SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
z
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชใน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา(ว30246) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ห้อง144
นาเสนอพืช วงศ์RUTACEAEจานวน9ชนิด
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
z
เสนอ
นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
zz
สมาชิก
1.น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์ เลขที่5
2.น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล เลขที่15
3.น..ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร เลขที่17
z
คานา
สืบเนื่องมาจากภาคเรียนที่ผ่านมา คณะผู้จัดทา ได้มีโอกาสทาการทดลองเรื่องปริมาณความเข้มข้นของ
ฮอร์โมนที่เหมาะสมที่สามารถส่งผลดีแก่พืชได้มากที่สุด หลังจากที่ได้ทาการศึกษาไปแล้ว ทางผู้จัดทาจึงจัดทา
powerpointนี้ขึ้น เพื่อให้เป็นที่เข้าถึงง่ายสาหรับผู้ต้องการศึกษาเพิ่มเติมถึงลักษณะและข้อมูลเบื้องต้นของพืชที่ได้ถูกใช้
ในการทดลองในภาคการศึกษาที่ผ่านมา
ภายในpowerpoint ผู้ที่ต้องการศึกษาจะได้พบกับข้อมูลของพืชวงศ์RUTACEAE ซึ่งเป็นพืชวงศ์ของแก้ว
พืชที่ทางผู้จัดได้ใช้ในการทดลองที่กล่าวในย่อด้านบน โดยมีข้อมูลเกี่ยวกับพืชวงศ์นี้ถึง9ชนิด เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ความรู้
เกี่ยวกับพืชในวงศ์เดียวกันกับแก้ว หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จักทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
zz
สารบัญพันธุ์พืชที่จะเสนอ
1.เลมอน 6.ส้มโอ
2.เกรปฟรุต 7.มะตูม
3.มะกรูด 8.ส้มเขียวหวาน
4.ส้ม 9.กระแจะ
5.มะนาว
zz
เลมอน(Lemon)
ชื่อสามัญ เลมอน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus limon (L.) Osbeck
จัดอยู่ในวงศ์RUTACEAE
เลมอนเป็นผลไม้ที่จัดอยู่ในตระกูลส้ม มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ปลายยอดมีหนามแหลม ลักษณะของ
ใบเป็นใบเดี่ยว เมื่อนามาขยี้จะมีกลิ่นหอมแรง ส่วนลักษณะของดอกเลมอน ดอกมีกลิ่นหอม และ
มีสีขาว ส่วนลักษณะของผลเลมอน เป็นรูปกลมรี ที่ปลายผลจะมีติ่งแหลม ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อ
สุกจะเป็นสีเหลือง ในผลมีเมล็ดหลายเมล็ด เนื้อผลฉ่าน้าและมีรสเปรี้ยว
z
ประโยชน์ของเลม่อน
 ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ต่อต้านมะเร็งอยู่หลายชนิด
 ช่วยป้องกันและรักษาโรคเลือดออกตามไรฟันได้
 ช่วยทาความสะอาดลาไส้กาจัดของเสียที่ตกค้างอยู่ในลาไส้
 ช่วยขับลมในลาไส้(เปลือก)
 ช่วยรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง (เปลือก)
 ช่วยลดขนาดและละลายก้อนนิ้วในถุงน้าดีและไตให้ขับออกมาท
 รับผิดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
zz
เกรปฟรุต(Grapefruit)
 ชื่อสามัญ เกรปฟรุต
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus x paradise
 วงศ์ Rutaceae
 เป็นไม้ผลยืนต้น สูงโดยเฉลี่ยประมาณ 5-6 เมตร และสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร
ลักษณะของใบเกรปฟรุตเป็นใบสีเขียวเข้ม รูปร่างยาวและเรียว ส่วนดอกเป็นสีขาว มี
4 กลีบ ลักษณะของผลเกรปฟรุต ภายนอกผลเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ๆ เส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 10-15 เซนติเมตร เนื้อด้านในแบ่งเป็นกลีบออกสีเหลือง
z
ประโยชน์ของเกรปฟรุต
 ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับและส่งเสริมการนอนหลับให้ดีขึ้นได้
 ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย อีกทั้งยังช่วยบรรเทาอาการอ่อนล้าและเมื่อยล้าได้ด้วย
 ช่วยทาให้ไข้หวัดหายเร็วมากยิ่งขึ้น
 มีส่วนช่วยป้องกันและรักษาโรคไข้หวัดใหญ่และมาลาเรีย
 ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันหวัด
 ช่วยในการย่อยอาหาร แก้ท้องอืด ป้องกันอาการท้องผูก
 ช่วยป้องกันการเกิดโรคข้ออักเสบ
 ช่วยบารุงผิวพรรณ กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน ช่วยทาให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส
 รับผิดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
z
มะกรูด
 ชื่อสามัญ Kaffir lime, Leech lime, Mauritius papeda
 ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus hystrix DC.
 ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ มะขู, มะขุน มะขูด), ส้มกรูด ส้มมั่วผี เป็นต้น
 จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE
 เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบ
เดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มี
กลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบ
ดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อน
สีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
z ประโยชน์ของมะกรูด
 มะกรูดมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรงและต้านทานโรค
 น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด ทาให้จิตใจสงบนิ่ง ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ
 ใช้สระผมเพื่อทาความสะอาด ทาให้ผมดกเงางาม ป้องกันผมหงอก แก้ปัญหาผมร่วง เนื่องจากน้ามะกรูดมีน้ามัน
หอมระเหยอยู่มาก
 มีกลิ่นฉุน สามารถนาไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้เช่น มอดและมดในข้าวสาร
 รับผิดดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
z
ส้ม(Orange)
 ชื่อสามัญ ส้ม
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus × sinensis
 วงศ์ Rutaceae
 ส้ม เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มี
ด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ามันหอมระเหยในใบ ดอก และผล
และมีกลิ่นฉุน หากนาใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่ง
น้ามันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม
วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จาพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคา ส้ม ออก เช่น
ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด
z
ประโยชน์ของส้ม
ชะลอริ้วรอยโดยสาหรับส้มนั้นจะมีคอลลาเจน โดยเป็นสิ่งที่เมื่ออายุเพิ่มมากยิ่งขึ้นร่างกายคนเราจะไม่สามารถผลิตได้ดังนั้น
การกินส้มจึงเหมือนเป็นการเพิ่มคอลลาเจนภายในร่างกาย
บารุงสายตาส้มถือเป็นอาหารชั้นยอดที่จะช่วยในเรื่องของการบารุงสายตา โดยสาหรับผู้ที่ทางานอยู่กับหน้าจออยู่ตลอดทั้งวัน
แนะนาว่าควรที่จะต้องมีการ กินส้มวันละ 1 ครั้ง หรือ 1 ผล
ต้านอนุมูลอิสระภายในส้มนั้น จะมีเบต้าแคโรทีนที่มีสรรพคุณสาคัญในเรื่องของการต่อต้านอนุมูลอิสระ เพราะเนื่องจากว่า
อนุมูลอิสระนั้นจะทาลายเซลล์ผิวหนังทาให้เซลล์ผิวหนังเหี่ยวย่น และทาให้เกิดริ้วรอยบนใบหน้า
ยากันยุงเปลือกส้มก็ถือว่ามีประโยชน์โดยจะเป็นการนาเปลือกส้มนั้นมาจุดไฟ โดยภายในเปลือกส้มมันก็จะมีน้ามันหอม
ระเหยที่จะช่วยในเรื่องของการไล่ยุง
รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
z
มะนาว
 ชื่อสามัญ Lime
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia
 วงศ์ Rutaceae
ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 – 4.5 เซนติเมตร ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง
เต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีใบดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ส่วนดอกสีขาวอม
เหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอดทั้งปี แต่ในช่วงหน้าแล้ง จะออกผลน้อย และมีน้าน้อย
มะนาวเป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผู้คนในภูมิภาคนี้รู้จักและใช้ประโยชน์จากมะนาว
มาช้านาน น้ามะนาวนอกจากใช้ปรุงรสเปรี้ยวในอาหารหลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม ผสม
เกลือ และน้าตาล เป็นน้ามะนาว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศทั่วโลก นอกจากนี้
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางชนิดยังนิยมฝานมะนาวเป็นชิ้นบางๆ เสียบไว้กับขอบแก้ว เพื่อใช้แต่งรส
z
ประโยชน์ของมะนาว
 มะนาวจึงมีประโยชน์สาหรับใช้เป็นส่วนผสมน้ายาทาความสะอาด เครื่องหอม และการบาบัดด้วย
กลิ่น (aromatherapy) หรือน้ายาล้างจาน ส่วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่งได้ทราบเมื่อไม่ช้านานมานี้
(ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19) ก็คือ การป้องกันและรักษาโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเคยเป็นปัญหาของนัก
เดินเรือมาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วยป้องกันโรคลักปิดลักเปิด
เพราะในมะนาวมีไวตามินซีเป็นปริมาณมาก
 รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
z
ส้มโอ
 ชื่อสามัญ Pomelo
 ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus maxima
 ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ : โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ) มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู
(กะเหรี่ยง มลายู)
 จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE
 ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ สูงประมาณ 8 เมตร ใบ
เป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ แผ่นใบเหมือน มะกรูด คือแบ่งใบเป็น 2 ตอน แต่
ขนาดใบใหญ่กว่า ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยว ตามบริเวณง่ามใบ มีสีขาว
ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมี เกสร 20-25 อัน ผลกลมโต บางพันธุ์ตรงขั้วมีจุกสูงขึ้นมา ผิวผลเมื่อยังอ่อนมี
สีเขียว เมื่อแก่จัดเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง ผิวของผลไม่เรียบ ผิวของเปลือกผลมีต่อมน้ามันกระจายทั่วไป มีรส
หวานหรือหวานอมเปรี้ยว ผลส้มโอมีเปลือกหนาทาให้สามารถเก็บรักษาได้นาน มีวิตามินซีมาก
z
ประโยชน์ของส้มโอ
 นิยมรับประทานส้มโอเป็นผลไม้สด หรือนาไปประกอบอาหาร เช่น ยา
เมี่ยง ส้มตา ข้าวยา หรือทาของหวานเช่นแยมส้มโอ เปลือกนอกสีขาวนาไปทาเปลือก
ส้มโอแช่อิ่ม ส้มโอสามรส ในเวียดนามนาไปทาเต้าส่วนเปลือกส้มโอในฟิลิปปินส์นิยม
นาเนื้อไปจิ้มเกลือ และทาน้าผลไม้
 รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
z
มะตูม
 ชื่อสามัญ Bale fruit
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Aegle marmelos (L.) Correa
 ชื่อพ้อง Belou marmelos (L.) Lyons, Bilacus marmelos (L.) Kuntze, Crateva marmelos L., Feronia
pellucida Roth
 ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : มะปิน (ภาคเหนือ) กะทันตาเถร ตุ่มตัง ตูม (ปัตตานี) มะปีส่า (แม่ฮ่องสอน) พะโนงค์)
 จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE
 มะตูม เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-15 m เรือนยอดรูปไข่ เปลือกสีเทาเรียบ แตกเป็นร่องตื้นๆตามยาว เนื้อไม้แข็ง สีขาวแกม
เหลือง กลิ่นหอม โคนต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลม ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามกิ่ง ใบ เป็นใบประกอบ ใบย่อย 3 ใบ ใบ
รูปไข่ กว้าง 1-7 cm ยาว 4-13 cm ปลายใบสอบ โคนแหลม ขอบเรียบหรือมีหยักมนๆ แผ่นใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน
ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง สีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ขนาด 1.5-2 cm มี 5 กลีบ กลีบดอกขนาด
6-8 mm ผลรูปรีกลมหรือรียาว ขนาดกว้าง 8-10 cm ยาวประมาณ 12-18 cm ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา ผลอ่อนมี
สีเขียวพอสุกมีสีเหลือง เนื้อมีสีเหลือง นิ่ม มีกลิ่นหอม เมล็ดสีน้าตาลอ่อน มียางใสเหนียวหุ้มอยู่ เมล็ดรูปรีและแบน
พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และป่าแล้งทั่วไป ที่สูงจากระดับน้าทะเล 50-700 m
z
ประโยชน์ของมะตูม
 ผล ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย บิดเรื้อรัง โรคกระเพาะ ช่วยย่อย แก้เจ็บคอ ร้อนใน ขับ
เสมหะ ขับลม
 เปลือก ราก และลาต้น รักษาไข้มาลาเรีย ขับลมในลาไส้
 ยอดอ่อนใบอ่อน นามาทานสดเป็นผักได้
 ยาง ใช้ติดกระดาษแทนกาว
 รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
z
ส้มเขียวหวาน
 ชื่อสามัญ Tangerine
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus reticulata Family
 ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : ส้มเขียวหวาน ส้มแก้วเกลี้ยง ส้มจันทบูร ส้มแป้นกระดาน ส้มแสงทอง ส้มแป้นเกลี้ยง ส้มจุก
 จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE
 ส้มเขียวหวานเป็นไม้ต้น ขนาดเล็กหรือขนาดกลาง สูง 8 m แตกกิ่งก้านสาขามาก บางต้นมีหนาม กิ่งที่แตกแขนงชูตั้งขึ้น
เรือนยอดกลม ใบเดี่ยว โคนใบมีปีกเล็กน้อยหรือไม่มี มีต่อมน้ามันตามแผ่นใบ ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม สีเขียวเป็นมัน
ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มตามง่ามใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เล็ก หอม ผลทรงกลม
แป้นเล็กน้อย ปลายผลราบเป็นแอ่งตื้น ฐานผลมน ผิวเรียบ มีต่อมน้ามันเป็นตุ่มตามผิวทั่วไป เมื่อแก่จัด สีเขียวอมเหลือง
ผนังกลีบบาง ฉ่าน้า เนื้อสีส้ม การขยายพันธุ์ ตอนกิ่ง ทาบกิ่ง แหล่งปลูกที่ ปทุมธานี นครนายก สระบุรี เจริญเติบโตได้ดี
ในสภาพดินที่มีความอุดมสมบรูณ์พอสมควร
z
ประโยชน์ของส้มเขียวหวาน
 มีวิตามินเอและซีสูง ซึ่งป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน เสริมสร้างคอลลาเจนทาให้
แผลหายเร็วขึ้น
 เป็นยาระบายอ่อนๆ ในเปลือกมีน้ามันหอมระเหย ช่วยแก้วิงเวียนศีรษะ
 ช่วยบารุงผิวพรรณ ทาให้สดชื่น ขจัดความหมองคล้า ชะลอการเกิดริ้วรอย
 รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
z
กระแจะ
 ชื่อสามัญ Thanaka
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Hesperethusa crenulata (Roxb.) Roem.
 ชื่อพ้อง Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson., Limonia crenulata (Roxb.)
 ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : พญายา(กลาง ราชบุรี) ขะแจะ (เหนือ) ตุมตัง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ตะนาว (มอญ) พุดไทร ชะแจะ กระแจะ
จัน พินิยา ฮางแกง
 จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE
 กระแจะ เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น เนื้อไม้สีขาว เปลือกสีน้าตาล ขรุขระ ลาต้นและกิ่งมีหนาม สูง 8-15 m ลาต้นตรง แตกกิ่งต่า ตั้งฉาก
กับลาต้น กิ่งอ่อนและยอดอ่อนเกลี้ยง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย 4-13 ใบ รูปวงรีแกมไข่กลับ กว้าง 1.5-3
cm ยาว 2-7 cm ก้านใบแผ่เป็นปีก เป็นครีบออกสองข้าง เป็นช่วงๆ ระหว่างคู่ใบย่อย โคนและปลายใบสอบแคบ เนื้อใบบาง
คล้ายกระดาษถึงหนาคล้ายแผ่นหนัง เนียน เกลี้ยง เมื่อส่องดูจะเห็นต่อมน้ามันเป็นจุดใสๆกระจายอยู่ทั่วไป ขอบใบหยัก เป็นซี่ฟัน
เลื่อยตื้นๆ ไม่มีก้านใบย่อย ดอกออกเป็นช่อแบบช่อกระจะ รวมกันเป็นกระจุกตามกิ่งเล็กๆหรือตามซอกใบ ดอกสีขาวหรือสีขาว
อมเหลือง กลีบดอกมี 4 กลีบ เมื่อบานจะแผ่ออกหรือลู่ไปทางก้านเล็กน้อย กลีบดอกรูปไข่แกมรูปรี กว้างประมาณ 3 mm ยาว
7 mm กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปคล้ายสามเหลี่ยม กว้าง และยาวประมาณ 1.5 mm ปลายแหลม ผิวด้านนอกมีขนละเอียด และมี
ต่อมน้ามัน ด้านในเกลี้ยง ผลสดทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 cm เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดสีม่วงคล้า เมล็ดรูปเกือบกลม
กว้างประมาณ 5 mm สีน้าตาลอมส้มอ่อน พบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง
z
ประโยชน์ของกระแจะ
 เนื้อไม้เมื่อตัดมาใหม่ๆ จะมีสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ถ้าทิ้งไว้นานๆจะ
เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลปนเหลืองอ่อน ชาวพม่านิยมนามาทาเครื่องประทินผิวเรียกว่า
“กระแจะตะนาว” หรือ “Thanatka”
รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
z
บรรณานุกรม
 http://www.the-than.com/samonpai/sa_16.html
 https://medthai.com/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3
%E0%B8%9B%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%
B8%95/
z
กิตติกรรมประกาศ
รายงานค้นคว้านี้ได้เสร็จสมบูรณ์ด้วยดีเพราะได้รับคาช่วยเหลือแนะนาเป็นอย่าง
ดีจากอาจารย์ผู้สอน ขอขอบคุณอาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้สอน
รายวิชาชีววิทยาที่ช่วยแนะนาแนวทางการทางาน องค์ประกอบของรายงานและ
ชี้นาแหล่งข้อมูลในการสืบค้นข้อมูลอีกทั้งยังแนะนาตัวอย่างการทางานที่ถูกต้อง
คณะผู้จัดทารายงานการสืบค้นในครั้งนี้ขอแสดงความขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ
ที่นี้
คณะผู้จัดทา
z
z
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 

Similar to Plant ser 144_60_7

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...bmmg1
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Similar to Plant ser 144_60_7 (20)

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
New species
New speciesNew species
New species
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 144_60_7

  • 1. z งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชใน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา(ว30246) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ห้อง144 นาเสนอพืช วงศ์RUTACEAEจานวน9ชนิด ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 2. z เสนอ นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 3. zz สมาชิก 1.น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์ เลขที่5 2.น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล เลขที่15 3.น..ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร เลขที่17
  • 4. z คานา สืบเนื่องมาจากภาคเรียนที่ผ่านมา คณะผู้จัดทา ได้มีโอกาสทาการทดลองเรื่องปริมาณความเข้มข้นของ ฮอร์โมนที่เหมาะสมที่สามารถส่งผลดีแก่พืชได้มากที่สุด หลังจากที่ได้ทาการศึกษาไปแล้ว ทางผู้จัดทาจึงจัดทา powerpointนี้ขึ้น เพื่อให้เป็นที่เข้าถึงง่ายสาหรับผู้ต้องการศึกษาเพิ่มเติมถึงลักษณะและข้อมูลเบื้องต้นของพืชที่ได้ถูกใช้ ในการทดลองในภาคการศึกษาที่ผ่านมา ภายในpowerpoint ผู้ที่ต้องการศึกษาจะได้พบกับข้อมูลของพืชวงศ์RUTACEAE ซึ่งเป็นพืชวงศ์ของแก้ว พืชที่ทางผู้จัดได้ใช้ในการทดลองที่กล่าวในย่อด้านบน โดยมีข้อมูลเกี่ยวกับพืชวงศ์นี้ถึง9ชนิด เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ความรู้ เกี่ยวกับพืชในวงศ์เดียวกันกับแก้ว หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จักทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 6. zz เลมอน(Lemon) ชื่อสามัญ เลมอน ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus limon (L.) Osbeck จัดอยู่ในวงศ์RUTACEAE เลมอนเป็นผลไม้ที่จัดอยู่ในตระกูลส้ม มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ปลายยอดมีหนามแหลม ลักษณะของ ใบเป็นใบเดี่ยว เมื่อนามาขยี้จะมีกลิ่นหอมแรง ส่วนลักษณะของดอกเลมอน ดอกมีกลิ่นหอม และ มีสีขาว ส่วนลักษณะของผลเลมอน เป็นรูปกลมรี ที่ปลายผลจะมีติ่งแหลม ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อ สุกจะเป็นสีเหลือง ในผลมีเมล็ดหลายเมล็ด เนื้อผลฉ่าน้าและมีรสเปรี้ยว
  • 7. z ประโยชน์ของเลม่อน  ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ต่อต้านมะเร็งอยู่หลายชนิด  ช่วยป้องกันและรักษาโรคเลือดออกตามไรฟันได้  ช่วยทาความสะอาดลาไส้กาจัดของเสียที่ตกค้างอยู่ในลาไส้  ช่วยขับลมในลาไส้(เปลือก)  ช่วยรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง (เปลือก)  ช่วยลดขนาดและละลายก้อนนิ้วในถุงน้าดีและไตให้ขับออกมาท  รับผิดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
  • 8. zz เกรปฟรุต(Grapefruit)  ชื่อสามัญ เกรปฟรุต  ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus x paradise  วงศ์ Rutaceae  เป็นไม้ผลยืนต้น สูงโดยเฉลี่ยประมาณ 5-6 เมตร และสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ลักษณะของใบเกรปฟรุตเป็นใบสีเขียวเข้ม รูปร่างยาวและเรียว ส่วนดอกเป็นสีขาว มี 4 กลีบ ลักษณะของผลเกรปฟรุต ภายนอกผลเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ๆ เส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 10-15 เซนติเมตร เนื้อด้านในแบ่งเป็นกลีบออกสีเหลือง
  • 9. z ประโยชน์ของเกรปฟรุต  ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับและส่งเสริมการนอนหลับให้ดีขึ้นได้  ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย อีกทั้งยังช่วยบรรเทาอาการอ่อนล้าและเมื่อยล้าได้ด้วย  ช่วยทาให้ไข้หวัดหายเร็วมากยิ่งขึ้น  มีส่วนช่วยป้องกันและรักษาโรคไข้หวัดใหญ่และมาลาเรีย  ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันหวัด  ช่วยในการย่อยอาหาร แก้ท้องอืด ป้องกันอาการท้องผูก  ช่วยป้องกันการเกิดโรคข้ออักเสบ  ช่วยบารุงผิวพรรณ กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน ช่วยทาให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส  รับผิดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
  • 10. z มะกรูด  ชื่อสามัญ Kaffir lime, Leech lime, Mauritius papeda  ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus hystrix DC.  ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ มะขู, มะขุน มะขูด), ส้มกรูด ส้มมั่วผี เป็นต้น  จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE  เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบ เดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มี กลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบ ดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อน สีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
  • 11. z ประโยชน์ของมะกรูด  มะกรูดมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรงและต้านทานโรค  น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด ทาให้จิตใจสงบนิ่ง ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ  ใช้สระผมเพื่อทาความสะอาด ทาให้ผมดกเงางาม ป้องกันผมหงอก แก้ปัญหาผมร่วง เนื่องจากน้ามะกรูดมีน้ามัน หอมระเหยอยู่มาก  มีกลิ่นฉุน สามารถนาไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้เช่น มอดและมดในข้าวสาร  รับผิดดชอบโดย น.ส.พัทธนันท์ ลีลาธีระกุล
  • 12. z ส้ม(Orange)  ชื่อสามัญ ส้ม  ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus × sinensis  วงศ์ Rutaceae  ส้ม เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มี ด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ามันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนาใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่ง น้ามันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จาพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด
  • 13. z ประโยชน์ของส้ม ชะลอริ้วรอยโดยสาหรับส้มนั้นจะมีคอลลาเจน โดยเป็นสิ่งที่เมื่ออายุเพิ่มมากยิ่งขึ้นร่างกายคนเราจะไม่สามารถผลิตได้ดังนั้น การกินส้มจึงเหมือนเป็นการเพิ่มคอลลาเจนภายในร่างกาย บารุงสายตาส้มถือเป็นอาหารชั้นยอดที่จะช่วยในเรื่องของการบารุงสายตา โดยสาหรับผู้ที่ทางานอยู่กับหน้าจออยู่ตลอดทั้งวัน แนะนาว่าควรที่จะต้องมีการ กินส้มวันละ 1 ครั้ง หรือ 1 ผล ต้านอนุมูลอิสระภายในส้มนั้น จะมีเบต้าแคโรทีนที่มีสรรพคุณสาคัญในเรื่องของการต่อต้านอนุมูลอิสระ เพราะเนื่องจากว่า อนุมูลอิสระนั้นจะทาลายเซลล์ผิวหนังทาให้เซลล์ผิวหนังเหี่ยวย่น และทาให้เกิดริ้วรอยบนใบหน้า ยากันยุงเปลือกส้มก็ถือว่ามีประโยชน์โดยจะเป็นการนาเปลือกส้มนั้นมาจุดไฟ โดยภายในเปลือกส้มมันก็จะมีน้ามันหอม ระเหยที่จะช่วยในเรื่องของการไล่ยุง รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
  • 14. z มะนาว  ชื่อสามัญ Lime  ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia  วงศ์ Rutaceae ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 – 4.5 เซนติเมตร ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง เต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีใบดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ส่วนดอกสีขาวอม เหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอดทั้งปี แต่ในช่วงหน้าแล้ง จะออกผลน้อย และมีน้าน้อย มะนาวเป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผู้คนในภูมิภาคนี้รู้จักและใช้ประโยชน์จากมะนาว มาช้านาน น้ามะนาวนอกจากใช้ปรุงรสเปรี้ยวในอาหารหลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม ผสม เกลือ และน้าตาล เป็นน้ามะนาว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางชนิดยังนิยมฝานมะนาวเป็นชิ้นบางๆ เสียบไว้กับขอบแก้ว เพื่อใช้แต่งรส
  • 15. z ประโยชน์ของมะนาว  มะนาวจึงมีประโยชน์สาหรับใช้เป็นส่วนผสมน้ายาทาความสะอาด เครื่องหอม และการบาบัดด้วย กลิ่น (aromatherapy) หรือน้ายาล้างจาน ส่วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่งได้ทราบเมื่อไม่ช้านานมานี้ (ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19) ก็คือ การป้องกันและรักษาโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเคยเป็นปัญหาของนัก เดินเรือมาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วยป้องกันโรคลักปิดลักเปิด เพราะในมะนาวมีไวตามินซีเป็นปริมาณมาก  รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
  • 16. z ส้มโอ  ชื่อสามัญ Pomelo  ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus maxima  ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ : โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ) มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู (กะเหรี่ยง มลายู)  จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE  ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ สูงประมาณ 8 เมตร ใบ เป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ แผ่นใบเหมือน มะกรูด คือแบ่งใบเป็น 2 ตอน แต่ ขนาดใบใหญ่กว่า ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยว ตามบริเวณง่ามใบ มีสีขาว ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมี เกสร 20-25 อัน ผลกลมโต บางพันธุ์ตรงขั้วมีจุกสูงขึ้นมา ผิวผลเมื่อยังอ่อนมี สีเขียว เมื่อแก่จัดเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง ผิวของผลไม่เรียบ ผิวของเปลือกผลมีต่อมน้ามันกระจายทั่วไป มีรส หวานหรือหวานอมเปรี้ยว ผลส้มโอมีเปลือกหนาทาให้สามารถเก็บรักษาได้นาน มีวิตามินซีมาก
  • 17. z ประโยชน์ของส้มโอ  นิยมรับประทานส้มโอเป็นผลไม้สด หรือนาไปประกอบอาหาร เช่น ยา เมี่ยง ส้มตา ข้าวยา หรือทาของหวานเช่นแยมส้มโอ เปลือกนอกสีขาวนาไปทาเปลือก ส้มโอแช่อิ่ม ส้มโอสามรส ในเวียดนามนาไปทาเต้าส่วนเปลือกส้มโอในฟิลิปปินส์นิยม นาเนื้อไปจิ้มเกลือ และทาน้าผลไม้  รับผิดชอบโดย น.ส.ชลลดา แก้วประดิษฐ์
  • 18. z มะตูม  ชื่อสามัญ Bale fruit  ชื่อวิทยาศาสตร์ Aegle marmelos (L.) Correa  ชื่อพ้อง Belou marmelos (L.) Lyons, Bilacus marmelos (L.) Kuntze, Crateva marmelos L., Feronia pellucida Roth  ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : มะปิน (ภาคเหนือ) กะทันตาเถร ตุ่มตัง ตูม (ปัตตานี) มะปีส่า (แม่ฮ่องสอน) พะโนงค์)  จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE  มะตูม เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-15 m เรือนยอดรูปไข่ เปลือกสีเทาเรียบ แตกเป็นร่องตื้นๆตามยาว เนื้อไม้แข็ง สีขาวแกม เหลือง กลิ่นหอม โคนต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลม ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามกิ่ง ใบ เป็นใบประกอบ ใบย่อย 3 ใบ ใบ รูปไข่ กว้าง 1-7 cm ยาว 4-13 cm ปลายใบสอบ โคนแหลม ขอบเรียบหรือมีหยักมนๆ แผ่นใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง สีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ขนาด 1.5-2 cm มี 5 กลีบ กลีบดอกขนาด 6-8 mm ผลรูปรีกลมหรือรียาว ขนาดกว้าง 8-10 cm ยาวประมาณ 12-18 cm ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา ผลอ่อนมี สีเขียวพอสุกมีสีเหลือง เนื้อมีสีเหลือง นิ่ม มีกลิ่นหอม เมล็ดสีน้าตาลอ่อน มียางใสเหนียวหุ้มอยู่ เมล็ดรูปรีและแบน พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และป่าแล้งทั่วไป ที่สูงจากระดับน้าทะเล 50-700 m
  • 19. z ประโยชน์ของมะตูม  ผล ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย บิดเรื้อรัง โรคกระเพาะ ช่วยย่อย แก้เจ็บคอ ร้อนใน ขับ เสมหะ ขับลม  เปลือก ราก และลาต้น รักษาไข้มาลาเรีย ขับลมในลาไส้  ยอดอ่อนใบอ่อน นามาทานสดเป็นผักได้  ยาง ใช้ติดกระดาษแทนกาว  รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
  • 20. z ส้มเขียวหวาน  ชื่อสามัญ Tangerine  ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus reticulata Family  ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : ส้มเขียวหวาน ส้มแก้วเกลี้ยง ส้มจันทบูร ส้มแป้นกระดาน ส้มแสงทอง ส้มแป้นเกลี้ยง ส้มจุก  จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE  ส้มเขียวหวานเป็นไม้ต้น ขนาดเล็กหรือขนาดกลาง สูง 8 m แตกกิ่งก้านสาขามาก บางต้นมีหนาม กิ่งที่แตกแขนงชูตั้งขึ้น เรือนยอดกลม ใบเดี่ยว โคนใบมีปีกเล็กน้อยหรือไม่มี มีต่อมน้ามันตามแผ่นใบ ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม สีเขียวเป็นมัน ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มตามง่ามใบหรือปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เล็ก หอม ผลทรงกลม แป้นเล็กน้อย ปลายผลราบเป็นแอ่งตื้น ฐานผลมน ผิวเรียบ มีต่อมน้ามันเป็นตุ่มตามผิวทั่วไป เมื่อแก่จัด สีเขียวอมเหลือง ผนังกลีบบาง ฉ่าน้า เนื้อสีส้ม การขยายพันธุ์ ตอนกิ่ง ทาบกิ่ง แหล่งปลูกที่ ปทุมธานี นครนายก สระบุรี เจริญเติบโตได้ดี ในสภาพดินที่มีความอุดมสมบรูณ์พอสมควร
  • 21. z ประโยชน์ของส้มเขียวหวาน  มีวิตามินเอและซีสูง ซึ่งป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน เสริมสร้างคอลลาเจนทาให้ แผลหายเร็วขึ้น  เป็นยาระบายอ่อนๆ ในเปลือกมีน้ามันหอมระเหย ช่วยแก้วิงเวียนศีรษะ  ช่วยบารุงผิวพรรณ ทาให้สดชื่น ขจัดความหมองคล้า ชะลอการเกิดริ้วรอย  รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
  • 22. z กระแจะ  ชื่อสามัญ Thanaka  ชื่อวิทยาศาสตร์ Hesperethusa crenulata (Roxb.) Roem.  ชื่อพ้อง Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson., Limonia crenulata (Roxb.)  ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : พญายา(กลาง ราชบุรี) ขะแจะ (เหนือ) ตุมตัง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ตะนาว (มอญ) พุดไทร ชะแจะ กระแจะ จัน พินิยา ฮางแกง  จัดอยู่ในวงศ์ RUTACEAE  กระแจะ เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น เนื้อไม้สีขาว เปลือกสีน้าตาล ขรุขระ ลาต้นและกิ่งมีหนาม สูง 8-15 m ลาต้นตรง แตกกิ่งต่า ตั้งฉาก กับลาต้น กิ่งอ่อนและยอดอ่อนเกลี้ยง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย 4-13 ใบ รูปวงรีแกมไข่กลับ กว้าง 1.5-3 cm ยาว 2-7 cm ก้านใบแผ่เป็นปีก เป็นครีบออกสองข้าง เป็นช่วงๆ ระหว่างคู่ใบย่อย โคนและปลายใบสอบแคบ เนื้อใบบาง คล้ายกระดาษถึงหนาคล้ายแผ่นหนัง เนียน เกลี้ยง เมื่อส่องดูจะเห็นต่อมน้ามันเป็นจุดใสๆกระจายอยู่ทั่วไป ขอบใบหยัก เป็นซี่ฟัน เลื่อยตื้นๆ ไม่มีก้านใบย่อย ดอกออกเป็นช่อแบบช่อกระจะ รวมกันเป็นกระจุกตามกิ่งเล็กๆหรือตามซอกใบ ดอกสีขาวหรือสีขาว อมเหลือง กลีบดอกมี 4 กลีบ เมื่อบานจะแผ่ออกหรือลู่ไปทางก้านเล็กน้อย กลีบดอกรูปไข่แกมรูปรี กว้างประมาณ 3 mm ยาว 7 mm กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปคล้ายสามเหลี่ยม กว้าง และยาวประมาณ 1.5 mm ปลายแหลม ผิวด้านนอกมีขนละเอียด และมี ต่อมน้ามัน ด้านในเกลี้ยง ผลสดทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 cm เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดสีม่วงคล้า เมล็ดรูปเกือบกลม กว้างประมาณ 5 mm สีน้าตาลอมส้มอ่อน พบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง
  • 23. z ประโยชน์ของกระแจะ  เนื้อไม้เมื่อตัดมาใหม่ๆ จะมีสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ถ้าทิ้งไว้นานๆจะ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลปนเหลืองอ่อน ชาวพม่านิยมนามาทาเครื่องประทินผิวเรียกว่า “กระแจะตะนาว” หรือ “Thanatka” รับผิดชอบโดย น.ส.แพรพลอย พิทักษ์กุลธร
  • 25. z กิตติกรรมประกาศ รายงานค้นคว้านี้ได้เสร็จสมบูรณ์ด้วยดีเพราะได้รับคาช่วยเหลือแนะนาเป็นอย่าง ดีจากอาจารย์ผู้สอน ขอขอบคุณอาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้สอน รายวิชาชีววิทยาที่ช่วยแนะนาแนวทางการทางาน องค์ประกอบของรายงานและ ชี้นาแหล่งข้อมูลในการสืบค้นข้อมูลอีกทั้งยังแนะนาตัวอย่างการทางานที่ถูกต้อง คณะผู้จัดทารายงานการสืบค้นในครั้งนี้ขอแสดงความขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา