SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
การใช้ยาสมุนไพรในบัญชี
ยาหลักแห่งชาติ
(ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 50 รายการ)
ชาตรี เสนาจันทร์
สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์
คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร มหาวิทยาลัยบูรพา
คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร
มหาวิทยาลัยบูรพา
หลักเภสัช 4 1. เภสัชวัตถุ (ตัว
ยา)
2. สรรพคุณเภสัช
(สรรพคุณยา)3. คณาเภสัช (พิกัดยา)
4.เภสัชกรรมไทย
(การปรุงยา)
สรรพคุณเภสัช
ยารสประธาน
– รสร้อน
– รสเย็น
– รสสุขุม
รสของตัวยา
– รสยา 4 รส
– รสยา 6 รส
– รสยา 8 รส
รสยา 9 รส
• รสฝาด
• รสหวาน
• รสเมาเบื่อ
• รสขม
• รสเผ็ดร้อน
• รสมัน
• รสหอมเย็น
• รสเค็ม
• รสเปรี้ยว
คณาเภสัช
2.พิกัดยา 3.มหาพิกัด
1.จุลพิกัด
เภสัชกรรมไทย
วิธีปรุงยา
การเก็บตัวยา
การชั่งตัวยา
การใช้ยาอันตราย
ยาสามัญประจาบ้าน
สมุนไพร
สาธารณสุขมูลฐาน
บัญชียาหลักแห่งชาติ
น้ากระสายยา
หลักการใช้ยาแผนไทย
หรือยาแผนโบราณ
******หลักการวิเคราะห์โรค
ด้านการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย 5 วิธี
1.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐาน 3 (ตรีธาตุ)
1.1 ปิตตะสมุฏฐาน
1.2 วาตะสมุฏฐาน
1.3 เสมหะสมุฏฐาน
2.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐาน 4 ประกอบด้วย
1. ปถวีธาตุ
2. อาโปธาตุ
3. วาโยธาตุ
4. เตโชธาตุ
3.วิเคราะห์โรคตามพระคัมภีร์แพทย์ เช่นโลหิตปกติโทษ กษัย เป็นต้น
4.วิเคราะห์โรค เช่น จากสัญญาณ 5 (ทางหัตถเวชกรรม)
5.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐานเบญจอินทรีย์
คือ จักขุโรโค โสตโรโค ฆานโรโค ชิวหาโรโค
กายโรโค (พหิทธโรโค – อันตโรโค)
*****รสของยาสมุนไพรประกอบด้วย
5.1 ยารสประธาน
5.2 รสยา 9 รส
บัญชียาจากสมุนไพร
พ.ศ. 2554
(List of Herbal Medicinnal Products A.D 2011)
ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
50 รายการ
1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาหอมทิพโอสถ แก้ลมวิงเวียน รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายน้ากระสาย
ยา เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
2 ยาหอมเทพจิตร แก้อาการหน้ามืด ตาลาย
สวิงสวาย ใจสั่น
รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายน้าสุก
เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
3 ยาหอมนวโกฐ แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน
อาเจียน ภาวะอาเจียน
เบื่ออาหาร ท้องอืด
อ่อนเพลีย หลังฟื้นไข้
รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม
ละลายน้ากระสายยา
เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
1.1 ยารักษา
กลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาหอมแก้ลม
วิงเวียน
แก้ลมวิงเวียน
อ่อนเพลีย นอนไม่
หลับ
รับประทานเมื่อมีอาการครั้งละ 600
มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควร
เกินวันละ 3 ครั้ง
5 ยาหอมอินทจักร์ แก้คลื่นเหียน อาเจียน
แก้ลมจุกเสียด
รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน้า
กระสาย
เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน
วันละ 3 ครั้ง
อาการ ยาหอมเทพจิตร ยาทิพโอสถ ยาอินทจักร์ ยานวโกฐ ยาหอมแก้ลมวิงเวียน
เกสร 5 ,โกศ 9,
ผิวส้ม 8, เทียน 9,
บัว 3
เกสร 7, โกศ 9,
เทียน 9
เบญจกูล, ดีวัว
โกศ 7, เทียน 5
โกศ 9, เบญจกูล,
เทียน 9, เกสร 5
รากชะเอมเทศ, แก่นจันทน์,
ดอกกานพลูโกศต่างๆ
ลมจุกเสียด / /
ลมวิงเวียน / / /
ลมกองละเอียด /
หน้ามืด /
อ่อนเพลีย /
นอนไม่หลับ /
คลื่นไส้/เบื่ออาหาร / /
ใจสั่น (สวิงสวาย) /
อาเจียน
(ลมแน่น)
/ /
ลมบาดทะจิตร /
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาธาตุบรรจบ บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้ อ
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 กรัม
ละลายน้า วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมี
อาการ
2 ยาธาตุอบเชย ขับลม บรรเทาอาการ
ท้องอืด ท้องเฟ้ อ
รับประทานครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
3 ยาเบญจกูล บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้ อ
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาประสะกะเพรา บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้ อ จุกเสียด
เด็กอายุ 1-3 เดือน รับประทานครั้งละ
100-200 มก.
อายุ 4-6 เดือนครั้งละ 200-300 มก.
อายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 400-600 มก.
วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
5 ยาประสะกานพลู บรรเทาอาการปวดท้อง จุก
เสียด แน่นเฟ้ อจากอาหาร
ไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่
ปกติ
รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายน้ากระสาย
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
6 ยาประสะ
เจตพังคี
แก้กษัยจุกเสียด
ขับผายลม
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็นก่อนอาหาร
7 ยามันทธาตุ บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องฟ้ อ แก้ธาตุไม่ปกติ
ใช้รับประทาน ผู้ใหญ่ครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มิลลิกรัม
ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
8 ยามหาจักรใหญ่ แก้ลมซาง
บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้ อ
เด็กอายุ 1-5 ขวบ
รับประทานครั้งละ 500 มก.-15 กรัม
เด็กอายุ 6-12 เดือนครั้งละ 1.5 กรัม ละลายน้าสุก
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
9 ยาวิสัมพยาใหญ่ บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้ อ จุกเสียด
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก
หรือผสมน้าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน ทุก 4 ชั่วโมง
10 ยาอภัยสาลี บรรเทาอาการจุกเสียด
แน่น
รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
อาการ ประสะ
กะเพรา
ธาตุ
บรรจบ
ประสะ
กานพลู
ประสะ
เจตพังคี
มันทธาตุ มหา
จักรใหญ่
วิสัมพยา
ใหญ่
ยาธาตุ
อบเชย
เบญจกูล อภัยสาลี
กะเพรา เนื้อสมอ
ไทย โกฐ
ก้านพร้าว
กานพลู เจตพังคี, ข่า ขิง,
เบญกานี
กระพังโหม,
ยาดา
ดีปลี, ลูก
จันทน์,
ดอกจันทน์,
ผักชี
เปลือก
อบเชยเทศ,
เปลือก
สมุลแว้ง, ลูก
กระวาน,
ดอกกานพลู
ดอกดีปลี,
รากช้าพลู, เถา
สะค้าน, ราก
เจตมูลเพลิง
แดง, เหง้าขิง
แห้ง
หัสคุณเทศ,
พริกไทยล่อน,
เทียน และโกฐ
,เนื้อลูกสมอเทศ
,เนื้อลูกสมอไทย
ท้องอืด/ท้องเฟ้ อ / / / / / /ลมซาง / / / /
จุกเสียด / / / /
ขับลม / / / / / / / / / /
ธาตุไม่ปกติ /อุจจาระ
ธาตุ
/ /
อาหารไม่ย่อย /
ระบาย / /
กษัยจุกเสียด /
บาบัดโรคลม /
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ใช้บรรเทาอาการท้องผูก
ในผู้ที่ท้องผูกมาก หรือ
เรื้อรัง ที่ใช้ยาอื่นแล้วไม่
ได้ผล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป รับประทานเพิ่ม
เป็น 1.5 กรัม แต่ไม่เกิน 2.5 กรัม/วัน
(ตามธาตุหนักธาตุเบา)
2 ยาธรณีสันฑะฆาต แก้เถาดาน ท้องผูก ชนิดผง ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิด
แคปซูล รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
วันละ 1 ครั้ง
ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
อาการ ธรณีสันฑฆาต ยาถ่าย, ดีเกลือฝรั่ง
พริกไทยล่อน, ยาดา ดีเกลือฝรั่ง, ยาดา
แก้เถาดาน, ท้องผูก /
แก้ท้องผูก, ผูกมาก เรื้อรัง /
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาธาตุบรรจบ บรรเทาอาการอุจจาระ
ธาตุไม่ปกติ ท้องเสียชนิด
ไม่ติดเชื้อ ไม่มีไข้
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี
ครั้งละ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
2 ยาเหลืองปิดสมุทร บรรเทาอาการท้องเสีย
ชนิดที่ไม่ติดเชื้อ
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 200 มก.
อายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 300-400 มก.
อายุ 1-5 ขวบ ครั้งละ 500-700 มก.
อายุ 6-12 ปี ครั้งละ 800 มก.-1 กรัม
ละลายน้า ทุก 3-5 ชั่วโมง และเมื่อมีอาการ
อาการ ธาตุบรรจบ เหลืองปิดสมุทร
เนื้อลูกสมอไทย(รู้ถ่ายรู้
ปิด), โกฐก้านพร้าว,โกศสอ
, โกศเชียง เทียนต่างๆ,
ลูกผักชีลา
เหง้าขมิ้นชัน, เปลือกสีเสียด
ไทย/เทศ, เปลือกเพกา, ราก
กล้วยตีบ
อุจาระธาตุพิการ / /
ท้องเสียไม่ติดเชื้อ
(อุจจาระไม่เป็นมูก/มีเลือดปน)
/ /
ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ / /
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาผสม
เพชรสังฆาต
บรรเทาอาการ
ริดสีดวงทวารหนัก
รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ทันที
2 ยาริดสีดวง
มหากาฬ
บรรเทาอาการ
ริดสีดวงทวารหนัก
รับประทานครั้งละ 800 มก.-1 กรัม
วันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
อาการ ยาผสม
เพชรสังฆาต
ยาริดสีดวง
มหากาฬ
เพชรสังฆาต มดยอบคั่ว, ขอบชะ
นางทั้งสอง, โกศชนิด
ต่างๆ, เทียน 5
บรรเทาอาการ
ริดสีดวงทวารหนัก
/ /
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาประสะไพล ระดูมาไม่ปกติ มาน้อย
บรรเทาอาการปวดท้อง
ปวดประจาเดือน ขับ
น้าคาวปลา
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ละลายน้าสุก
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
2 ยาปลูกไฟธาตุ กระตุ้นน้านม
กระจายเลือดลมหลัง
คลอด
รับประทานครั้งละ 500 มก.-1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
3 ยาไฟประลัยกัลป์ ขับน้าคาวปลา ช่วยให้
มดลูกเข้าอู่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาไฟห้ากอง ขับน้าคาวปลา ช่วยให้
มดลูกเข้าอู่
รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
5 ยาเลือดงาม บรรเทาอาการปวด
ประจาเดือน
ช่วยให้ประจาเดือนปกติ
รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม
ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
6 ยาสตรีหลัง
คลอด
ขับน้าคาวปลา บารุงเลือด
ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วใน
หญิงหลังคลอด
รับประทานครั้งละ 500 มล.
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
หรือ ดื่มแทนน้า
อาการ ประสะ
ไพล
ไฟประลัย
กัลป์
ไฟห้ากอง ปลูกไฟธาตุ ยาเลือดงาม
(ร้อนสุขุม)
ยาสตรี
หลังคลอด
ไพล ผิวมะกรูด, การบูร,
ราก
เจตมูลเพลิงแดง,
สารส้มสะตุ, แก่น
แสมทะเล
รากเจมูลเพลิงแดง,
ฝักส้มป่ อย, เหง้าขิง,
พริกไทยล่อน,
สารส้มสะตุ
พริกไทยล่อน เหง้าขิง, ตะไคร้บ้าน,
เหง้ากระชาย, เหง้า
กะทือ, โกศ
จุฬาลัมพา, ลูกจันทน์
แก่นแกแล, แก่นขนุน,
ว่านชักมดลุก, ฝางเสน,
รากเจตมูลเพลิงแดง,
ดอกดีปลี, กาแพงเจ็ดชั้น
ระดูมาไม่สม่าเสมอ/มาน้อยกว่า
ปกติ
/ /
บรรเทาอาการปวดประจาเดือน / /
ขับน้าคาวปลาในหญิงหลังคลอด / / / /
ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ / / /
กระตุ้นน้านม /
กระจายเลือดลมในหญิงหลังคลอด /
บารุงเลือด / /
1.4 ยาแก้ไข้
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาเขียวหอม บรรเทาอาการไข้ ร้อนใน
กระหายน้า แก้พิษหัด พิษสุกใส
ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.
ละลายน้ากระสายยา ทุก 4-6 ชั่วโมง
เมื่อมีอาการ
2 ยาจันทน์ลีลา บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน
ไข้เปลี่ยนฤดู
ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
ทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
3 ยาประสะจันทน์แดง บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน
(ไข้พิษ)
แก้ร้อนในกระหายน้า
ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500
ละลายน้ากระสายยา ทุก 3-4 ชั่วโมง
1.4 ยาแก้ไข้
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาประสะเปราะใหญ่ ถอนพิษไข้ตานซางสาหรับเด็ก เด็กอายุ 1-5 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ทุก 3-4 ชั่วโมง
5 ยามหานิลแท่งทอง บรรเทาอาการไข้จาก ไข้กาฬ
หัด
และสุกใส แก้ร้อนในกระหาย
น้า
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม
ละลายน้าสุกวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
ก่อนอาหาร
6 ยาห้าราก บรรเทาอาการไข้ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม
ละลายน้าสุกวัน วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
อาการ จันทน์
ทลีลา
ประสะ
จันทน์แดง
เขียว
หอม
มหานิล
แท่งทอง
ประสะ
เปราะใหญ่
ห้า
ราก
บรรเทาอาการไข้
ตัวร้อน
/ /ไข้พิษ / /
แก้ร้อนใน
กระหายน้า
/ / /
พิษหัด, สุกใส / /
ไข้เปลี่ยนฤดู /
ถอนพิษไข้ตาน
ซางสาหรับเด็ก
/
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาแก้ไอผสม
กานพลู
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ อมครั้งละ 200-300 มก.
เมื่ออาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
2 ยาแก้ไอผสม
มะขามป้ อม
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
3 ยาแก้ไอผสม
มะนาวดอง
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 200-300 มก.
เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาแก้ไอ
พื้นบ้านอีสาน
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
5 ยาตรีผลา บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ชงน้าร้อน ประมาณ
120-200 มล. ทิ้งไว้ 3-5 นาที ดื่มในขณะยังอุ่น
6 ยาประสะมะแว้ง บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทา
ให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมะหะ
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 200-400 มก.
เมื่อมีอาการ ละลายน้ามะนาวแทรกเกลือ
7 ยาอามฤควาที บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก. ละลายน้ากระสาย
ยาเมื่อมีอาการ
อาการ อามฤควาที ประสะมะแว้ง
รากชะเอมเทศ มะแว้งต้น, มะแว้งเครือ
บรรเทาอาการไอ / /
มีเสมหะ /
ทาให้ชุ่มคอ /
ขับเสมหะ / /
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.2 ยาบรรเทาอาการหวัด
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาปราบ
ชมพูทวีป
บรรเทาอาการหวัด
ระยะแรก และอาการ
เนื่องจากการแพ้
อากาศ
รับประทานครั้งละ 750 มก.-1.5 กรัม
วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.6 ยาบารุงโลหิต
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาบารุง
โลหิต
บารุงโลหิต รับประทานครั้งละ 1กรัม
ละลายน้ากระสายยา
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
ก่อนอาหาร
อาการ ยาบารุงโลหิต
แก่นฝาง, ดอกคาไทย,
ครั่ง, เบญจกูล
บารุงโลหิต /
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
1.) ยาสาหรับรับประทาน
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยากษัยเส้น บรรเทาอาการปวดหลัง ปวด
เอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย
รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายน้ากระสายยา
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
2 ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ บรรเทาอาการปวดตามเส้น
เอ็น
กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา
รับประทานครั้งละ 1กรัม ชงน้าร้อนดื่ม
ประมาณ 120-200มล. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
3 ยาธรณีสันฑะฆาต แก้กษัยเส้น แก้อาการปวด
เมื่อย
ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มล.-1 กรัม
ละลายน้าสุกหรือผสมน้าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน
วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
1.) ยาสาหรับรับประทาน
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
4 ยาผสมโคคลาน บรรเทาอาการปวดเมื่อย
ตามร่างกาย
ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ชงน้าร้อนประมาณ 120-200 มล.
วันละ 3 ครั้ง ชนิดต้ม
ดื่มครั้งละ 120-200มล. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
5 ยาผสม
เถาวัลย์เปรียง
บรรเทาอาการปวดเมื่อย
ตามร่างกาย
รับประทานครั้งละ 900 มก.-1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
6 ยาสหัสธารา ขับลมในเส้น แก้อาการปวด
เมื่อยตามร่างกาย
รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
2.) ยาสาหรับใช้ภายนอก
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาขี้ผึ้งไพล บรรเทาอาการ ปวดเมื่อย ทาและถูเบาๆ บริเวณที่มีอาการ
วันละ 2-3 ครั้ง
2 ยาประคบ ประคบเพื่อลดอาการ
ปวด และช่วยคลาย
กล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ
กระตุ้นการไหลเวียนของ
โลหิต
ใช้ประคบบริเวณร่างกาย ขณะยังอุ่น
วันละ 1-2 ครั้ง
1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ
ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
1 ยาตรีเกสรมาศ แก้อ่อนเพลีย ปรับธาตุใน
ผู้ป่ วย ฟื้นจากการ
เจ็บป่ วย เช่น ไข้ ท้องเสีย
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ชงน้าร้อนประมาณ 120-200 มล.
ดื่มขณะยายังอุ่น วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร
2 ยาตรีพิกัด ปรับสมดุลธาตุภายใน
ร่างกาย
รับประทานครั้งละ 250-500 มก.
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
3 ยาเบญจกูล บารุงธาตุ ปรับธาตุใน
ร่างกายให้สมดุล
รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
4 ยาปลูกไฟธาตุ ปลูกไฟธาตุให้บริบูรณ์
ปรับระบบการย่อย
อาหารให้ดีขึ้น
รับประทานครั้งละ 500 มก. – 1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
อาการ ยาตรี
เกสรมาศ
ยาตรีพิกัด ยาเบญจกูล ยาปลูก
ไฟธาตุ
เปลือกฝิ่นต้น,
เกสรบัวหลวง,
ลูกมะตูมอ่อน
(เนื้อลูก) สมอไทย,
สมอพิเภก,
มะขามป้ อม
ดอกดีปลี, รากช้าพลู,
เถาสะค้าน, ราก
เจตมูลเพลิงแดง, เหง้า
ขิงแห้ง
พริกไทย
ล่อน
ปรับสมดุลธาตุ / / /
บารุงธาตุ /
ปลูกไฟธาตุให้บริบูรณ์ /
ปรับระบบการย่อยให้ดีขึ้น /
แก้อ่อนเพลีย/ปรับธาตุหลัง
ฟื้นจากไข้/ท้องเสีย
/
ยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ 27 ขนาน
แก้ลม
บารุงหัวใจ
ถ่ายกษัย
ปวดเมื่อย
ระบาย
พิษไข้
แก้ไข้
บารุงเลือด
ขับ
น้าคาวปลา
ท้องเสียขับลม
บารุงธาตุ
แก้ไข้
ขับเสมหะ
ภาคผนวก
ยาสามัญประจาบ้าน 27 ขนาน
(แบ่งตามกลุ่มอาการ)
ยาหอมเทพจิตร ยาจันทน์ทลีลา ยาประสะกะเพรา ยาประสะมะแว้ง ยาธรณีสันฑะฆาต ยาประสะไพล ยาเหลืองปิดสมุทร
ยาหอมทิพโอสถ ยามหานิลแท่งทอง ยาหอมอินทจักร์ ยาอามฤควาที ยาถ่าย ยาไฟประลัยกัลป์
ยาหอมอินทจักร์ ยาหอมนวโกศ ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาไฟห้ากอง
ยาตรีหอม ยาธาตุบรรจบ ยาบารุงโลหิต
ยาประสะจันทน์แดง ยาประสะกานพลู
ยาแสงหมึก ยามันทธาตุ
ยาประสะเปราะใหญ่ ยาประสะเจตพังคี
ยามหาจักรใหญ่
ยาตรีหอม
วัตถุส่วนประกอบ เนื้อลูกสมอเทศ เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้ อม ลูกผักชีลา หนักสิ่ง
ละ 4 ส่วน รากไคร้เครือ โกศสอ ชะเอมเทศ ลูกซัดคั่ว หนักสิ่ง
ละ 1 ส่วน เนื้อลูกสมอไทย โกฐน้าเต้าใหญ่นึ่งสุก หนักสิ่งละ 22 ส่วน
วิธีทา บดเป็นผง ทาเป็นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แก้เด็กท้องผูก ระบายพิษไข้
ขนาดรับประทาน
รับประทานก่อนอาหารเช้า
เด็กอายุ 1-2 เดือน ครั้งละ 2-3 เม็ด
เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 4-5 เม็ด
เด็กอายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 6-8 เม็ด
ยาแสงหมึก
วัตถุส่วนประกอบ
หมึกหอม จันทน์ชะมด ลูกกระวาน จันทน์เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
กานพลู ใบสันพร้าหอม หัวหอม ใบกะเพรา หนักสิ่งละ 4 ส่วน พิมเสน
หนัก 1 ส่วน
วิธีทา บดเป็นผง ทาเป็นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แก้ตัวร้อน ละลายน้าดอกไม้เทศ
แก้ท้องขึ้น ปวดท้อง ละลายน้าใบกะเพราต้ม
แก้ไอ ขับเสมหะ ละลายน้าลูกมะแว้งเครือ หรือลูกมะแว้งต้น กวาดคอ แก้ปาก
เป็นแผล แก้ละออง ละลายน้าลูกเบญกานีฝนทาปาก
ขนาดรับประทาน ใช้กวาดคอวันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้น (รับประทานทุก 3 ชั่วโมง)
เด็กอายุ 1-6 เดือน ครั้งละ 2 เม็ด
เด็กอายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 3 เม็ด
คุณจะเลือกอยู่ในสังคมแบบ
ไหน ?
เหนื่อย – ท้อ ให้พึงนึกถึง…
อ้างอิง
1.แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์
สมศักดิ์ นวลแก้ว และคณะ2555.
2.ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ : มุมมองจากทฤษฎีการแพทย์แผน
ไทยและข้อมูลเอกสารทางวิชาการคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์2554
3.บัญชียาแผนไทยสาหรับธรงพยาบาลและหน่วยบริการสาธารณสุขกรม
พัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2553
สวัสดีครับ

More Related Content

What's hot

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมVorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานVorawut Wongumpornpinit
 
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Vorawut Wongumpornpinit
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย porntiwa karndon
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดMa' Nor
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
Case study muscle bone join
Case study muscle bone joinCase study muscle bone join
Case study muscle bone jointacrm
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัชPrasit Kongsup
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 

What's hot (20)

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
 
Con6
Con6Con6
Con6
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
 
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Case study muscle bone join
Case study muscle bone joinCase study muscle bone join
Case study muscle bone join
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัช
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 

Viewers also liked

คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template http://www.slideworld.com/
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP Vorawut Wongumpornpinit
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Tiggy Ratana
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์Itnog Kamix
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
Intervertibral disc prolapse
Intervertibral disc prolapseIntervertibral disc prolapse
Intervertibral disc prolapsemohammedalhussein
 
Lumbar disc prolapse
Lumbar disc prolapseLumbar disc prolapse
Lumbar disc prolapseAnand Dev
 

Viewers also liked (19)

คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Back pain
Back painBack pain
Back pain
 
Spinal disc herniation
Spinal disc herniationSpinal disc herniation
Spinal disc herniation
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Intervertibral disc prolapse
Intervertibral disc prolapseIntervertibral disc prolapse
Intervertibral disc prolapse
 
Lumbar disc prolapse
Lumbar disc prolapseLumbar disc prolapse
Lumbar disc prolapse
 

Similar to Herb

สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง จตุกา
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Herb (20)

สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
Con15
Con15Con15
Con15
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 

Herb

  • 1. การใช้ยาสมุนไพรในบัญชี ยาหลักแห่งชาติ (ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 50 รายการ) ชาตรี เสนาจันทร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร มหาวิทยาลัยบูรพา คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 2. หลักเภสัช 4 1. เภสัชวัตถุ (ตัว ยา) 2. สรรพคุณเภสัช (สรรพคุณยา)3. คณาเภสัช (พิกัดยา) 4.เภสัชกรรมไทย (การปรุงยา)
  • 3. สรรพคุณเภสัช ยารสประธาน – รสร้อน – รสเย็น – รสสุขุม รสของตัวยา – รสยา 4 รส – รสยา 6 รส – รสยา 8 รส รสยา 9 รส • รสฝาด • รสหวาน • รสเมาเบื่อ • รสขม • รสเผ็ดร้อน • รสมัน • รสหอมเย็น • รสเค็ม • รสเปรี้ยว
  • 7. ******หลักการวิเคราะห์โรค ด้านการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย 5 วิธี 1.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐาน 3 (ตรีธาตุ) 1.1 ปิตตะสมุฏฐาน 1.2 วาตะสมุฏฐาน 1.3 เสมหะสมุฏฐาน
  • 8. 2.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐาน 4 ประกอบด้วย 1. ปถวีธาตุ 2. อาโปธาตุ 3. วาโยธาตุ 4. เตโชธาตุ
  • 9. 3.วิเคราะห์โรคตามพระคัมภีร์แพทย์ เช่นโลหิตปกติโทษ กษัย เป็นต้น 4.วิเคราะห์โรค เช่น จากสัญญาณ 5 (ทางหัตถเวชกรรม) 5.วิเคราะห์โรคจากสมุฏฐานเบญจอินทรีย์ คือ จักขุโรโค โสตโรโค ฆานโรโค ชิวหาโรโค กายโรโค (พหิทธโรโค – อันตโรโค) *****รสของยาสมุนไพรประกอบด้วย 5.1 ยารสประธาน 5.2 รสยา 9 รส
  • 12. 1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาหอมทิพโอสถ แก้ลมวิงเวียน รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายน้ากระสาย ยา เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง 2 ยาหอมเทพจิตร แก้อาการหน้ามืด ตาลาย สวิงสวาย ใจสั่น รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายน้าสุก เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง 3 ยาหอมนวโกฐ แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ภาวะอาเจียน เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย หลังฟื้นไข้ รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน้ากระสายยา เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
  • 13. 1.1 ยารักษา กลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาหอมแก้ลม วิงเวียน แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่ หลับ รับประทานเมื่อมีอาการครั้งละ 600 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควร เกินวันละ 3 ครั้ง 5 ยาหอมอินทจักร์ แก้คลื่นเหียน อาเจียน แก้ลมจุกเสียด รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน้า กระสาย เมื่อมีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน วันละ 3 ครั้ง
  • 14. อาการ ยาหอมเทพจิตร ยาทิพโอสถ ยาอินทจักร์ ยานวโกฐ ยาหอมแก้ลมวิงเวียน เกสร 5 ,โกศ 9, ผิวส้ม 8, เทียน 9, บัว 3 เกสร 7, โกศ 9, เทียน 9 เบญจกูล, ดีวัว โกศ 7, เทียน 5 โกศ 9, เบญจกูล, เทียน 9, เกสร 5 รากชะเอมเทศ, แก่นจันทน์, ดอกกานพลูโกศต่างๆ ลมจุกเสียด / / ลมวิงเวียน / / / ลมกองละเอียด / หน้ามืด / อ่อนเพลีย / นอนไม่หลับ / คลื่นไส้/เบื่ออาหาร / / ใจสั่น (สวิงสวาย) / อาเจียน (ลมแน่น) / / ลมบาดทะจิตร /
  • 15. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาธาตุบรรจบ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 กรัม ละลายน้า วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมี อาการ 2 ยาธาตุอบเชย ขับลม บรรเทาอาการ ท้องอืด ท้องเฟ้ อ รับประทานครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร 3 ยาเบญจกูล บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
  • 16. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาประสะกะเพรา บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ จุกเสียด เด็กอายุ 1-3 เดือน รับประทานครั้งละ 100-200 มก. อายุ 4-6 เดือนครั้งละ 200-300 มก. อายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 400-600 มก. วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น 5 ยาประสะกานพลู บรรเทาอาการปวดท้อง จุก เสียด แน่นเฟ้ อจากอาหาร ไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ ปกติ รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายน้ากระสาย วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ
  • 17. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 6 ยาประสะ เจตพังคี แก้กษัยจุกเสียด ขับผายลม รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็นก่อนอาหาร 7 ยามันทธาตุ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องฟ้ อ แก้ธาตุไม่ปกติ ใช้รับประทาน ผู้ใหญ่ครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 18. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 8 ยามหาจักรใหญ่ แก้ลมซาง บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ เด็กอายุ 1-5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มก.-15 กรัม เด็กอายุ 6-12 เดือนครั้งละ 1.5 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร 9 ยาวิสัมพยาใหญ่ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ จุกเสียด รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก หรือผสมน้าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน ทุก 4 ชั่วโมง 10 ยาอภัยสาลี บรรเทาอาการจุกเสียด แน่น รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
  • 19. อาการ ประสะ กะเพรา ธาตุ บรรจบ ประสะ กานพลู ประสะ เจตพังคี มันทธาตุ มหา จักรใหญ่ วิสัมพยา ใหญ่ ยาธาตุ อบเชย เบญจกูล อภัยสาลี กะเพรา เนื้อสมอ ไทย โกฐ ก้านพร้าว กานพลู เจตพังคี, ข่า ขิง, เบญกานี กระพังโหม, ยาดา ดีปลี, ลูก จันทน์, ดอกจันทน์, ผักชี เปลือก อบเชยเทศ, เปลือก สมุลแว้ง, ลูก กระวาน, ดอกกานพลู ดอกดีปลี, รากช้าพลู, เถา สะค้าน, ราก เจตมูลเพลิง แดง, เหง้าขิง แห้ง หัสคุณเทศ, พริกไทยล่อน, เทียน และโกฐ ,เนื้อลูกสมอเทศ ,เนื้อลูกสมอไทย ท้องอืด/ท้องเฟ้ อ / / / / / /ลมซาง / / / / จุกเสียด / / / / ขับลม / / / / / / / / / / ธาตุไม่ปกติ /อุจจาระ ธาตุ / / อาหารไม่ย่อย / ระบาย / / กษัยจุกเสียด / บาบัดโรคลม /
  • 20. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ใช้บรรเทาอาการท้องผูก ในผู้ที่ท้องผูกมาก หรือ เรื้อรัง ที่ใช้ยาอื่นแล้วไม่ ได้ผล รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป รับประทานเพิ่ม เป็น 1.5 กรัม แต่ไม่เกิน 2.5 กรัม/วัน (ตามธาตุหนักธาตุเบา) 2 ยาธรณีสันฑะฆาต แก้เถาดาน ท้องผูก ชนิดผง ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิด แคปซูล รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
  • 21. อาการ ธรณีสันฑฆาต ยาถ่าย, ดีเกลือฝรั่ง พริกไทยล่อน, ยาดา ดีเกลือฝรั่ง, ยาดา แก้เถาดาน, ท้องผูก / แก้ท้องผูก, ผูกมาก เรื้อรัง /
  • 22. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาธาตุบรรจบ บรรเทาอาการอุจจาระ ธาตุไม่ปกติ ท้องเสียชนิด ไม่ติดเชื้อ ไม่มีไข้ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ 2 ยาเหลืองปิดสมุทร บรรเทาอาการท้องเสีย ชนิดที่ไม่ติดเชื้อ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 200 มก. อายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 300-400 มก. อายุ 1-5 ขวบ ครั้งละ 500-700 มก. อายุ 6-12 ปี ครั้งละ 800 มก.-1 กรัม ละลายน้า ทุก 3-5 ชั่วโมง และเมื่อมีอาการ
  • 23. อาการ ธาตุบรรจบ เหลืองปิดสมุทร เนื้อลูกสมอไทย(รู้ถ่ายรู้ ปิด), โกฐก้านพร้าว,โกศสอ , โกศเชียง เทียนต่างๆ, ลูกผักชีลา เหง้าขมิ้นชัน, เปลือกสีเสียด ไทย/เทศ, เปลือกเพกา, ราก กล้วยตีบ อุจาระธาตุพิการ / / ท้องเสียไม่ติดเชื้อ (อุจจาระไม่เป็นมูก/มีเลือดปน) / / ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ / /
  • 24. 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาผสม เพชรสังฆาต บรรเทาอาการ ริดสีดวงทวารหนัก รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ทันที 2 ยาริดสีดวง มหากาฬ บรรเทาอาการ ริดสีดวงทวารหนัก รับประทานครั้งละ 800 มก.-1 กรัม วันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
  • 25. อาการ ยาผสม เพชรสังฆาต ยาริดสีดวง มหากาฬ เพชรสังฆาต มดยอบคั่ว, ขอบชะ นางทั้งสอง, โกศชนิด ต่างๆ, เทียน 5 บรรเทาอาการ ริดสีดวงทวารหนัก / /
  • 26. 1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาประสะไพล ระดูมาไม่ปกติ มาน้อย บรรเทาอาการปวดท้อง ปวดประจาเดือน ขับ น้าคาวปลา รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 2 ยาปลูกไฟธาตุ กระตุ้นน้านม กระจายเลือดลมหลัง คลอด รับประทานครั้งละ 500 มก.-1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 3 ยาไฟประลัยกัลป์ ขับน้าคาวปลา ช่วยให้ มดลูกเข้าอู่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 27. 1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาไฟห้ากอง ขับน้าคาวปลา ช่วยให้ มดลูกเข้าอู่ รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 5 ยาเลือดงาม บรรเทาอาการปวด ประจาเดือน ช่วยให้ประจาเดือนปกติ รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 6 ยาสตรีหลัง คลอด ขับน้าคาวปลา บารุงเลือด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วใน หญิงหลังคลอด รับประทานครั้งละ 500 มล. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือ ดื่มแทนน้า
  • 28. อาการ ประสะ ไพล ไฟประลัย กัลป์ ไฟห้ากอง ปลูกไฟธาตุ ยาเลือดงาม (ร้อนสุขุม) ยาสตรี หลังคลอด ไพล ผิวมะกรูด, การบูร, ราก เจตมูลเพลิงแดง, สารส้มสะตุ, แก่น แสมทะเล รากเจมูลเพลิงแดง, ฝักส้มป่ อย, เหง้าขิง, พริกไทยล่อน, สารส้มสะตุ พริกไทยล่อน เหง้าขิง, ตะไคร้บ้าน, เหง้ากระชาย, เหง้า กะทือ, โกศ จุฬาลัมพา, ลูกจันทน์ แก่นแกแล, แก่นขนุน, ว่านชักมดลุก, ฝางเสน, รากเจตมูลเพลิงแดง, ดอกดีปลี, กาแพงเจ็ดชั้น ระดูมาไม่สม่าเสมอ/มาน้อยกว่า ปกติ / / บรรเทาอาการปวดประจาเดือน / / ขับน้าคาวปลาในหญิงหลังคลอด / / / / ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ / / / กระตุ้นน้านม / กระจายเลือดลมในหญิงหลังคลอด / บารุงเลือด / /
  • 29. 1.4 ยาแก้ไข้ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาเขียวหอม บรรเทาอาการไข้ ร้อนใน กระหายน้า แก้พิษหัด พิษสุกใส ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก. ละลายน้ากระสายยา ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 2 ยาจันทน์ลีลา บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.-1 กรัม ทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ 3 ยาประสะจันทน์แดง บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน (ไข้พิษ) แก้ร้อนในกระหายน้า ผู้ใหญ่รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 ละลายน้ากระสายยา ทุก 3-4 ชั่วโมง
  • 30. 1.4 ยาแก้ไข้ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาประสะเปราะใหญ่ ถอนพิษไข้ตานซางสาหรับเด็ก เด็กอายุ 1-5 ปี รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3-4 ชั่วโมง 5 ยามหานิลแท่งทอง บรรเทาอาการไข้จาก ไข้กาฬ หัด และสุกใส แก้ร้อนในกระหาย น้า ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม ละลายน้าสุกวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร 6 ยาห้าราก บรรเทาอาการไข้ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม ละลายน้าสุกวัน วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 31. อาการ จันทน์ ทลีลา ประสะ จันทน์แดง เขียว หอม มหานิล แท่งทอง ประสะ เปราะใหญ่ ห้า ราก บรรเทาอาการไข้ ตัวร้อน / /ไข้พิษ / / แก้ร้อนใน กระหายน้า / / / พิษหัด, สุกใส / / ไข้เปลี่ยนฤดู / ถอนพิษไข้ตาน ซางสาหรับเด็ก /
  • 32. 1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ 1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาแก้ไอผสม กานพลู บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ อมครั้งละ 200-300 มก. เมื่ออาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง 2 ยาแก้ไอผสม มะขามป้ อม บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง 3 ยาแก้ไอผสม มะนาวดอง บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 200-300 มก. เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
  • 33. 1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ 1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาแก้ไอ พื้นบ้านอีสาน บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง 5 ยาตรีผลา บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ชงน้าร้อน ประมาณ 120-200 มล. ทิ้งไว้ 3-5 นาที ดื่มในขณะยังอุ่น 6 ยาประสะมะแว้ง บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทา ให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมะหะ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 200-400 มก. เมื่อมีอาการ ละลายน้ามะนาวแทรกเกลือ 7 ยาอามฤควาที บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 กรัม เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก. ละลายน้ากระสาย ยาเมื่อมีอาการ
  • 34. อาการ อามฤควาที ประสะมะแว้ง รากชะเอมเทศ มะแว้งต้น, มะแว้งเครือ บรรเทาอาการไอ / / มีเสมหะ / ทาให้ชุ่มคอ / ขับเสมหะ / /
  • 35. 1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ 1.5.2 ยาบรรเทาอาการหวัด ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาปราบ ชมพูทวีป บรรเทาอาการหวัด ระยะแรก และอาการ เนื่องจากการแพ้ อากาศ รับประทานครั้งละ 750 มก.-1.5 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 36. 1.6 ยาบารุงโลหิต ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาบารุง โลหิต บารุงโลหิต รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายน้ากระสายยา วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
  • 38. 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 1.) ยาสาหรับรับประทาน ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยากษัยเส้น บรรเทาอาการปวดหลัง ปวด เอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายน้ากระสายยา วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร 2 ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ บรรเทาอาการปวดตามเส้น เอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา รับประทานครั้งละ 1กรัม ชงน้าร้อนดื่ม ประมาณ 120-200มล. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 3 ยาธรณีสันฑะฆาต แก้กษัยเส้น แก้อาการปวด เมื่อย ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มล.-1 กรัม ละลายน้าสุกหรือผสมน้าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
  • 39. 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 1.) ยาสาหรับรับประทาน ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 4 ยาผสมโคคลาน บรรเทาอาการปวดเมื่อย ตามร่างกาย ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้าร้อนประมาณ 120-200 มล. วันละ 3 ครั้ง ชนิดต้ม ดื่มครั้งละ 120-200มล. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 5 ยาผสม เถาวัลย์เปรียง บรรเทาอาการปวดเมื่อย ตามร่างกาย รับประทานครั้งละ 900 มก.-1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที 6 ยาสหัสธารา ขับลมในเส้น แก้อาการปวด เมื่อยตามร่างกาย รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 40. 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 2.) ยาสาหรับใช้ภายนอก ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาขี้ผึ้งไพล บรรเทาอาการ ปวดเมื่อย ทาและถูเบาๆ บริเวณที่มีอาการ วันละ 2-3 ครั้ง 2 ยาประคบ ประคบเพื่อลดอาการ ปวด และช่วยคลาย กล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ กระตุ้นการไหลเวียนของ โลหิต ใช้ประคบบริเวณร่างกาย ขณะยังอุ่น วันละ 1-2 ครั้ง
  • 41. 1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ ลาดับ ชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้ 1 ยาตรีเกสรมาศ แก้อ่อนเพลีย ปรับธาตุใน ผู้ป่ วย ฟื้นจากการ เจ็บป่ วย เช่น ไข้ ท้องเสีย รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้าร้อนประมาณ 120-200 มล. ดื่มขณะยายังอุ่น วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร 2 ยาตรีพิกัด ปรับสมดุลธาตุภายใน ร่างกาย รับประทานครั้งละ 250-500 มก. วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 3 ยาเบญจกูล บารุงธาตุ ปรับธาตุใน ร่างกายให้สมดุล รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร 4 ยาปลูกไฟธาตุ ปลูกไฟธาตุให้บริบูรณ์ ปรับระบบการย่อย อาหารให้ดีขึ้น รับประทานครั้งละ 500 มก. – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
  • 42. อาการ ยาตรี เกสรมาศ ยาตรีพิกัด ยาเบญจกูล ยาปลูก ไฟธาตุ เปลือกฝิ่นต้น, เกสรบัวหลวง, ลูกมะตูมอ่อน (เนื้อลูก) สมอไทย, สมอพิเภก, มะขามป้ อม ดอกดีปลี, รากช้าพลู, เถาสะค้าน, ราก เจตมูลเพลิงแดง, เหง้า ขิงแห้ง พริกไทย ล่อน ปรับสมดุลธาตุ / / / บารุงธาตุ / ปลูกไฟธาตุให้บริบูรณ์ / ปรับระบบการย่อยให้ดีขึ้น / แก้อ่อนเพลีย/ปรับธาตุหลัง ฟื้นจากไข้/ท้องเสีย /
  • 43. ยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ 27 ขนาน แก้ลม บารุงหัวใจ ถ่ายกษัย ปวดเมื่อย ระบาย พิษไข้ แก้ไข้ บารุงเลือด ขับ น้าคาวปลา ท้องเสียขับลม บารุงธาตุ แก้ไข้ ขับเสมหะ ภาคผนวก ยาสามัญประจาบ้าน 27 ขนาน (แบ่งตามกลุ่มอาการ) ยาหอมเทพจิตร ยาจันทน์ทลีลา ยาประสะกะเพรา ยาประสะมะแว้ง ยาธรณีสันฑะฆาต ยาประสะไพล ยาเหลืองปิดสมุทร ยาหอมทิพโอสถ ยามหานิลแท่งทอง ยาหอมอินทจักร์ ยาอามฤควาที ยาถ่าย ยาไฟประลัยกัลป์ ยาหอมอินทจักร์ ยาหอมนวโกศ ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาไฟห้ากอง ยาตรีหอม ยาธาตุบรรจบ ยาบารุงโลหิต ยาประสะจันทน์แดง ยาประสะกานพลู ยาแสงหมึก ยามันทธาตุ ยาประสะเปราะใหญ่ ยาประสะเจตพังคี ยามหาจักรใหญ่
  • 44. ยาตรีหอม วัตถุส่วนประกอบ เนื้อลูกสมอเทศ เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้ อม ลูกผักชีลา หนักสิ่ง ละ 4 ส่วน รากไคร้เครือ โกศสอ ชะเอมเทศ ลูกซัดคั่ว หนักสิ่ง ละ 1 ส่วน เนื้อลูกสมอไทย โกฐน้าเต้าใหญ่นึ่งสุก หนักสิ่งละ 22 ส่วน วิธีทา บดเป็นผง ทาเป็นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม สรรพคุณ แก้เด็กท้องผูก ระบายพิษไข้ ขนาดรับประทาน รับประทานก่อนอาหารเช้า เด็กอายุ 1-2 เดือน ครั้งละ 2-3 เม็ด เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 4-5 เม็ด เด็กอายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 6-8 เม็ด
  • 45. ยาแสงหมึก วัตถุส่วนประกอบ หมึกหอม จันทน์ชะมด ลูกกระวาน จันทน์เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ใบสันพร้าหอม หัวหอม ใบกะเพรา หนักสิ่งละ 4 ส่วน พิมเสน หนัก 1 ส่วน วิธีทา บดเป็นผง ทาเป็นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม สรรพคุณ แก้ตัวร้อน ละลายน้าดอกไม้เทศ แก้ท้องขึ้น ปวดท้อง ละลายน้าใบกะเพราต้ม แก้ไอ ขับเสมหะ ละลายน้าลูกมะแว้งเครือ หรือลูกมะแว้งต้น กวาดคอ แก้ปาก เป็นแผล แก้ละออง ละลายน้าลูกเบญกานีฝนทาปาก ขนาดรับประทาน ใช้กวาดคอวันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้น (รับประทานทุก 3 ชั่วโมง) เด็กอายุ 1-6 เดือน ครั้งละ 2 เม็ด เด็กอายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 3 เม็ด
  • 47. เหนื่อย – ท้อ ให้พึงนึกถึง…
  • 48. อ้างอิง 1.แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สมศักดิ์ นวลแก้ว และคณะ2555. 2.ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ : มุมมองจากทฤษฎีการแพทย์แผน ไทยและข้อมูลเอกสารทางวิชาการคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์2554 3.บัญชียาแผนไทยสาหรับธรงพยาบาลและหน่วยบริการสาธารณสุขกรม พัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2553