SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรม
ของพืชในสวนพฤกษศาสตร ์โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246)
ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2560
ครูผู้สอน ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
เสนอ
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม.6 /144 เลขที่ 29
2.นาย ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ม.6/144 เลขที่ 34
3.นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
4.นาย ศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
คานา
รายงานนาเสนอนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 รหัสวิชา ว30246 โดยมีจุดประสงค์เพื่อการสืบค้น
ข้อมูลของพืชในวงศ์Rutaceae ซึ่งข้อมูลจะมีดังนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร ์ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์
สรรพคุณและประโยชน์ เป็ นต้น เพื่อให้สามารถศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นผลประโยชน์ต่อการเรียนต่อไป
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานนาเสนอนี้จะเป็ นประโยชน์ ต่อผู้ที่ต้องการที่จะศึกษาในประเด็นหัวข้อนี้ หากมี
ข้อผิดพลาดหรือข้อเสนอประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
1. ส้มเกลี้ยง (Citrus sinensis) ……………………………………………….…………………………..…………………..6
2. เลมอน (Citrus limon) ………………………………………………………………………………………………………..7
3. เกรปฟรุต (Citrus paradis) …………………………………………………………………………………………………8
4. มะนาว (Citrus aurantifolia) …………………………………………………………………………………………….9
5. มะนาวเปอร ์เซีย ( Citrus latifolia) …………………………………………………………………………....……… 10
6. ส้มโอ (Citrus maxima) ……………………………………………………………………………………………………..11
7. ส้มจี๊ด (Citrus japonica) ……………………………………………………………………………………….…..……….12
8. ส้มแมนดาริน (Citrus reticulata) ………………………………………………………………………………...…….13
9. ละมุดขาว (Casimiroa edulis) …………………………………………………………………………….….…………14
10. มะตูม (Aegle marmelos) ……………………………………………………………………………………….………...15
11. ส้มโอมือ (Citrus medica) ………………………………………………………………………………………….………16
12. ส้มจุก (Citrus nobilis) ………………………………………………………………………………………………………..17
13. บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………………….………………………………18
ส้มเกลี้ยง
ชื่อสามัญ ส้มเกลี้ยง, ส้มเช้ง
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus sinensis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ส้มเกลี้ยง เป็นไม้ผลขนาดกลาง ต้นสูงประมาณ 5-7 เมตร ทรงพุ่มค่อนข้างทึบ กิ่งก้านแข็งแรง มีหนาม
ขนาดใหญ่ หลังจากปลูกแล้ว 3 ปี จะเริ่มให้ผลผลิต ตั้งแต่เริ่มออกดอกจนถึงดอกบานใช้เวลาประมาณ 20 วัน นับจากดอกบานจนถึง
ผลแก่ใช้เวลาประมาณ 7.5-8 เดือน
สรรพคุณ รับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซีอยู่มาก
ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
เลมอน
ชื่อสามัญ เลมอน
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus limon
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้พุ่ม มีหนามเฉพาะปลายยอด ใบเดี่ยว เมื่อขยี้ใบจะได้กลิ่นหอมแรง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูป
กลมรี ปลายผลมีติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง เนื้อในฉ่าน้า มีหลายเมล็ด
สรรพคุณ ผลส่วนใหญ่จะใช้สาหรับนามาทาเป็นน้าเลมอน ถึงแม้ว่าบางครั้งจะมีการใช้กากและเปลือกในการทาอาหารหรือของหวาน
เลมอนมีส่วนประกอบของ กรดซิตริกประมาณ 5% ซึ่งทาให้เลมอนมีรสชาติที่เปรี้ยว และมีค่า pH ประมาณ 2 ถึง 3 ด้วยความเป็น
กรดนี้เลมอนในบางประเทศจะถูกใช้นาเป็นวัตถุในการทดสอบทางวิทยาศาสตร ์ทดแทนสารที่เป็นกรดอื่นที่ราคาสูงกว่า
ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
เกรปฟรุต
ชื่อสามัญ เกรปฟรุต
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus paradis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ไม้ไม่ผลัดใบสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาวประมาณ 15 เซนติเมตร และผอม ดอกมี 4
กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ
สรรพคุณ ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ นอกจากนั้นพบว่าเมื่อใช้เกรปฟรุตควบคู่ไป
กับการใช้ยารักษามะเร็ง สามารถช่วยลดตัวยาบางชนิดได้ จึงช่วยทาให้ผู้ป่วยมะเร็งประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา
ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
มะนาว
ชื่อสามัญ Mexica lime, West Indian lime, Key lime, หรือ lime
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus aurantifolia
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 – 4.5 เซนติเมตร ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย
สูงเต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีใบดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ดอกสีขาวอมเหลือง
สรรพคุณ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ บรรเทาอาการปวดศีรษะ ช่วยแก้อาเจียน บารุงเลือด รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน
ช่วยรักษาท้องอืด ท้องเฟ้ อ แก้อาการท้องร่วง
ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
มะนาวเปอร ์เซีย
ชื่อสามัญ seedless lime, Bearss lime, and Tahiti lime
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus latifolia
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ต้นแทบจะไม่มีหนาม ผลมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6cm ตรงปลายผลมีลักษณะเป็นจุก นอกจากนี้
ผลยังมีขนาดใหญ่กว่ามะนาวทั่วไปและไม่มีเมล็ดอีกด้วย
สรรพคุณ สรรพคุณคล้ายกับมะนาวทั่วไปคือ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ บรรเทาอาการปวดศีรษะ ช่วยแก้อาเจียน ช่วยรักษา
สมดุลโรคความดันโลหิต ช่วยในการเจริญอาหาร เป็นยาระบายอ่อนๆ
ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
ส้มโอ
ชื่อสามัญ Pomelo
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus maxima
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ สูงประมาณ 8 เมตร
ใบเป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยวมี เกสร
20-25 อัน ปลายกลีบมน มี 4 กลีบ
สรรพคุณ ผลของส้มโอมีประโยชน์ในด้านการขับลมในกระเพราะอาหารและช่วยลดกรดไหลย้อนได้ ดอกช่วยลดอาการปวดกระเพาะอาหาร
ปวดกระบังลม ขับลมในท้อง ขับเสมหะ เปลือกเอามาตาใช้พอกแผลที่เป็นหนอง เป็นฝีเพราะจะช่วยฆ่าเชื้อโรค
ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
ส้มจี๊ด
ชื่อสามัญ Kumquats, Cumquats
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus japonica
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง แตกแขนงเป็นพุ่มแน่น ใบรูปไข่ สีเขียวสดเป็นมัน มีหูใบขนาดเล็ก ดอกออกดอก
เดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่ม มีสีขาว ติดผลดก ผลกลมเหมือนส้มทั่วไป แต่มีขนาดเล็ก เป็นส้มชนิดที่กินเปลือก ผลขนาดเล็ก มีทั้ง
กลมและรี เปลือกสีเหลือง เหลืองอมเขียว หรือเหลืองทอง ผลดก ผิวที่หนา มีรสเปรี้ยว อมหวานเฝื่อนนิดๆ
สรรพคุณ เปลือกส้มมีสรรพคุณช่วยขับลม ช่วยย่อย ทาให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ดองเกลือและทาให้แห้ง อมแก้เจ็บคอ แต่งรส
เปรี้ยวในการทาน้าผลไม้ ใช้ทาแยมน้าของผลส้มจี๊ดจะอุดมไปด้วยวิตามินเอ ซี และกรดอินทรีย์หลายชนิด ให้นาน้าที่คั้นได้มาผสมกับ
เกลือเล็กน้อยจะช่วยบรรเทาอาการไอและมีเสมหะได้
ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
ส้มแมนดาริน
ชื่อสามัญ Common Mandarin
ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus reticulata
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์มีผลโตกว่าส้มเขียวหวาน เปลือกค่อนข้างหนากว่า เปลือกขรุขระ เปลือกอ่อนเปราะแกะได้ง่าย ไส้ผล
กลวง กลีบแยกออกจากกันได้ง่าย สีผลและสีเนื้อเป็นสีส้มเข้ม
สรรพคุณ ทาให้ชุ่มคอ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้กระหายน้า แก้ฤทธิ์เหล้า ขับปัสสาวะ อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิด
ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
ละมุดขาว
ชื่อสามัญ ละมุดขาว
ชื่อวิทยาศาสตร ์Casimiroa edulis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เป็นพุ่มทึบ กิ่งก้าน แตกออกรอบลาต้นเป็นชั้น ๆ ใบเดี่ยว ท้องใบมีสีน้าตาลอม
เขียว มักออกเป็นกระจุก ตามปลายกิ่ง ดอกเดี่ยว ออกตามง่ามกิ่ง กลีบรองดอกเรียงกัน เป็น 2 ชั้น กลีบดอกเชื่อมกันและยกตั้งขึ้น มี
6 กลีบ มีสีเหลืองนวล ผลรูปไข่ หรือรูปปลายข้างหนึ่งแหลมเล็กน้อย มีสีน้าตาล ผลยังไม่สุกมียางสีขาว รสฝาด แข็ง เมื่อสุกจะนิ่ม
หวาน ไม่มียาง
สรรพคุณ ผลสุกรับประทานได้ รสชาติคล้ายท้อหรือสาลี่ เมล็ดเมื่อเผาแล้วเป็นผงใช้เป็นยานอนหลับ ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
มะตูม
ชื่อสามัญ : Bael, Bengal Quince
ชื่อวิทยาศาสตร ์: Aegle marmelos
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์:
- มะตูมเป็นยืนไม้ต้น เนื้อแข็ง และผลัดใบ สูงประมาณ 15-25 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 25-50 เซนติเมตร
มีหนามแหลมตามกิ่งย่อย
- ใบมะตูมเป็นใบประกอบ มีก้านใบยาว 3-5 ซม.ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปไข่ ใบ
ย่อยตรงกลางมีขนาดใหญ่สุด
- ดอกมะตูมเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีทั้งดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้ในดอกเดียวกัน
- ผลมะตูมมีลักษณะเป็นผลกลมรี มีเปลือกมีลักษณะเรียบ เป็นมัน เปลือกหนา และแข็งมาก
สรรพคุณ : ใช้รักษาอาการท้องผูกเรื้อรังได้
ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
ส้มโอมือ
ชื่อสามัญ: Buddha’s hand, Fingered citron
ชื่อวิทยาศาสตร ์: Citrus medica L. var. Sarcodactylis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์:
- ลาต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีทรงพุ่มขนาดเล็ก เป็นเนื้อไม้แข็งและเหนียว ลาต้นมีกิ่งมีหนามแหลมคม หนามแข็งยาว
เล็กน้อย อยู่ทั่วๆไป เปลือกมีผิวเรียบ มีสีน้าตาล
- ใบ เป็นใบเลี้ยงเดี่ยว ออกเรียงสลับ มีลักษณะทรงไข่ โคนใบมนปลายใบมน ใบมีสีเขียวแก่ พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง ขอบใบจักฟัน
เลื่อย เป็นมันค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมมาก เพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ใบด้านบนมีสีเข้ม ใต้ใบมีสีอ่อนกว่า ก้านใบสั้น
- ดอก ออกเป็นช่อ หรือออกเดี่ยว จะมีดอกออกเป็นกระจุก กลีบดอกด้านในมีสีขาว กลีบดอกด้านนอกมีสีม่วง มีเกสรสี
เหลือง และมีกลิ่นหอม ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง
- ผล มีลักษณะรูปทรงรี ปลายผลแยกออกเป็นแฉกคล้ายนิ้วมือ หรือหนวดปลาหมึก มีขนาดใหญ่ โคนผลเรียว ผิวเปลือก
นอกขรุขระเป็นมัน ขั้วหัวของผลเป็นจุก
สรรพคุณ: ผลสามารถแก้ไขอาการอาเจียน ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
ส้มจุก
ชื่อสามัญ: Neck Orange
ชื่อวิทยาศาสตร ์: Citrus nobilis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์:
- ไม้ยืนต้น สูงระหว่าง 5-7 เมตร
- บริเวณขั้วที่ติดกับก้านผลจะมีจุกมองเห็นอย่างชัดเจน
- ผลดิบสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลืองปนเขียวหรือเป็นสีเหลืองทอง เนื้อในรสหวานหอมเป็นเอกลักษณ์
- เนื้อไม่ขม มีเมล็ด ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ทุกปี
สรรพคุณ: ส้มจุกมีความหวานไม่มากเหมาะมากสาหรับผู้ที่กาลังลดความอ้วนอยู่หรือผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานสามารถรับประทานได้
ไม่ต้องกลัวเรื่องปริมาณน้าตาลจากความหวานจะมากจนเกินไป
ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
บรรณานุกรม
http://www.laservisionthai.com/health-
corner/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%
99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%
E0%B8%9B%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%95
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1
ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม 6 /144 เลขที่ 29
บรรณานุกรม
https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%A1/
http://sukkaphap-d.com/18-
%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0
%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8
%93%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%86-%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81/
https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8
%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD/
https://www.thai-
thaifood.com/th/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A1
%E0%B8%B7%E0%B8%AD/
https://www.thairath.co.th/content/291461 ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
บรรณานุกรม
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7#
สรรพคุณทางยา
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD
http://www.nanahealth.com/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD%
E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%
B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%
A2%E0%B8%8A%E0%B8%99
https://en.wikipedia.org/wiki/Persian_lime
ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
บรรณานุกรม
http://halsat.com/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B9%8A%
E0%B8%94/
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0
%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%94%E
0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7
ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
Thank you
for watching

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 

Similar to Plant ser 144_60_9

Similar to Plant ser 144_60_9 (20)

Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab complete
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 144_60_9

  • 3. สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม.6 /144 เลขที่ 29 2.นาย ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ม.6/144 เลขที่ 34 3.นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35 4.นาย ศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
  • 4. คานา รายงานนาเสนอนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 รหัสวิชา ว30246 โดยมีจุดประสงค์เพื่อการสืบค้น ข้อมูลของพืชในวงศ์Rutaceae ซึ่งข้อมูลจะมีดังนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร ์ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ สรรพคุณและประโยชน์ เป็ นต้น เพื่อให้สามารถศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นผลประโยชน์ต่อการเรียนต่อไป ผู้จัดทาหวังว่ารายงานนาเสนอนี้จะเป็ นประโยชน์ ต่อผู้ที่ต้องการที่จะศึกษาในประเด็นหัวข้อนี้ หากมี ข้อผิดพลาดหรือข้อเสนอประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ 1. ส้มเกลี้ยง (Citrus sinensis) ……………………………………………….…………………………..…………………..6 2. เลมอน (Citrus limon) ………………………………………………………………………………………………………..7 3. เกรปฟรุต (Citrus paradis) …………………………………………………………………………………………………8 4. มะนาว (Citrus aurantifolia) …………………………………………………………………………………………….9 5. มะนาวเปอร ์เซีย ( Citrus latifolia) …………………………………………………………………………....……… 10 6. ส้มโอ (Citrus maxima) ……………………………………………………………………………………………………..11 7. ส้มจี๊ด (Citrus japonica) ……………………………………………………………………………………….…..……….12 8. ส้มแมนดาริน (Citrus reticulata) ………………………………………………………………………………...…….13 9. ละมุดขาว (Casimiroa edulis) …………………………………………………………………………….….…………14 10. มะตูม (Aegle marmelos) ……………………………………………………………………………………….………...15 11. ส้มโอมือ (Citrus medica) ………………………………………………………………………………………….………16 12. ส้มจุก (Citrus nobilis) ………………………………………………………………………………………………………..17 13. บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………………….………………………………18
  • 6. ส้มเกลี้ยง ชื่อสามัญ ส้มเกลี้ยง, ส้มเช้ง ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus sinensis ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ส้มเกลี้ยง เป็นไม้ผลขนาดกลาง ต้นสูงประมาณ 5-7 เมตร ทรงพุ่มค่อนข้างทึบ กิ่งก้านแข็งแรง มีหนาม ขนาดใหญ่ หลังจากปลูกแล้ว 3 ปี จะเริ่มให้ผลผลิต ตั้งแต่เริ่มออกดอกจนถึงดอกบานใช้เวลาประมาณ 20 วัน นับจากดอกบานจนถึง ผลแก่ใช้เวลาประมาณ 7.5-8 เดือน สรรพคุณ รับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซีอยู่มาก ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
  • 7. เลมอน ชื่อสามัญ เลมอน ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus limon ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้พุ่ม มีหนามเฉพาะปลายยอด ใบเดี่ยว เมื่อขยี้ใบจะได้กลิ่นหอมแรง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูป กลมรี ปลายผลมีติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง เนื้อในฉ่าน้า มีหลายเมล็ด สรรพคุณ ผลส่วนใหญ่จะใช้สาหรับนามาทาเป็นน้าเลมอน ถึงแม้ว่าบางครั้งจะมีการใช้กากและเปลือกในการทาอาหารหรือของหวาน เลมอนมีส่วนประกอบของ กรดซิตริกประมาณ 5% ซึ่งทาให้เลมอนมีรสชาติที่เปรี้ยว และมีค่า pH ประมาณ 2 ถึง 3 ด้วยความเป็น กรดนี้เลมอนในบางประเทศจะถูกใช้นาเป็นวัตถุในการทดสอบทางวิทยาศาสตร ์ทดแทนสารที่เป็นกรดอื่นที่ราคาสูงกว่า ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศิริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
  • 8. เกรปฟรุต ชื่อสามัญ เกรปฟรุต ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus paradis ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ไม้ไม่ผลัดใบสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาวประมาณ 15 เซนติเมตร และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สรรพคุณ ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ นอกจากนั้นพบว่าเมื่อใช้เกรปฟรุตควบคู่ไป กับการใช้ยารักษามะเร็ง สามารถช่วยลดตัวยาบางชนิดได้ จึงช่วยทาให้ผู้ป่วยมะเร็งประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้รับผิดชอบ ณัฐวีร ์อรุณเรืองศริเลิศ ม 6 / 144 เลขที่ 29
  • 9. มะนาว ชื่อสามัญ Mexica lime, West Indian lime, Key lime, หรือ lime ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus aurantifolia ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 – 4.5 เซนติเมตร ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย สูงเต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีใบดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ดอกสีขาวอมเหลือง สรรพคุณ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ บรรเทาอาการปวดศีรษะ ช่วยแก้อาเจียน บารุงเลือด รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน ช่วยรักษาท้องอืด ท้องเฟ้ อ แก้อาการท้องร่วง ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
  • 10. มะนาวเปอร ์เซีย ชื่อสามัญ seedless lime, Bearss lime, and Tahiti lime ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus latifolia ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ต้นแทบจะไม่มีหนาม ผลมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6cm ตรงปลายผลมีลักษณะเป็นจุก นอกจากนี้ ผลยังมีขนาดใหญ่กว่ามะนาวทั่วไปและไม่มีเมล็ดอีกด้วย สรรพคุณ สรรพคุณคล้ายกับมะนาวทั่วไปคือ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ บรรเทาอาการปวดศีรษะ ช่วยแก้อาเจียน ช่วยรักษา สมดุลโรคความดันโลหิต ช่วยในการเจริญอาหาร เป็นยาระบายอ่อนๆ ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
  • 11. ส้มโอ ชื่อสามัญ Pomelo ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus maxima ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ สูงประมาณ 8 เมตร ใบเป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยวมี เกสร 20-25 อัน ปลายกลีบมน มี 4 กลีบ สรรพคุณ ผลของส้มโอมีประโยชน์ในด้านการขับลมในกระเพราะอาหารและช่วยลดกรดไหลย้อนได้ ดอกช่วยลดอาการปวดกระเพาะอาหาร ปวดกระบังลม ขับลมในท้อง ขับเสมหะ เปลือกเอามาตาใช้พอกแผลที่เป็นหนอง เป็นฝีเพราะจะช่วยฆ่าเชื้อโรค ผู้รับผิดชอบ นาย ปุณยวีร ์พุ่มภิญโญ ม.6/144 เลขที่ 35
  • 12. ส้มจี๊ด ชื่อสามัญ Kumquats, Cumquats ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus japonica ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง แตกแขนงเป็นพุ่มแน่น ใบรูปไข่ สีเขียวสดเป็นมัน มีหูใบขนาดเล็ก ดอกออกดอก เดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่ม มีสีขาว ติดผลดก ผลกลมเหมือนส้มทั่วไป แต่มีขนาดเล็ก เป็นส้มชนิดที่กินเปลือก ผลขนาดเล็ก มีทั้ง กลมและรี เปลือกสีเหลือง เหลืองอมเขียว หรือเหลืองทอง ผลดก ผิวที่หนา มีรสเปรี้ยว อมหวานเฝื่อนนิดๆ สรรพคุณ เปลือกส้มมีสรรพคุณช่วยขับลม ช่วยย่อย ทาให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ดองเกลือและทาให้แห้ง อมแก้เจ็บคอ แต่งรส เปรี้ยวในการทาน้าผลไม้ ใช้ทาแยมน้าของผลส้มจี๊ดจะอุดมไปด้วยวิตามินเอ ซี และกรดอินทรีย์หลายชนิด ให้นาน้าที่คั้นได้มาผสมกับ เกลือเล็กน้อยจะช่วยบรรเทาอาการไอและมีเสมหะได้ ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
  • 13. ส้มแมนดาริน ชื่อสามัญ Common Mandarin ชื่อวิทยาศาสตร ์Citrus reticulata ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์มีผลโตกว่าส้มเขียวหวาน เปลือกค่อนข้างหนากว่า เปลือกขรุขระ เปลือกอ่อนเปราะแกะได้ง่าย ไส้ผล กลวง กลีบแยกออกจากกันได้ง่าย สีผลและสีเนื้อเป็นสีส้มเข้ม สรรพคุณ ทาให้ชุ่มคอ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้กระหายน้า แก้ฤทธิ์เหล้า ขับปัสสาวะ อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิด ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
  • 14. ละมุดขาว ชื่อสามัญ ละมุดขาว ชื่อวิทยาศาสตร ์Casimiroa edulis ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เป็นพุ่มทึบ กิ่งก้าน แตกออกรอบลาต้นเป็นชั้น ๆ ใบเดี่ยว ท้องใบมีสีน้าตาลอม เขียว มักออกเป็นกระจุก ตามปลายกิ่ง ดอกเดี่ยว ออกตามง่ามกิ่ง กลีบรองดอกเรียงกัน เป็น 2 ชั้น กลีบดอกเชื่อมกันและยกตั้งขึ้น มี 6 กลีบ มีสีเหลืองนวล ผลรูปไข่ หรือรูปปลายข้างหนึ่งแหลมเล็กน้อย มีสีน้าตาล ผลยังไม่สุกมียางสีขาว รสฝาด แข็ง เมื่อสุกจะนิ่ม หวาน ไม่มียาง สรรพคุณ ผลสุกรับประทานได้ รสชาติคล้ายท้อหรือสาลี่ เมล็ดเมื่อเผาแล้วเป็นผงใช้เป็นยานอนหลับ ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ ผู้รับผิดชอบ นายศุภศิษฎิ์จงมั่นกันตวัฒน์ ม.6/144 เลขที่ 38
  • 15. มะตูม ชื่อสามัญ : Bael, Bengal Quince ชื่อวิทยาศาสตร ์: Aegle marmelos ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์: - มะตูมเป็นยืนไม้ต้น เนื้อแข็ง และผลัดใบ สูงประมาณ 15-25 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 25-50 เซนติเมตร มีหนามแหลมตามกิ่งย่อย - ใบมะตูมเป็นใบประกอบ มีก้านใบยาว 3-5 ซม.ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปไข่ ใบ ย่อยตรงกลางมีขนาดใหญ่สุด - ดอกมะตูมเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีทั้งดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้ในดอกเดียวกัน - ผลมะตูมมีลักษณะเป็นผลกลมรี มีเปลือกมีลักษณะเรียบ เป็นมัน เปลือกหนา และแข็งมาก สรรพคุณ : ใช้รักษาอาการท้องผูกเรื้อรังได้ ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
  • 16. ส้มโอมือ ชื่อสามัญ: Buddha’s hand, Fingered citron ชื่อวิทยาศาสตร ์: Citrus medica L. var. Sarcodactylis ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์: - ลาต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีทรงพุ่มขนาดเล็ก เป็นเนื้อไม้แข็งและเหนียว ลาต้นมีกิ่งมีหนามแหลมคม หนามแข็งยาว เล็กน้อย อยู่ทั่วๆไป เปลือกมีผิวเรียบ มีสีน้าตาล - ใบ เป็นใบเลี้ยงเดี่ยว ออกเรียงสลับ มีลักษณะทรงไข่ โคนใบมนปลายใบมน ใบมีสีเขียวแก่ พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง ขอบใบจักฟัน เลื่อย เป็นมันค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมมาก เพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ใบด้านบนมีสีเข้ม ใต้ใบมีสีอ่อนกว่า ก้านใบสั้น - ดอก ออกเป็นช่อ หรือออกเดี่ยว จะมีดอกออกเป็นกระจุก กลีบดอกด้านในมีสีขาว กลีบดอกด้านนอกมีสีม่วง มีเกสรสี เหลือง และมีกลิ่นหอม ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง - ผล มีลักษณะรูปทรงรี ปลายผลแยกออกเป็นแฉกคล้ายนิ้วมือ หรือหนวดปลาหมึก มีขนาดใหญ่ โคนผลเรียว ผิวเปลือก นอกขรุขระเป็นมัน ขั้วหัวของผลเป็นจุก สรรพคุณ: ผลสามารถแก้ไขอาการอาเจียน ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34
  • 17. ส้มจุก ชื่อสามัญ: Neck Orange ชื่อวิทยาศาสตร ์: Citrus nobilis ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์: - ไม้ยืนต้น สูงระหว่าง 5-7 เมตร - บริเวณขั้วที่ติดกับก้านผลจะมีจุกมองเห็นอย่างชัดเจน - ผลดิบสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลืองปนเขียวหรือเป็นสีเหลืองทอง เนื้อในรสหวานหอมเป็นเอกลักษณ์ - เนื้อไม่ขม มีเมล็ด ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ทุกปี สรรพคุณ: ส้มจุกมีความหวานไม่มากเหมาะมากสาหรับผู้ที่กาลังลดความอ้วนอยู่หรือผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานสามารถรับประทานได้ ไม่ต้องกลัวเรื่องปริมาณน้าตาลจากความหวานจะมากจนเกินไป ผู้รับผิดชอบ ประกฤษฏิ์ธีรพิศุทธิ์ชั้น ม.6/144 เลขที่ 34