบ แต่ละใบจะออกสลับทิศทางตรงข้ามกัน ต้นหนึ่งๆ จะออกใบประมาณ 3- 4 ใบ โดยปรกติทิวลิปจะมีขนาดสูงระหว่าง 12-18 นิ้ว ซึ่งก็ต้องแล้วแต่ พันธุ์และชนิดของทิวลิปแต่ละอย่าง ดอกของทิวลิปก็เช่นเดียวกัน มี หลายแบบ หลายสี และหลายขนาด แต่โดยปรกติดอกทิวลิปจะเป็น ดอกไม้รูปถ้วย ยามบานไม่บานแฉ่ง แต่จะบานเพียงแค่แย้มๆ กลีบออก ให้รู้ว่าเป็นดอกทิวลิปที่บานแล้ว แต่อย่างบายแฉ่งก็มีบ้างเหมือนกัน เช่น พวกดอกทิวลิปซ้อนหลายๆ ชั้น ปรกติดอกทิวลิปจะมีกลีบดอก ซ้อนกันเพียง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ กลีบดอกของทิวลิปมีสีสันต่างๆ มากมายหลายเฉดสี นับตั้งแต่สีแสด แดง ส้ม เหลืองเข้ม เหลือง เหลือง อ่อน ชมพู ขาว และสีสลับลายหลายอย่าง มีทั้งสีเดียวล้วนๆ และสีผสม ในดอกเดียว หรือที่เรียกว่า ”Broken Tulips” เกสรผู้เป็นสีเหลืองอ่อน หรือขาวเป็นแท่งรูปหัวศรมี 6 เส้น เกสรเมียมีขนาดโตกว่าเกสรผู้ อยู่ กึ่งกลางเกสรผู้ เป็นลักษณะแท่งรูปสามเหลี่ยมยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร ( ซึ่งมีขนาดยาวไล่เลี่ยกับเกสรผู้ ) ปลายเกสรเมียแต่ละเหลี่ยม งอลง เป็นสามแฉก ส่วนที่ปลายเกสรผู้บางพันธุ์อาจจะเป็นติ่งสีนำ้าตาลเข้ม หรือสีดำาก็มี ประโยชน์ : ประโยชน์ของดอกทิวลิปมีดังนี้ 1. ช่วยเติมสีสันให้เเก่โลก ทำาให้โลกสวยงาม 2. ดอกไม้บางชนิดนำามาเป็นอาหารได้เช่นดอกขจร ดอกเเค ดอกโสน เป็นต้น 3. นำามาประดับตกเเต่งบ้านได้ 4. เป็นตัวกลางในการสือความหมายต่างๆเช่นบอกรัก เป็นกำาลังใจ หวังดี เป็นต้น 5. ใช้ในพิธีต่างๆเช่น วันเเม่ วันพ่อ เป็นต้น 6. ใช้เพาะปลูกเพื่อค้าขายเป็นอาชีพได้ 7. ส่งกลิ่นหอมเป็นผลดีต่อสุขภาพ