SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เรื่อง สีนำ้ำรักษ์ 
โลก 
โดย 
1. นำงสำววำสนำ สิทธิชัย 
2. นำยวรเวช แซ่ท่ำว 
3. นำงสำวมิรันตี 
เพชรมำ 
โรงเรียนนำโบสถ์พิทยำคม 
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำตำกเขต 1 
รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงำนวิทยำศำสตร์ 
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6 
เนื่องในงำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน 2553 จังหวัด 
ตำก วันที่ 15-17 พฤศจิกำยน 2553
เรื่อง สีนำ้ำรักษ์ 
โลก 
โดย 
. นำงสำววำสนำ สิทธิชัย 
2. นำยวรเวช แซ่ท่ำว 
3. นำงสำวมิรันตี 
เพชรมำ 
ครูที่ปรึกษำ นำงชิโนลักษณ์ เรือนติ๊บ 
ครูที่ปรึกษำพิเศษ นำงสำวศันทนีย์ มีนำค 
โรงเรียนนำโบสถ์พิทยำคม อำำเภอวังเจ้ำ จังหวัดตำก 
กิตกรรมประกำศ
โครงงำนวิทยำศำสตร์ สีนำ้ำรักษ์โลก นี้สำำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพรำะได้รับ 
กำรสนับสนุนและกำำลังใจอย่ำงดียิ่งจำกท่ำนอำจำรย์ชิโนลักษณ์ เรือนติ๊บ 
ที่ได้ให้คำำปรึกษำแนะนำำในกำรทำำโครงงำน และผู้ปกครองของคณะผู้จัด 
ทำำโดยเฉพำะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 ปีกำรศึกษำ 2553 ทุกคน 
ที่ช่วยจัดหำอุปกรณ์ในกำรทำำโครงงำนนี้ และที่ขำดไม่ได้ก็คือ นำงสำวรุ่ง 
นภำ ธูปหอม ที่ช่วยเป็นเพื่อนคู่คิดให้แก่คณะผู้จัดทำำ คณะผู้ 
ร่วมงำนรู้สึกซำบซึ้งและขอขอบพระคุณผู้ที่ได้ให้ควำมร่วมมือในกำรทำำ 
โครงงำนนี้ทุกท่ำนไว้ ณ ที่นี้ 
คณะผู้จัดทำำโครงงำน 
สำรบัญ 
เรื่อง หน้ำ 
บทที่ 1 บทนำำ 1
บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 2 
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีกำรดำำเนินกำร 8 
บทที่ 4 ผลกำรดำำเนินกำร 11 
บทที่ 5 สรุปผลกำรดำำเนินกำร 14 
ภำคผนวก 
บรรณำนุกรม 
สำรบัญตำรำง 
ตำรำงแสดงแม่สีส่วนผสมชนิดต่ำงชนิดต่ำงๆ 11 
ตำรำงแสดงส่วนผสมของแม่สีและกำวที่อัตรำส่วนต่ำงๆ 12 
ตำรำงบันทึกกำรทดลองใช้สี เพื่อวำดภำพ 13
บทที่ 1 
บทนำำ 
ค ว ำ ม เ ป็น ม ำ แ ล ะ ค ว ำ ม สำำ คัญ ข อ ง โ ค ร ง ง ำ น 
ในปัจจุบันสีนำ้ำหรือสีอื่นๆ สำำหรับเขียนรูปภำพ มักจะทำำมำจำกสำร 
เคมี ที่อำจทำำให้เกิดพิษแก่ผู้ใช้ได้ ผู้จัดทำำโครงงำนจึงเล็งเห็นว่ำน่ำจะมี 
วัสดุจำกธรรมชำติที่สำมำรถนำำ มำใช้แทนสำรเคมีดังกล่ำวได้ และ 
เนื่องจำกในท้องถิ่นตำำบลนำโบสถ์ซึ่งเป็นชุมชนเกษตรกรรม มีพืชที่หลำก
หลายพืชที่ให้สีแม่สีที่พบในท้องถิ่นได้แก่ขมิ้นชัน และดอกอันชัญ ซึ่งพบ 
ได้โดยทั่วไปในท้องถิ่น และจากการที่ได้ทดลองโดยทดสอบคำาพังเพย 
ที่ได้ยินจากคนโบราณว่าคนที่มักขัดแย้งกันเหมือนกับขมิ้นกับปูน จึงได้ 
ทดลองนำาขมิ้นผสมกับปูนขาวในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 พบว่าให้เป็น สารสี 
แดงสดสวยงาม ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดว่า หากมีสารสีครบ 3 แม่สี คือ แดง 
เหลือง นำ้าเงิน จากวัสดุธรรมชาติแล้ว น่าจะนำามาผสมให้เกิดเป็นสีเพื่อ 
ระบายสี และ สามารถ นำาสีมาวาดรูปเป็นสีนำ้า ที่มีสีสันหลากหลายจากแม่สี 
ธรรมชาติได้ โดยมีความคงทนของสีสัน และให้สีสันที่สวยงามตาม 
ธรรมชาติแลส่งเสริมแนวคิดการสร้างสรรค์ศิลปะแตกต่างกันได้ 
วัตถุประสงค์ 
1. นำาวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์ 
2. ทดลองหาวัสดุที่จะมาใช้ทำาแม่สีที่มีคุณภาพที่สุด 
3. ทดสอบความคงทนของสี เมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน 
4. ทดลองนำาสีไปใช้(นำาไปผสมกับนำ้าแล้วระบายสี)แล้ว สีที่ระบายไปแล้ว 
จะยังมีคุณภาพดีหรือไม่ 
5. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
6. เพื่อฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม 
7. สามารถผลิตแม่สี เพื่อ ทำาสีนำ้าจากธรรมชาติได้ด้วยตัวเอง 
ปัญหา 
จะทำาอย่างไรให้แม่สีได้ออกมานั้นมีคุณภาพ มีสีสันสวยงาม สามารถ 
เก็บไว้ใช้ได้เป็นเวลานาน 
นิยามเชิงปฏิบัติการ 
1. คุณภาพของสี หมายถึง สีที่มีความสดใส คงทน สีไม่เพี้ยนไปแม้ 
เก็บไว้เป็นเวลานาน 
2. สารสี หมายถึง ชิ้นส่วนของพืชที่จำานำามาใช้สกัดสี 
3. นำ้าสี หมายถึง นำ้าที่ได้จากการสกัดสารสี ในรูปขอของเหลวมีสี 
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
สีที่ได้จากธรรมชาติ 
1. สีเขียว ได้จาก
- ใบเตยหอม ให้ทั้งสีและกลิ่นใช้ใบค่อนข้างแก่หั่นฝอยแล้วโขลกละเอียด 
เติมนำ้า คั้นเอาแต่นำ้า 
- ต้นและใบของต้นโสม(ยิ่งเซียน) ทำาเหมือนกับใบเตย 
- จากทั้งลำาต้นและใบของผักบุ้ง 
2. สีเหลือง ได้จาก 
- ขมิ้น ล้างปอกเปลือกโขลกให้ละเอียดเติมนำ้าแล้วกรองเอาแต่นำ้า 
- เมล็ดคำาแสด ใช้เมล็ดแช่นำ้าร้อนกรองเอาแต่นำ้าให้สีเหลืองแสด 
- ดอกกรรณิการ์ ใช้ก้านดอกสีแสดบีบให้ชำ้า เติมนำ้าเล็กน้อย ใส่ผ้าขาว 
บางห่อ คั้นเอาแต่นำ้า 
- ฟักทอง ทำาแบบขมิ้น 
3. สีส้ม 
- แครอท ทำาแบบขมิ้น 
4. สีแดง 
- หัวบีท ปอกเปลือกสับเนื้อให้เป็นชิ้นเล็กๆ แล้วโขลกให้ละเอียดเอาแต่นำ้า 
- ครั่ง นำารังครั่งมาแช่นำ้าร้อนแล้วต้ม เอาแต่นำ้า 
- กระเจี๊ยบ ใช้กลีบหุ้มผล ล้างสะอาดนำามาต้มกับนำ้า คั้นเอาแต่นำ้า 
- ดอกของเฟื่องฟ้าแดง 
1. สีนำ้าเงิน 
- ได้จากดอกอัญชัน ใช้เฉพาะที่เป็นกลีบสีนำ้าเงิน ขยี้ให้ซำ้าเติมนำ้าเล็ก 
น้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง 
2. สีม่วง 
- ได้จากนำ้าดอกอัญชันบีบมะนาวลงไปจะได้สีม่วง 
ขมิ้น 
คนไทยเรียกชื่อพืชขึ้นต้นด้วยคำาว่า ขมิ้นมากมายหลาย 
ชนิด มีทั้งหัวไม้พุ่มและไม้เถา รวมมากกว่า 15 ชนิด ในที่นี้จะยกมาเฉพาะ 
ที่เป็นพืชหัวเพียงสามชนิด เพราะเป็นขมิ้นที่คนไทยคุ้นเคยและใช้ 
ประโยชน์มากที่สุดได้แก่
ก. ขมิ้นชัน บางทีเรียกขมิ้นแดง หรือว่างนางคำา ภาคใต้เรียก มิ่น หรือขี้ 
มิ่น ภาษาอังกฤษเรียก Cur- 
Cuma หรือ Turmeric ชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma longa 
Linn. เป็นพืชหัวลง อายุหลายปี ลำาต้นอยู่ใต้ดิน ชูก้านใบขึ้นมาเป็นลำาดับ 
เทียม ใบคล้ายพุทธรักษา กลางใบมีสีแดงคลำ้า งอกงามในฤดูฝน ถึงฤดู 
แล้งใบจะโทรม แห้งเหี่ยว เหลือแต่หัว(ลำาต้น)อยู่ใต้ดิน และงอกใหม่ในฤดู 
ฝน หรือหัวเหง้า(ลำาต้น) ใต้ดิน มีลักษณะอ้วนสั้นและแตกแขนง เนื้อในสี 
เหลืองจำาปา (ปนแสด) มีกลิ่นฉุน 
ข. ขมิ้นอ้อย บางทีเรียกขมิ้นหัวขึ้นหรือว่านเหลือง ภาคเหนือเรียกขมิ้น 
ขึ้น ภาษาอังกฤษเรียก Ze-deory 
ชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma zedoria Roscoe มี 
ลักษณะคล้ายขมิ้นชัน ต่างกันตรงใบของขมิ้นอ้อยมีขนนิ่มที่ด้านล่าง หัว 
หรือเหง้า (ลำาต้น) ใต้ดินของขมิ้นอ้อยมีขนาดใหญ่กว่าเนื้อในมีสีเหลือง 
อ่อนกว่าและกลิ่นฉุนน้อยกว่าขมิ้นชัน หัวหรือเหง้ามักโผล่พ้นดินจึงเรียก 
ขมิ้นหัวขึ้น 
ค. ขมิ้นป่า บางทีเรียกขมิ้นขาวชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma
parviflora Wall. ลักษณะคล้าย 
ขมิ้นชัน แต่เนื้อในสีขาวอมเหลืองอ่อนกลิ่นน้อย นิยมใช้เป็นผัก 
มีสำานวนไทยโบราณสำานวนหนึ่งที่ยังนิยมใช้จนถึงทุกวันนี้นั่นคือ สำานวน 
“ขมิ้นกับปูน” ซึ่งหมายความว่าไม่ถูกกัน หรือชอบวิวาทกันอยู่เสมอเมื่อ 
อยู่ใกล้กัน 
สำานวนนี้คำาไทยสังเกตจากคุณสมบัติของขมิ้นกับปูนนั่นเอง กล่าวคือ ขมิ้น 
มีฤทธิ์เป็นกรด ส่วนปูนมีฤทธิ์เป็นด่าง เมื่อมาผสมกันเข้าก็เกิดปฏิกิริยาขึ้น 
เปลี่ยนขมิ้นจากสีเหลืองและปูนสีขาวกลายเป็นสีแดง ซึ่งก็คือ ปูนแดงที่ใช้ 
กินกับหมากนั่นเองน่าสังเกตว่าพวกแขก(อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา) ซึ่ง 
นิยมกินหมากและคงเป็นผู้เผยแพร่การกินหมากให้คนไทย) เขาใช้ปูนขาว 
กินกับหมาก แต่คนไทยใช้ปูนแดง (ปูนขาวและขมิ้น) แทน เพราะปูนแดง 
ไม่กัดปากเหมือนปูนขาว (ที่มีฤทธิ์เป็นด่างมาก)ปูนแดงจึงเป็นภูมิปัญญา 
ของไทยที่ใช้ประโยชน์จากปูนขาวและขมิ้นที่แขกก็มี แต่ไม่รู้จักนำามาใช้ 
ประโยชน์เหมือนคนไทยเมื่อถูกแมลงสัตว์กัดต่อยหรือเป็นผดผื่นคัน คน 
ไทยแต่ก่อนนิยมใช้ปูนแดงทารักษาอาการดังกล่าว ปูนแดงจึงเป็นปูน 
สารพัดประโยชน์ เช่นเดียวกับขมิ้นซึ่งใช้กินก็ได้ทาก็ได้ เหมือนยาโบราณ 
บางชนิดที่เขียนในสมุดข่อยว่า “กินกได ทากได” นั่นเอง 
ขมิ้นให้ประโยชน์ได้มากมายรอบด้าน แต่กลับเป็นพืชที่ปลูก 
ง่ายอย่างยิ่ง เพียงแต่นำาเหง้า (หรือหัว) ของขมิ้น มาปลูกลงดินในช่วงต้น 
ฤดูฝน แล้วเก็บหัวขมิ้นมาใช้ประโยชน์ในฤดูแล้ง (หมดฝนแล้ว ประมาณ 
เดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป) หรืออาจปลูกในกระถางก็ได้ เพราะขนาด 
ของขมิ้นไม่ใหญ่โตนัก รูปทรงใบก็งดงาม ใช้ประดับบ้านได้ จึงน่าปลูกเอา 
ไว้ใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับพืชพื้นบ้านอีกหลายชนิด ซึ่งไม่เหลือปากว่า 
แรงแต่อย่างใดเลย 
อัญชัน/ Blue Pea,Butterfly Pea
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea ชื่อวงศ์ : Fabaceae แดง 
ชัน,เอื้องชัน ส่วนประกอบ มีสารอดีโนซีน (adenosine) สารแอฟเซ 
ลิน (afzelin) สารอปาราจิติน (aparajitin) กรดอราไชดิก (arachidic 
acid)สารแอสตรากาลิน (astragalin)กรดชินนามิกไฮดรอกซี 
(cinnamic acid, 4-hydroxy)สารเคอร์เซติน (quercetin) และสารซิ 
โตสเตอรอล เป็นต้นดอกมีสารแอนโทไซอานิน 
สรรพคุณและวิธีใช้ ดอก รักษาอาการผมร่วง แก้ฟกชำ้าบวม ใช้ผสม 
อาหารให้สีม่วง เช่น ข้าวดอกอัญชัน ขนมดอกอัญชัน เป็นต้น 
เมล็ด เป็นยาระบาย ใบและราก อัญชันชนิดขาวใช้เป็นยาขับปัสสาวะ 
และยาระบาย ชนิดม่วงแก้ตาฟางและตาแฉะ 
ลักษณะโดยทั่วไป 
ต้น อัญชันเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยล้มลุกขนาดเล็ก มีเถาขนาดเล็กและอ่น 
แต่ก้สามารถเลื้อยไปได้ไกลถึง 20 ฟุต ลักษณะเถาจะค่อนข้างกลม สี 
เขียวแต่หากเถาแก็จะเป็นสีนำ้าตาล ตามลำาต้นจะมีขนนุ่ม ๆ ปกคลุมโดย 
ทั่วไป ใบ ใบของอัญชัด มีลักษณะเป็นช่อ มีใบย่อยรูปไข่ 5-7 ใบ 
ใบเล็กและค่อนข้างบาง รูปใบเกือบจะเป็นทรงกลม ออกใบรวามเป็นแผง 
สลับกันไปตามข้อต้น ดอก ดอกอัญชันจะเป็นดอกเดี่ยว และจะ 
ออกดอกเป็นช่อตามปลายยอดช่อหนึ่งจะมีดอก 2.4 ดอกอัญชันจะมีทั้ง 
ชนิดดอกราและดอกซ้อน ดอกมีหลายสี เช่น สีนำ้าเงินอมม่วง สีม่วง สีฟ้า สี 
ขาว ลักษณะของ ดอกคล้ายดอกถั่วมี 2 กลีบ เมื่อกลีบดอกบานอ้าออกเต็ม
ที่จะมองเห็นลักษณะของดอกคล้ายดอกถั่ว มี 2 กลีบ เมื่อกลีบดอกบาน 
อ้าออกเต็มที่ จะมองเห็นลักษณะคล้ายกาบหอยหรือปีกผีเสื้อเมื่อดอก โรย 
ก็ จ ะ ติ ด ฝั ก 
ปูนขาว (เเคลเซียมออกไซด์) CaO 
ปูนขาวมีประวัติศาสตร์การใช้สอยมาอย่างยาวนาน มีบันทึกการใช้ 
ปูนขาวในการฉาบภายนอกอาคารในประเทศตุรกีตั้งแต่ 4,000 ปีก่อน 
คริสตกาล หรือประมาณ 6,000 ปีก่อน ชาวโรมันเองก็ใช้ปูนขาวในการ 
ก่อและฉาบอาคาร ในพื้นที่หนาวและชื้นดังเช่นพื้นที่แถบประเทศ 
สกอตแลนด์และเวลส์ก็มีการฉาบปูนขาวบนอาคารที่สร้างจากหินเพื่อ 
ป้องกันดินก่อจากสภาพอากาศและฝนที่รุนแรง โดยใช้วิธีการแบบโบราณ 
คือการปาดินฉาบเข้าใส่ผนังเพื่อป้องกันการแตกร้าวซึ่งจะทำาให้นำ้าไป 
ทำาลายรอยต่อของผนังหิน 
ถึงแม้ว่าจะมีการใช้ปูนขาวมาอย่างยาวนานทั่วโลก แต่สำาหรับพื้นที่ 
แถบอเมริกาเหนือในปัจจุบัน การฉาบอาคารด้วยปูนขาวเริ่มสูญหายไป 
จากการรับรู้ของคน เรื่องมาจาการใช้คอนกรีตฉาบกันอย่างกว้างขวาง แต่ 
อย่างไรก็ตาม การใช้ปูนขาวก็เริ่มที่จะได้รับความนิยมจากผู้สร้างบ้าน 
ธรรมชาติที่ต้องการวัสดุที่แข็งแรงทนทานแสะกันนำ้าได้ 
ในประเทศไทยหินปูน แต่เดิมใช้หินจากเขางู เพราะถือกันว่าเป็น 
หินปูนที่มีคุณภาพสูง มีมลทินตำ่า เมื่อนำามาทำาเป็นปูนขาว ปูนแดง จะ 
ได้ปูนที่มีคุณภาพดีกว่าหินจากแหล่งอื่น ๆ แต่เนื่องจากบริเวณเขางูมีถำ้า 
ภายในมีสภาพสลักและลายปูนปั้น ซึ่งถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ 
สำาคัญของชาติ กรมศิลปากรจึงได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณ 
สถาน และห้ามการระเบิดทำาลาย ทำาให้ปัจจุบันต้องมีการนำาเอาหินมา 
จากเขาสามง่ามมาใช้แทน เชื้อเพลิง ที่ใช้มี ๒ ชนิด คือ ฟืนไม้ 
เบญจพรรณ หรือไม้ยูคาลิปตัส และถ่านหินลิกไนต์ โดยทั่วไปถ้าต้องการ 
ทำาปูนสำาหรับกินกับหมาก จะนิยมทำาด้วยฟืนไม้ ส่วนปูนที่ใช้ในการอื่นๆ 
นอกเหนือจากนี้จะใช้ถ่าน ขมิ้นและเกลือ ใช้ผสมทำาปูนแดง แคลไซต์ 
มีองค์ประกอบเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต และเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญของ 
หินปูนและหินอ่อน หินปูนใช้ทำาปูนซีเมนต์ ปูนขาว หินก่อสร้าง หินอ่อนใช้ 
เป็นวัสดุก่อสร้างและเครื่องตกแต่งอาคาร 
วิธีการผลิตปูนขาวจากหินปูน 
แคลเซียมคาร์บอเนต เผา 
แคลเซียมออกไซด์ + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(หินปูน) (ปูนขาว) (ออกไซด์ของคาร์บอน)แคลเซียมออกไซด์ + นำ้า 
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (นำ้าปูนใส) 
ปฏิกิริยาแสดงการผลิตปูนขาวนี้ ไม่จัดเป็นการถลุงแคลเซียมออกไซด์ 
ดินที่มีความเป็นกรดมากเกินไป แก้ไขได้โดยการเติมปูนขาว การทดสอบ 
ว่าหินปูนและหินอ่อนเป็นเกลือคาร์บอเนต ทำาได้โดยการหยดกรดไฮโดร 
คลอริกจะเกิดฟองฟู เนื่องจากกรดทำาปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนตให้ 
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 
บทที่ 3 
อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 
ตอนที่ 1 
จุดประสงค์์ ทำาการทดลองหาอัตราส่วนที่พอเหมาะสมระหว่างสารสี 
ธรรมชาติกับนำ้า เพื่อให้ได้นำ้าสีที่มีคุณภาพ 
ตัวแปร ต้น อัตราส่วนระหว่างสารสีธรรมชาติกับนำ้า 
ตาม นำ้าสีที่มีคุณภาพ 
ควบคุม ปริมาณนำ้า ภาชนะ เวลาที่ใช้แช่สาร 
วัสดุและอุปกรณ์์ 
1. สารสี ได้แก่ ขมิ้น อัญชัน 
2. นำ้าสะอาด 
3. หลอดทดลองขนาดกลาง 
4. บีกเกอร์ 
5. เครื่องชั่ง 
6. ผ้าขาวบาง 
7. ครกบดยา 
8. พู่กัน 
9. หลอดทดลองขนาดกลาง 
10. กระดาษวาดเขียน 100 ปอนด์ 
วิธีการทดลอง 
1. ทำาสารแม่สี สีเหลือง 
1. นำาขมิ้น ตำาในครกบดยาให้ละเอียด 
2. ชั่งขมิ้นเพื่อนำาไปผสมนำ้าในปริมาตร 25 กรัม , 50 กรัม , 
100 กรัม ต่อนำ้า 100 มิลลิลิตร 
3. แล้วกรองกรองเอาเศษสารสีออกจากนำ้าด้วยผ้าขาวบาง นำาไปตั้ง
ไฟให้เดือด 
4. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ 
พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ 
แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร 
ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 
2. ทำาสารแม่สี สีแดง 
1. นำานำ้าสีจากขมิ้น ตอน ก ผสมกับปูนขาว จำานวน 5 กรัม 
2. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ 
พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ 
แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร 
ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 
ค. ทำาสารแม่สีสีนำ้าเงิน 
1. นำาดอกอัญชัญ ตำาในครกบดยาให้ละเอียด 
2. ชั่งดอกอัญชันจากข้อ 1 เพื่อนำาไปผสมนำ้าในปริมาตร 25 กรัม 
, 50 กรัม , 100 กรัม ต่อนำ้า 100 มิลลิลิตร 
3. แล้วกรองกรองเอาเศษสารสีออกจากนำ้าด้วยผ้าขาวบาง นำาไปตั้ง 
ไฟให้เดือด 
4. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ 
พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ 
แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร 
ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 
ตอนที่ 2 
จุดประสงค์ ทำาการทดลองเพื่อหาส่วนผสมทำาให้สีติดคงทน 
ตัวแปร ต้น ปริมาณกาว 
ตาม สีนำ้าที่มีคุณภาพ 
ควบคุม อัตราส่วนการผสมระหว่างผงกับนำ้าสี ภาชนะ 
วัสดุและอุปกรณ์ 
1. กาวลาเทกซ์ 
2. นำ้าสารสี แม่สี แดง เหลือง นำ้าเงิน จากผลการทดลองตอนที่ 1 
3. บีกเกอร์ 
4. เครื่องชั่ง 
5. แท่งแก้วคนสาร 
วิธีทำาการทดลอง 
1. ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์ 5 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 50 
มิลลิลิตร พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 
วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน
2.ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์ 8 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 50 
มิลลิลิตรพู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน 
แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 
3. ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์10 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 
50 มิลลิลิตรพู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 
วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 
ตอนที่ 3 
จุดประสงค์ ทำาการทดลองวาดภาพโดยใช้สีนำ้าจากธรรมชาติเทียบกับสี 
นำ้าสารเคมี 
ตัวแปร ต้น สีนำ้า 
ตาม ความสวยงามของภาพจากสีนำ้ารักษ์โลก และสีนำ้าจาก 
สารเคมี 
ควบคุม รูปแบบของภาพวาด ผู้วาด 
บทที่ 4 
ผลการทดลอง 
ตอนที่ 1 
ตารางแสดงแม่สีส่วนผสมชนิดต่างชนิดต่างๆ 
A: ขมิ้น 100 g: 
นำ้า 100 mm 
B: ขมิ้น 50 g: นำ้า 
100 mm 
C:ขมิ้น 25 g: นำ้า 
100 mm 
สาร A : ปูนขาว 
5 กรัม 
สาร B : ปูนขาว 
5 กรัม 
สาร C : ปูนขาว 
5 กรัม 
ดอกอัญชัญ 100 g: 
นำ้า 100 mm 
ดอกอัญชัญ 100 g: 
นำ้า 100 mm 
ดอกอัญชัญ 100 g: 
นำ้า 100 mm
ตอนที่ 2 
ตารางแสดงส่วนผสมของแม่สีและกาวที่อัตราส่วนต่างๆ 
นำาสีสดจาก 
ตาราง 1 
ผสมกาว 5 กรัม ผสมกาว 8 กรัม ผสมกาว 10 
กรัม 
A: ขมิ้น 100 g: 
นำ้า 100 mm 
ขมิ้น 100 g: นำ้า 
100 mmปปูน 
ขาว 5 กรัม 
ดอกอัญชัญ 100 g: 
นำ้า 100 mm
ตอนที่ 3 
ตารางบันทึกการทดลองใช้สี เพื่อวาดภาพ 
ทดสอบวาดภาพ 
ความ 
สามารถ 
ในการ 
ระบาย 
ความเข้ม 
ข้น 
ความ 
ชัดเจน 
ของสี 
การผสม 
กลมกลืน 
สี 
ระยะ 
เวลาใน 
การแห้ง 
ดี =3 
พอใช้=2 
ปรับปรุง=0 
ดี =3 
พอใช้=2 
ปรับปรุง=0 
ดี =3 
พอใช้=2 
ปรับปรุง=0 
ดี =3 
พอใช้=2 
ปรับปรุง=0 
ดี =3 
พอใช้=2 
ปรับปรุง=0 
ศิลปิน 1 
นายก้า แซ่ 
ย่าง 
1 1 1 1 1 
ศิลปิน 2 
นายวชิวิทย์ 
แซ่ลี 
1 1 1 1 1 
ศิลปิน 3 
นายวรเวช 
แซ่ท่าว 
1 1 1 1 1 
รวม 8 7 5 2 4 
ร้อยละ 89 78 56 22 45
บทที่ 5 
สรุปและอภิปรายผล 
วัตถุประสงค์ 
1. นำาวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์ 
2. ทดลองหาวัสดุที่จะมาใช้ทำาแม่สีที่มีคุณภาพที่สุด 
3. ทดสอบความคงทนของสี เมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน 
4. ทดลองนำาสีไปใช้(นำาไปผสมกับนำ้าแล้วระบายสี)แล้ว สีที่ระบายไปแล้ว 
จะยังมีคุณภาพดีหรือไม่ 
5. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
6. เพื่อฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม 
7. สามารถผลิตแม่สี เพื่อ ทำาสีนำ้าจากธรรมชาติได้ด้วยตัวเอง 
จากผลการทดลอง สรุปการทดลองได้ว่า 
ตอนที่1 จากการทดลองพบว่า นำ้าสีที่ให้สีสันสวยงามตรงกับแม่สี 
คือ แม่สีเหลือง ใช้ ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 
ตอนที่ 2 ส่วนผสมที่พอเหมาะทำาให้เกิดความลื่นไหลในการทาและ สีสัน 
ติดทนนานคือ 
ขมิ้น 100 g ต่อ นำ้า 100 mm กาว 10 กรัม ได้สีเหลือง 
ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 mm ปูน 5 กรัม กาว 10 กรัม สำาหรับ ได้สีนำ้าตาล 
ตอนที่ 3 
จากตารางการสำารวจความการทดลองใช้สีเพื่อวาดภาพ โดยทดสอบจาก 
ศิลปิน มือสมัครเล่นที่เป็นนักเรียนโรงเรียนนาโบสถ์พิทยาคม มีผลสรุปว่า 
1.ความสามารถในการระบาย มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 89 
2.ความเข้มข้นมีค่าเฉลี่ย คิดเป็น 78 
3.การผสมกลมกลืนสี มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 56 
4.ความชัดเจนของสีมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 22
5. ระยะเวลาในการแห้งมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 45 
ผู้ทดลองยังได้ให้ข้อคิดเพิ่มเติมว่า สีจากธรรมชาติมีกลิ่นหอมเมื่อระบาย 
แล้ว ไม่รู้สึกปวดศีรษะ 
· อภิปรายผล 
จากการทดลองจะได้ว่าขมิ้นให้สีนำ้าสีที่มีคุณภาพสีชัดเจนดี ส่วนสี 
แดงจากขมิ้นกับปูน เมื่อนำามาระบายบนกระดาษแล้วพบว่าให้สี เป็น 
สีนำ้าตาลแดง ส่วน สีจากดอกอัญชัญ นั้นเมื่อนำามาระบายแล้วให้ 
สีนำ้าเงินอมเขียว ภาพที่วาดได้จากสีนำ้ารักษ์โลก เป็นภาพที่ให้ความ 
รู้สึกนุ่มนวลสบายตา 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1. สามารถนำาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ 
2. สามารถเก็บสีที่มีอยู่ในธรรมชาติไว้ใช้เป็นเวลานานได้ 
3. สามารถหาวัสดุอื่นที่นอกจากสารเคมี มาใช้ทำาสีนำ้าได้ 
4. สามารถทำาสีนำ้าไว้ใช้เองได้ 
5. ได้สีที่มีความปลอดภัยสูง 
6. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการทำางานเป็นหมู่คณะอย่างเป็นระบบ 
7. สามารถนำาทักษะทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ 
ข้อเสนอแนะ 
1. น่าจะลองนำาผงสีมาปั้นเป็นแท่ง ทำาเป็นสีชอกล์ได้ 
2. ควรทดลองผงสีให้มากสีกว่านี้
เอกสารอ้างอิง 
http://www.vcharkarn.com/vblog/34274/9 
http://www.wapedia.mobi/th 
http://www.wikipedia.org
File

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 

Viewers also liked

งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
Let's get technical
Let's get technicalLet's get technical
Let's get technicalBORN SOCIAL
 
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi KataloğuFatoş Sarıgül
 
Padma Shri awards 2016
Padma Shri awards 2016Padma Shri awards 2016
Padma Shri awards 2016Tamilgod.org
 
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)Aysha Cohen
 
BORN SOCIAL x Rocketships Presentation
BORN SOCIAL x Rocketships PresentationBORN SOCIAL x Rocketships Presentation
BORN SOCIAL x Rocketships PresentationBORN SOCIAL
 

Viewers also liked (13)

งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
Renders
RendersRenders
Renders
 
Piani di accumulo oro
Piani di accumulo oroPiani di accumulo oro
Piani di accumulo oro
 
Let's get technical
Let's get technicalLet's get technical
Let's get technical
 
Jason Heffron, Austin Realtor Pre Listing Overview
Jason Heffron, Austin Realtor Pre Listing OverviewJason Heffron, Austin Realtor Pre Listing Overview
Jason Heffron, Austin Realtor Pre Listing Overview
 
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu
"Sanata Adanmış Bir Ömür, Etem ÇALIŞKAN" Kaligrafi Sergisi Kataloğu
 
IPC Eagle Dust Max 440DMPL
IPC Eagle Dust Max 440DMPLIPC Eagle Dust Max 440DMPL
IPC Eagle Dust Max 440DMPL
 
Padma Shri awards 2016
Padma Shri awards 2016Padma Shri awards 2016
Padma Shri awards 2016
 
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)
DDOT Bicycle Research_Summer 2015_AyshaCohen_DRAFT1 (1)
 
IPC Eagle CT70 Automatic Floor Scrubber
IPC Eagle CT70 Automatic Floor ScrubberIPC Eagle CT70 Automatic Floor Scrubber
IPC Eagle CT70 Automatic Floor Scrubber
 
Smart vac 464 664 sweeper 1-13 lowres
Smart vac 464 664 sweeper 1-13 lowresSmart vac 464 664 sweeper 1-13 lowres
Smart vac 464 664 sweeper 1-13 lowres
 
BORN SOCIAL x Rocketships Presentation
BORN SOCIAL x Rocketships PresentationBORN SOCIAL x Rocketships Presentation
BORN SOCIAL x Rocketships Presentation
 
Dust Max 315 DMSB
Dust Max 315 DMSBDust Max 315 DMSB
Dust Max 315 DMSB
 

Similar to File

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 SlidejanjaoKanjanjao
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมsupansa phuprasong
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2Patitta Intarasopa
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionjarunee4
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 

Similar to File (20)

Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
br001
br001br001
br001
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
TALADKEELEK SCHOOL
TALADKEELEK SCHOOLTALADKEELEK SCHOOL
TALADKEELEK SCHOOL
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 

File

  • 1. เรื่อง สีนำ้ำรักษ์ โลก โดย 1. นำงสำววำสนำ สิทธิชัย 2. นำยวรเวช แซ่ท่ำว 3. นำงสำวมิรันตี เพชรมำ โรงเรียนนำโบสถ์พิทยำคม สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำตำกเขต 1 รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงำนวิทยำศำสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6 เนื่องในงำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน 2553 จังหวัด ตำก วันที่ 15-17 พฤศจิกำยน 2553
  • 2. เรื่อง สีนำ้ำรักษ์ โลก โดย . นำงสำววำสนำ สิทธิชัย 2. นำยวรเวช แซ่ท่ำว 3. นำงสำวมิรันตี เพชรมำ ครูที่ปรึกษำ นำงชิโนลักษณ์ เรือนติ๊บ ครูที่ปรึกษำพิเศษ นำงสำวศันทนีย์ มีนำค โรงเรียนนำโบสถ์พิทยำคม อำำเภอวังเจ้ำ จังหวัดตำก กิตกรรมประกำศ
  • 3. โครงงำนวิทยำศำสตร์ สีนำ้ำรักษ์โลก นี้สำำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพรำะได้รับ กำรสนับสนุนและกำำลังใจอย่ำงดียิ่งจำกท่ำนอำจำรย์ชิโนลักษณ์ เรือนติ๊บ ที่ได้ให้คำำปรึกษำแนะนำำในกำรทำำโครงงำน และผู้ปกครองของคณะผู้จัด ทำำโดยเฉพำะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 ปีกำรศึกษำ 2553 ทุกคน ที่ช่วยจัดหำอุปกรณ์ในกำรทำำโครงงำนนี้ และที่ขำดไม่ได้ก็คือ นำงสำวรุ่ง นภำ ธูปหอม ที่ช่วยเป็นเพื่อนคู่คิดให้แก่คณะผู้จัดทำำ คณะผู้ ร่วมงำนรู้สึกซำบซึ้งและขอขอบพระคุณผู้ที่ได้ให้ควำมร่วมมือในกำรทำำ โครงงำนนี้ทุกท่ำนไว้ ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทำำโครงงำน สำรบัญ เรื่อง หน้ำ บทที่ 1 บทนำำ 1
  • 4. บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 2 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีกำรดำำเนินกำร 8 บทที่ 4 ผลกำรดำำเนินกำร 11 บทที่ 5 สรุปผลกำรดำำเนินกำร 14 ภำคผนวก บรรณำนุกรม สำรบัญตำรำง ตำรำงแสดงแม่สีส่วนผสมชนิดต่ำงชนิดต่ำงๆ 11 ตำรำงแสดงส่วนผสมของแม่สีและกำวที่อัตรำส่วนต่ำงๆ 12 ตำรำงบันทึกกำรทดลองใช้สี เพื่อวำดภำพ 13
  • 5. บทที่ 1 บทนำำ ค ว ำ ม เ ป็น ม ำ แ ล ะ ค ว ำ ม สำำ คัญ ข อ ง โ ค ร ง ง ำ น ในปัจจุบันสีนำ้ำหรือสีอื่นๆ สำำหรับเขียนรูปภำพ มักจะทำำมำจำกสำร เคมี ที่อำจทำำให้เกิดพิษแก่ผู้ใช้ได้ ผู้จัดทำำโครงงำนจึงเล็งเห็นว่ำน่ำจะมี วัสดุจำกธรรมชำติที่สำมำรถนำำ มำใช้แทนสำรเคมีดังกล่ำวได้ และ เนื่องจำกในท้องถิ่นตำำบลนำโบสถ์ซึ่งเป็นชุมชนเกษตรกรรม มีพืชที่หลำก
  • 6. หลายพืชที่ให้สีแม่สีที่พบในท้องถิ่นได้แก่ขมิ้นชัน และดอกอันชัญ ซึ่งพบ ได้โดยทั่วไปในท้องถิ่น และจากการที่ได้ทดลองโดยทดสอบคำาพังเพย ที่ได้ยินจากคนโบราณว่าคนที่มักขัดแย้งกันเหมือนกับขมิ้นกับปูน จึงได้ ทดลองนำาขมิ้นผสมกับปูนขาวในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 พบว่าให้เป็น สารสี แดงสดสวยงาม ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดว่า หากมีสารสีครบ 3 แม่สี คือ แดง เหลือง นำ้าเงิน จากวัสดุธรรมชาติแล้ว น่าจะนำามาผสมให้เกิดเป็นสีเพื่อ ระบายสี และ สามารถ นำาสีมาวาดรูปเป็นสีนำ้า ที่มีสีสันหลากหลายจากแม่สี ธรรมชาติได้ โดยมีความคงทนของสีสัน และให้สีสันที่สวยงามตาม ธรรมชาติแลส่งเสริมแนวคิดการสร้างสรรค์ศิลปะแตกต่างกันได้ วัตถุประสงค์ 1. นำาวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์ 2. ทดลองหาวัสดุที่จะมาใช้ทำาแม่สีที่มีคุณภาพที่สุด 3. ทดสอบความคงทนของสี เมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน 4. ทดลองนำาสีไปใช้(นำาไปผสมกับนำ้าแล้วระบายสี)แล้ว สีที่ระบายไปแล้ว จะยังมีคุณภาพดีหรือไม่ 5. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6. เพื่อฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม 7. สามารถผลิตแม่สี เพื่อ ทำาสีนำ้าจากธรรมชาติได้ด้วยตัวเอง ปัญหา จะทำาอย่างไรให้แม่สีได้ออกมานั้นมีคุณภาพ มีสีสันสวยงาม สามารถ เก็บไว้ใช้ได้เป็นเวลานาน นิยามเชิงปฏิบัติการ 1. คุณภาพของสี หมายถึง สีที่มีความสดใส คงทน สีไม่เพี้ยนไปแม้ เก็บไว้เป็นเวลานาน 2. สารสี หมายถึง ชิ้นส่วนของพืชที่จำานำามาใช้สกัดสี 3. นำ้าสี หมายถึง นำ้าที่ได้จากการสกัดสารสี ในรูปขอของเหลวมีสี บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง สีที่ได้จากธรรมชาติ 1. สีเขียว ได้จาก
  • 7. - ใบเตยหอม ให้ทั้งสีและกลิ่นใช้ใบค่อนข้างแก่หั่นฝอยแล้วโขลกละเอียด เติมนำ้า คั้นเอาแต่นำ้า - ต้นและใบของต้นโสม(ยิ่งเซียน) ทำาเหมือนกับใบเตย - จากทั้งลำาต้นและใบของผักบุ้ง 2. สีเหลือง ได้จาก - ขมิ้น ล้างปอกเปลือกโขลกให้ละเอียดเติมนำ้าแล้วกรองเอาแต่นำ้า - เมล็ดคำาแสด ใช้เมล็ดแช่นำ้าร้อนกรองเอาแต่นำ้าให้สีเหลืองแสด - ดอกกรรณิการ์ ใช้ก้านดอกสีแสดบีบให้ชำ้า เติมนำ้าเล็กน้อย ใส่ผ้าขาว บางห่อ คั้นเอาแต่นำ้า - ฟักทอง ทำาแบบขมิ้น 3. สีส้ม - แครอท ทำาแบบขมิ้น 4. สีแดง - หัวบีท ปอกเปลือกสับเนื้อให้เป็นชิ้นเล็กๆ แล้วโขลกให้ละเอียดเอาแต่นำ้า - ครั่ง นำารังครั่งมาแช่นำ้าร้อนแล้วต้ม เอาแต่นำ้า - กระเจี๊ยบ ใช้กลีบหุ้มผล ล้างสะอาดนำามาต้มกับนำ้า คั้นเอาแต่นำ้า - ดอกของเฟื่องฟ้าแดง 1. สีนำ้าเงิน - ได้จากดอกอัญชัน ใช้เฉพาะที่เป็นกลีบสีนำ้าเงิน ขยี้ให้ซำ้าเติมนำ้าเล็ก น้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง 2. สีม่วง - ได้จากนำ้าดอกอัญชันบีบมะนาวลงไปจะได้สีม่วง ขมิ้น คนไทยเรียกชื่อพืชขึ้นต้นด้วยคำาว่า ขมิ้นมากมายหลาย ชนิด มีทั้งหัวไม้พุ่มและไม้เถา รวมมากกว่า 15 ชนิด ในที่นี้จะยกมาเฉพาะ ที่เป็นพืชหัวเพียงสามชนิด เพราะเป็นขมิ้นที่คนไทยคุ้นเคยและใช้ ประโยชน์มากที่สุดได้แก่
  • 8. ก. ขมิ้นชัน บางทีเรียกขมิ้นแดง หรือว่างนางคำา ภาคใต้เรียก มิ่น หรือขี้ มิ่น ภาษาอังกฤษเรียก Cur- Cuma หรือ Turmeric ชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma longa Linn. เป็นพืชหัวลง อายุหลายปี ลำาต้นอยู่ใต้ดิน ชูก้านใบขึ้นมาเป็นลำาดับ เทียม ใบคล้ายพุทธรักษา กลางใบมีสีแดงคลำ้า งอกงามในฤดูฝน ถึงฤดู แล้งใบจะโทรม แห้งเหี่ยว เหลือแต่หัว(ลำาต้น)อยู่ใต้ดิน และงอกใหม่ในฤดู ฝน หรือหัวเหง้า(ลำาต้น) ใต้ดิน มีลักษณะอ้วนสั้นและแตกแขนง เนื้อในสี เหลืองจำาปา (ปนแสด) มีกลิ่นฉุน ข. ขมิ้นอ้อย บางทีเรียกขมิ้นหัวขึ้นหรือว่านเหลือง ภาคเหนือเรียกขมิ้น ขึ้น ภาษาอังกฤษเรียก Ze-deory ชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma zedoria Roscoe มี ลักษณะคล้ายขมิ้นชัน ต่างกันตรงใบของขมิ้นอ้อยมีขนนิ่มที่ด้านล่าง หัว หรือเหง้า (ลำาต้น) ใต้ดินของขมิ้นอ้อยมีขนาดใหญ่กว่าเนื้อในมีสีเหลือง อ่อนกว่าและกลิ่นฉุนน้อยกว่าขมิ้นชัน หัวหรือเหง้ามักโผล่พ้นดินจึงเรียก ขมิ้นหัวขึ้น ค. ขมิ้นป่า บางทีเรียกขมิ้นขาวชื่อทางพฤกษาศาสตร์คือ Curcuma
  • 9. parviflora Wall. ลักษณะคล้าย ขมิ้นชัน แต่เนื้อในสีขาวอมเหลืองอ่อนกลิ่นน้อย นิยมใช้เป็นผัก มีสำานวนไทยโบราณสำานวนหนึ่งที่ยังนิยมใช้จนถึงทุกวันนี้นั่นคือ สำานวน “ขมิ้นกับปูน” ซึ่งหมายความว่าไม่ถูกกัน หรือชอบวิวาทกันอยู่เสมอเมื่อ อยู่ใกล้กัน สำานวนนี้คำาไทยสังเกตจากคุณสมบัติของขมิ้นกับปูนนั่นเอง กล่าวคือ ขมิ้น มีฤทธิ์เป็นกรด ส่วนปูนมีฤทธิ์เป็นด่าง เมื่อมาผสมกันเข้าก็เกิดปฏิกิริยาขึ้น เปลี่ยนขมิ้นจากสีเหลืองและปูนสีขาวกลายเป็นสีแดง ซึ่งก็คือ ปูนแดงที่ใช้ กินกับหมากนั่นเองน่าสังเกตว่าพวกแขก(อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา) ซึ่ง นิยมกินหมากและคงเป็นผู้เผยแพร่การกินหมากให้คนไทย) เขาใช้ปูนขาว กินกับหมาก แต่คนไทยใช้ปูนแดง (ปูนขาวและขมิ้น) แทน เพราะปูนแดง ไม่กัดปากเหมือนปูนขาว (ที่มีฤทธิ์เป็นด่างมาก)ปูนแดงจึงเป็นภูมิปัญญา ของไทยที่ใช้ประโยชน์จากปูนขาวและขมิ้นที่แขกก็มี แต่ไม่รู้จักนำามาใช้ ประโยชน์เหมือนคนไทยเมื่อถูกแมลงสัตว์กัดต่อยหรือเป็นผดผื่นคัน คน ไทยแต่ก่อนนิยมใช้ปูนแดงทารักษาอาการดังกล่าว ปูนแดงจึงเป็นปูน สารพัดประโยชน์ เช่นเดียวกับขมิ้นซึ่งใช้กินก็ได้ทาก็ได้ เหมือนยาโบราณ บางชนิดที่เขียนในสมุดข่อยว่า “กินกได ทากได” นั่นเอง ขมิ้นให้ประโยชน์ได้มากมายรอบด้าน แต่กลับเป็นพืชที่ปลูก ง่ายอย่างยิ่ง เพียงแต่นำาเหง้า (หรือหัว) ของขมิ้น มาปลูกลงดินในช่วงต้น ฤดูฝน แล้วเก็บหัวขมิ้นมาใช้ประโยชน์ในฤดูแล้ง (หมดฝนแล้ว ประมาณ เดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป) หรืออาจปลูกในกระถางก็ได้ เพราะขนาด ของขมิ้นไม่ใหญ่โตนัก รูปทรงใบก็งดงาม ใช้ประดับบ้านได้ จึงน่าปลูกเอา ไว้ใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับพืชพื้นบ้านอีกหลายชนิด ซึ่งไม่เหลือปากว่า แรงแต่อย่างใดเลย อัญชัน/ Blue Pea,Butterfly Pea
  • 10. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea ชื่อวงศ์ : Fabaceae แดง ชัน,เอื้องชัน ส่วนประกอบ มีสารอดีโนซีน (adenosine) สารแอฟเซ ลิน (afzelin) สารอปาราจิติน (aparajitin) กรดอราไชดิก (arachidic acid)สารแอสตรากาลิน (astragalin)กรดชินนามิกไฮดรอกซี (cinnamic acid, 4-hydroxy)สารเคอร์เซติน (quercetin) และสารซิ โตสเตอรอล เป็นต้นดอกมีสารแอนโทไซอานิน สรรพคุณและวิธีใช้ ดอก รักษาอาการผมร่วง แก้ฟกชำ้าบวม ใช้ผสม อาหารให้สีม่วง เช่น ข้าวดอกอัญชัน ขนมดอกอัญชัน เป็นต้น เมล็ด เป็นยาระบาย ใบและราก อัญชันชนิดขาวใช้เป็นยาขับปัสสาวะ และยาระบาย ชนิดม่วงแก้ตาฟางและตาแฉะ ลักษณะโดยทั่วไป ต้น อัญชันเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยล้มลุกขนาดเล็ก มีเถาขนาดเล็กและอ่น แต่ก้สามารถเลื้อยไปได้ไกลถึง 20 ฟุต ลักษณะเถาจะค่อนข้างกลม สี เขียวแต่หากเถาแก็จะเป็นสีนำ้าตาล ตามลำาต้นจะมีขนนุ่ม ๆ ปกคลุมโดย ทั่วไป ใบ ใบของอัญชัด มีลักษณะเป็นช่อ มีใบย่อยรูปไข่ 5-7 ใบ ใบเล็กและค่อนข้างบาง รูปใบเกือบจะเป็นทรงกลม ออกใบรวามเป็นแผง สลับกันไปตามข้อต้น ดอก ดอกอัญชันจะเป็นดอกเดี่ยว และจะ ออกดอกเป็นช่อตามปลายยอดช่อหนึ่งจะมีดอก 2.4 ดอกอัญชันจะมีทั้ง ชนิดดอกราและดอกซ้อน ดอกมีหลายสี เช่น สีนำ้าเงินอมม่วง สีม่วง สีฟ้า สี ขาว ลักษณะของ ดอกคล้ายดอกถั่วมี 2 กลีบ เมื่อกลีบดอกบานอ้าออกเต็ม
  • 11. ที่จะมองเห็นลักษณะของดอกคล้ายดอกถั่ว มี 2 กลีบ เมื่อกลีบดอกบาน อ้าออกเต็มที่ จะมองเห็นลักษณะคล้ายกาบหอยหรือปีกผีเสื้อเมื่อดอก โรย ก็ จ ะ ติ ด ฝั ก ปูนขาว (เเคลเซียมออกไซด์) CaO ปูนขาวมีประวัติศาสตร์การใช้สอยมาอย่างยาวนาน มีบันทึกการใช้ ปูนขาวในการฉาบภายนอกอาคารในประเทศตุรกีตั้งแต่ 4,000 ปีก่อน คริสตกาล หรือประมาณ 6,000 ปีก่อน ชาวโรมันเองก็ใช้ปูนขาวในการ ก่อและฉาบอาคาร ในพื้นที่หนาวและชื้นดังเช่นพื้นที่แถบประเทศ สกอตแลนด์และเวลส์ก็มีการฉาบปูนขาวบนอาคารที่สร้างจากหินเพื่อ ป้องกันดินก่อจากสภาพอากาศและฝนที่รุนแรง โดยใช้วิธีการแบบโบราณ คือการปาดินฉาบเข้าใส่ผนังเพื่อป้องกันการแตกร้าวซึ่งจะทำาให้นำ้าไป ทำาลายรอยต่อของผนังหิน ถึงแม้ว่าจะมีการใช้ปูนขาวมาอย่างยาวนานทั่วโลก แต่สำาหรับพื้นที่ แถบอเมริกาเหนือในปัจจุบัน การฉาบอาคารด้วยปูนขาวเริ่มสูญหายไป จากการรับรู้ของคน เรื่องมาจาการใช้คอนกรีตฉาบกันอย่างกว้างขวาง แต่ อย่างไรก็ตาม การใช้ปูนขาวก็เริ่มที่จะได้รับความนิยมจากผู้สร้างบ้าน ธรรมชาติที่ต้องการวัสดุที่แข็งแรงทนทานแสะกันนำ้าได้ ในประเทศไทยหินปูน แต่เดิมใช้หินจากเขางู เพราะถือกันว่าเป็น หินปูนที่มีคุณภาพสูง มีมลทินตำ่า เมื่อนำามาทำาเป็นปูนขาว ปูนแดง จะ ได้ปูนที่มีคุณภาพดีกว่าหินจากแหล่งอื่น ๆ แต่เนื่องจากบริเวณเขางูมีถำ้า ภายในมีสภาพสลักและลายปูนปั้น ซึ่งถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ สำาคัญของชาติ กรมศิลปากรจึงได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณ สถาน และห้ามการระเบิดทำาลาย ทำาให้ปัจจุบันต้องมีการนำาเอาหินมา จากเขาสามง่ามมาใช้แทน เชื้อเพลิง ที่ใช้มี ๒ ชนิด คือ ฟืนไม้ เบญจพรรณ หรือไม้ยูคาลิปตัส และถ่านหินลิกไนต์ โดยทั่วไปถ้าต้องการ ทำาปูนสำาหรับกินกับหมาก จะนิยมทำาด้วยฟืนไม้ ส่วนปูนที่ใช้ในการอื่นๆ นอกเหนือจากนี้จะใช้ถ่าน ขมิ้นและเกลือ ใช้ผสมทำาปูนแดง แคลไซต์ มีองค์ประกอบเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต และเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญของ หินปูนและหินอ่อน หินปูนใช้ทำาปูนซีเมนต์ ปูนขาว หินก่อสร้าง หินอ่อนใช้ เป็นวัสดุก่อสร้างและเครื่องตกแต่งอาคาร วิธีการผลิตปูนขาวจากหินปูน แคลเซียมคาร์บอเนต เผา แคลเซียมออกไซด์ + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
  • 12. (หินปูน) (ปูนขาว) (ออกไซด์ของคาร์บอน)แคลเซียมออกไซด์ + นำ้า แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (นำ้าปูนใส) ปฏิกิริยาแสดงการผลิตปูนขาวนี้ ไม่จัดเป็นการถลุงแคลเซียมออกไซด์ ดินที่มีความเป็นกรดมากเกินไป แก้ไขได้โดยการเติมปูนขาว การทดสอบ ว่าหินปูนและหินอ่อนเป็นเกลือคาร์บอเนต ทำาได้โดยการหยดกรดไฮโดร คลอริกจะเกิดฟองฟู เนื่องจากกรดทำาปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนตให้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง ตอนที่ 1 จุดประสงค์์ ทำาการทดลองหาอัตราส่วนที่พอเหมาะสมระหว่างสารสี ธรรมชาติกับนำ้า เพื่อให้ได้นำ้าสีที่มีคุณภาพ ตัวแปร ต้น อัตราส่วนระหว่างสารสีธรรมชาติกับนำ้า ตาม นำ้าสีที่มีคุณภาพ ควบคุม ปริมาณนำ้า ภาชนะ เวลาที่ใช้แช่สาร วัสดุและอุปกรณ์์ 1. สารสี ได้แก่ ขมิ้น อัญชัน 2. นำ้าสะอาด 3. หลอดทดลองขนาดกลาง 4. บีกเกอร์ 5. เครื่องชั่ง 6. ผ้าขาวบาง 7. ครกบดยา 8. พู่กัน 9. หลอดทดลองขนาดกลาง 10. กระดาษวาดเขียน 100 ปอนด์ วิธีการทดลอง 1. ทำาสารแม่สี สีเหลือง 1. นำาขมิ้น ตำาในครกบดยาให้ละเอียด 2. ชั่งขมิ้นเพื่อนำาไปผสมนำ้าในปริมาตร 25 กรัม , 50 กรัม , 100 กรัม ต่อนำ้า 100 มิลลิลิตร 3. แล้วกรองกรองเอาเศษสารสีออกจากนำ้าด้วยผ้าขาวบาง นำาไปตั้ง
  • 13. ไฟให้เดือด 4. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 2. ทำาสารแม่สี สีแดง 1. นำานำ้าสีจากขมิ้น ตอน ก ผสมกับปูนขาว จำานวน 5 กรัม 2. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน ค. ทำาสารแม่สีสีนำ้าเงิน 1. นำาดอกอัญชัญ ตำาในครกบดยาให้ละเอียด 2. ชั่งดอกอัญชันจากข้อ 1 เพื่อนำาไปผสมนำ้าในปริมาตร 25 กรัม , 50 กรัม , 100 กรัม ต่อนำ้า 100 มิลลิลิตร 3. แล้วกรองกรองเอาเศษสารสีออกจากนำ้าด้วยผ้าขาวบาง นำาไปตั้ง ไฟให้เดือด 4. นำาตัวอย่างนำ้าสีที่ได้จากการผสมสูตาต่างๆ มาทดสอบโดยการใช้ พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตร ใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน ตอนที่ 2 จุดประสงค์ ทำาการทดลองเพื่อหาส่วนผสมทำาให้สีติดคงทน ตัวแปร ต้น ปริมาณกาว ตาม สีนำ้าที่มีคุณภาพ ควบคุม อัตราส่วนการผสมระหว่างผงกับนำ้าสี ภาชนะ วัสดุและอุปกรณ์ 1. กาวลาเทกซ์ 2. นำ้าสารสี แม่สี แดง เหลือง นำ้าเงิน จากผลการทดลองตอนที่ 1 3. บีกเกอร์ 4. เครื่องชั่ง 5. แท่งแก้วคนสาร วิธีทำาการทดลอง 1. ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์ 5 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 50 มิลลิลิตร พู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน
  • 14. 2.ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์ 8 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 50 มิลลิลิตรพู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน 3. ชั่งกาวลงในใส่ลงในบีกเกอร์10 กรัม แล้วใส่นำ้าแม่สีแต่ละชนิดไป 50 มิลลิลิตรพู่กันระบายนำ้าสีลงบนกระดาษ แล้วนำาไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำามาเปรียบเทียบดูว่า สูตรใดจะให้ได้สีเข้มมากกว่ากัน ตอนที่ 3 จุดประสงค์ ทำาการทดลองวาดภาพโดยใช้สีนำ้าจากธรรมชาติเทียบกับสี นำ้าสารเคมี ตัวแปร ต้น สีนำ้า ตาม ความสวยงามของภาพจากสีนำ้ารักษ์โลก และสีนำ้าจาก สารเคมี ควบคุม รูปแบบของภาพวาด ผู้วาด บทที่ 4 ผลการทดลอง ตอนที่ 1 ตารางแสดงแม่สีส่วนผสมชนิดต่างชนิดต่างๆ A: ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 mm B: ขมิ้น 50 g: นำ้า 100 mm C:ขมิ้น 25 g: นำ้า 100 mm สาร A : ปูนขาว 5 กรัม สาร B : ปูนขาว 5 กรัม สาร C : ปูนขาว 5 กรัม ดอกอัญชัญ 100 g: นำ้า 100 mm ดอกอัญชัญ 100 g: นำ้า 100 mm ดอกอัญชัญ 100 g: นำ้า 100 mm
  • 15. ตอนที่ 2 ตารางแสดงส่วนผสมของแม่สีและกาวที่อัตราส่วนต่างๆ นำาสีสดจาก ตาราง 1 ผสมกาว 5 กรัม ผสมกาว 8 กรัม ผสมกาว 10 กรัม A: ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 mm ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 mmปปูน ขาว 5 กรัม ดอกอัญชัญ 100 g: นำ้า 100 mm
  • 16. ตอนที่ 3 ตารางบันทึกการทดลองใช้สี เพื่อวาดภาพ ทดสอบวาดภาพ ความ สามารถ ในการ ระบาย ความเข้ม ข้น ความ ชัดเจน ของสี การผสม กลมกลืน สี ระยะ เวลาใน การแห้ง ดี =3 พอใช้=2 ปรับปรุง=0 ดี =3 พอใช้=2 ปรับปรุง=0 ดี =3 พอใช้=2 ปรับปรุง=0 ดี =3 พอใช้=2 ปรับปรุง=0 ดี =3 พอใช้=2 ปรับปรุง=0 ศิลปิน 1 นายก้า แซ่ ย่าง 1 1 1 1 1 ศิลปิน 2 นายวชิวิทย์ แซ่ลี 1 1 1 1 1 ศิลปิน 3 นายวรเวช แซ่ท่าว 1 1 1 1 1 รวม 8 7 5 2 4 ร้อยละ 89 78 56 22 45
  • 17. บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล วัตถุประสงค์ 1. นำาวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์ 2. ทดลองหาวัสดุที่จะมาใช้ทำาแม่สีที่มีคุณภาพที่สุด 3. ทดสอบความคงทนของสี เมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน 4. ทดลองนำาสีไปใช้(นำาไปผสมกับนำ้าแล้วระบายสี)แล้ว สีที่ระบายไปแล้ว จะยังมีคุณภาพดีหรือไม่ 5. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6. เพื่อฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม 7. สามารถผลิตแม่สี เพื่อ ทำาสีนำ้าจากธรรมชาติได้ด้วยตัวเอง จากผลการทดลอง สรุปการทดลองได้ว่า ตอนที่1 จากการทดลองพบว่า นำ้าสีที่ให้สีสันสวยงามตรงกับแม่สี คือ แม่สีเหลือง ใช้ ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 ตอนที่ 2 ส่วนผสมที่พอเหมาะทำาให้เกิดความลื่นไหลในการทาและ สีสัน ติดทนนานคือ ขมิ้น 100 g ต่อ นำ้า 100 mm กาว 10 กรัม ได้สีเหลือง ขมิ้น 100 g: นำ้า 100 mm ปูน 5 กรัม กาว 10 กรัม สำาหรับ ได้สีนำ้าตาล ตอนที่ 3 จากตารางการสำารวจความการทดลองใช้สีเพื่อวาดภาพ โดยทดสอบจาก ศิลปิน มือสมัครเล่นที่เป็นนักเรียนโรงเรียนนาโบสถ์พิทยาคม มีผลสรุปว่า 1.ความสามารถในการระบาย มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 89 2.ความเข้มข้นมีค่าเฉลี่ย คิดเป็น 78 3.การผสมกลมกลืนสี มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 56 4.ความชัดเจนของสีมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 22
  • 18. 5. ระยะเวลาในการแห้งมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 45 ผู้ทดลองยังได้ให้ข้อคิดเพิ่มเติมว่า สีจากธรรมชาติมีกลิ่นหอมเมื่อระบาย แล้ว ไม่รู้สึกปวดศีรษะ · อภิปรายผล จากการทดลองจะได้ว่าขมิ้นให้สีนำ้าสีที่มีคุณภาพสีชัดเจนดี ส่วนสี แดงจากขมิ้นกับปูน เมื่อนำามาระบายบนกระดาษแล้วพบว่าให้สี เป็น สีนำ้าตาลแดง ส่วน สีจากดอกอัญชัญ นั้นเมื่อนำามาระบายแล้วให้ สีนำ้าเงินอมเขียว ภาพที่วาดได้จากสีนำ้ารักษ์โลก เป็นภาพที่ให้ความ รู้สึกนุ่มนวลสบายตา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1. สามารถนำาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ 2. สามารถเก็บสีที่มีอยู่ในธรรมชาติไว้ใช้เป็นเวลานานได้ 3. สามารถหาวัสดุอื่นที่นอกจากสารเคมี มาใช้ทำาสีนำ้าได้ 4. สามารถทำาสีนำ้าไว้ใช้เองได้ 5. ได้สีที่มีความปลอดภัยสูง 6. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการทำางานเป็นหมู่คณะอย่างเป็นระบบ 7. สามารถนำาทักษะทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ข้อเสนอแนะ 1. น่าจะลองนำาผงสีมาปั้นเป็นแท่ง ทำาเป็นสีชอกล์ได้ 2. ควรทดลองผงสีให้มากสีกว่านี้