SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา ( ว 30246 ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ห้อง 143
พืชที่นาเสนอ คือพืช Family : Rutaceae จานวน 9 ชนิด
แนะนาสมาชิก
 น.ส.มนัสวีกิจสมมารถ เลขที่ 14 น.ส. พรรษมน อิ้งจะนิล เลขที่ 12
 น.ส.พรธีรา มณฑา เลขที่ 10  น.ส.พรรณภัทร ปิยภากรวุฒิกุล เลขที่ 11
ครูผู้สอน : อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
คำนำ
 รายงานชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงพืชในวงศ์ตระกูล
Rutaceae เหตุที่เลือกวงศ์นี้เพราะกลุ่มของผู้จัดทานั้นได้เลือกต้นมะกรูดเป็น
พืชตัวอย่างในการศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชในภาคเรียนที่ 1 โดยพืช Rutaceae
นั้นเป็นพืชในตระกูลส้ม (Citrus) ตัวอย่างเช่น มะกรูด เลม่อน มะขวิด
มะตูม มะนาว มะนาวผี ส้มโอมือ ส้มจี๊ด ส้มซ่า หัสคุณ โดยทางคณะผู้จัดทา
หวังเป็นอย่างยิ่งว่างานนาเสนอชิ้นนี้จะสร้างประโยชน์ และให้ความรู้
เพิ่มเติมเกี่ยวกับพืชสมุนไพรในวงศ์ส้มแก่ทุกๆคน
คณะผู้จัดทา
สำรบัญ
1. หัสคุณ
2. ส้มซ่า
3. ส้มจี๊ด
4. ส้มโอมือ
5. ส้มโอ
6. มะนาวผี
7. มะนาว
8. มะตูม
9. มะขวิด
10. มะกรูด
11. พญาญา
12. ช้างงาเดียว
รับผิดชอบโดย น.ส.พรรษมน อิ้งจะนิล
1. หัสคุณ
2. ส้มซ่า
3. ส้มจี๊ด
หัสคุณ
 ชื่ออื่น : คอมขน, สามโซก (เชียงใหม่), หวด (ลาปาง), เพี้ยฟานดง, สมัดดง, สมัดต้น, สมัดใหญ่ (เลย),
หัสคุณ (สระบุรี), ฉี้, ลิ้นชี่, ดอกสะมัด, สะแบก (อุดรธานี), ชะมุย (ชุมพร), มุยขาว
(ประจวบคีรีขันธ์), หมุยขน (นครศรีธรรมราช)
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Micromelum minutum (Forst. f.) Wight & Arn.
 ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ต้นหัสคุณ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง
มีความสูงได้ถึง 10 เมตร ตามกิ่งอ่อนมีขนสั้นสีเทา ส่วนต้นเป็น
สีเขียว เมื่อแก่แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลอมเทา แตกเป็นร่องตื้น
ตามยาว
 ใบหัสคุณ เป็นใบประกอบแบบขนนกออกเรียงสลับ มีใบย่อยประมาณ 7-15 ใบ ใบย่อยเป็นรูปไข่
ปลายใบแหลม ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร แผ่นใบเป็น
สีเขียวอ่อน เนื้อใบบาง มีต่อมน้ามันเล็กๆ จับดูแล้วจะรู้สึกเหนียว หลังใบเกือบเรียบถึงมีขนสั้นๆ ส่วน
ท้องใบมีขนบางๆ ใบมีกลิ่นหอมเหมือนการบูร มีรสหอมร้อน
 ดอกหัสคุณ ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจานวนมาก ดอกย่อยมีกลีบดอกเป็นสีเขียวอ่อนหรือ
สีขาวแกมเหลือง เมื่อดอกบานเต็มที่กลีบดอกจะม้วนไปด้านหลังเล็กน้อย
 ผลหัสคุณ เป็นผลสด ออกเป็นพวงโต ลักษณะของผลเป็นรูปกระสวยหรือรูปไข่ขนาดเล็ก ผิวผลเรียบ
ใส ฉ่าน้า ผลเป็นสีเขียวอ่อนมีขนปกคลุม เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีส้มหรือสีแดง
สรรพคุณหัสคุณ :
 รำก แก้โลหิตอันข้นด้วยบุพโพ แก้ไข้แก้โรคหอบหืด แก้ลม แก้ริดสีดวงรักษานิ่วในไต ขับเลือดและ
หนอง
 ใบ รมรักษาริดสีดวงจมูก แก้ไข้แก้ไข้อันผอมเหลือง แก้ไอ แก้หืดไอ แก้ลมอันเสียดแทง ช่วยขับลม
ยอกในข้อ
 ทั้งต้น แก้ไอ แก้เสมหะและลมทั้งปวง ช่วยแก้ลมภายในให้กระจาย ขับพยาธิไส้เดือน บารุงน้าดี
 ดอก ช่วยแก้เสมหะให้ตก ขับเสมหะให้ลงสู่คูถทวาร
 ผล เป็นยาถ่าย ขับพยาธิ
 เปลือกต้น ช่วยแก้โลหิตในลาคอ และลาไส้ให้กระจาย
 กระพี้แก้โลหิตในลาไส้
ส้มซ่ำ
 ชื่ออื่น : มะขุน, ส้มส่า, มะนาวควาย, ส้มมะงั่ว
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus aurantium var. aurantium
 ชื่อวงศ์ : Rutaceae
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ต้นส้มซ่ำ เป็นไม้ยืนต้น สูง 3-10 เมตร ทรงพุ่มกลม มีกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม กิ่งมีหนามแหลม
สั้น กิ่งแก่ อาจอวบยาวถึง 8 เซนติเมตร
 ใบส้มซ่ำ ใบเดี่ยว เรียงสลับ มีจุดต่อมน้ามันมาก มีกลิ่นหอมเมื่อขยี้ ก้านใบยาว 2-3 เซนติเมตร ครึ่ง
ตอน บนแผ่เป็นปีกแคบๆ ถึงกว้าง รูปคล้ายสามเหลี่ยมแกมไข่กว้าง ขนาดกว้างถึง 2.5 เซนติเมตร
แผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปรี ขนาดกว้าง 4-7 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร โคนใบสอบหรือมน ปลาย
มนถึงปลายทู่ ขอบใบเกือบเรียบถึงจักเล็กน้อย
 ดอกส้มซ่ำ ดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มดอกออกที่ซอกใบ กลีบสีขาว มี 2-3 ดอก มีกลิ่นหอมแรง ปกติเป็น
ดอกสมบูรณ์เพศ มีดอกเพศผู้น้อย 5-12 % กลีบเลี้ยงรูปคล้ายถ้วย ยาว 0.4-0.5 เซนติเมตร มี 3-5 หยัก
รูปไข่กว้างคล้ายสามเหลี่ยม เกลี้ยงหรือมีขน กลีบดอก มี 4-5 กลีบ รูปขอบขนาน
 ผลส้มซ่ำ แบบส้ม รูปกลม ขนาดส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 เซนติเมตร มี 8-12 ห้อง ตรงกลางกลวง เปลือก
หนา ผิวเรียบถึงเป็นตุ่มขรุขระ สีส้มเหลืองมีกลิ่นแรง เนื้อในเป็นกรด มีรสขม เล็กน้อย เมล็ดมีจานวน
มาก
 สรรพคุณส้มซ่ำ :
 เปลือกผล รสปร่าหอมใช้ทายาหอมแก้ลมวิงเวียนหน้ามืดตาลาย แก้ท้องอืดเฟ้อ
 น้ำในผล รสเปรี้ยวอมหวาน กัดฟอกเสมหะแก้ไอ ฟอกโลหิต
 ใบ รักษาโรคผิวหนัง
ส้มจี๊ด
 ชื่ออื่น : ส้มกิมจ๊อ, ก่าควิด
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus Japonica Thunb.
 ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ส้มจี๊ด เป็นไม้พุ่ม มีความสูงของต้นประมาณ 1.5-3 เมตร ตามกิ่งมีหนามแหลมคม ยาวประมาณ 1-3 เซนติเมตร
 ใบส้มจี๊ด เป็นใบประกอบชนิดแบบลดรูปที่มีใบย่อยใบเดียว
ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม โคนใบแหลม มีขนาดกว้าง
ประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร แผ่นใบ
หนาเนียน ผิวใบเป็นมันสีเขียว มีหูใบขนาดเล็ก
 ดอกส้มจี๊ด ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่มๆ ดอกเป็นสีขาวมีกลิ่นหอม
แรง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5
กลีบ ร่วงได้ง่าย เมื่อดอกบานจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ดอก
มีเกสรเพศผู้จานวนมาก
 ผลส้มจี๊ด มีลักษณะเหมือนผลส้มทั่วไป แต่จะมีขนาดเล็ก ส้มชนิดนี้เป็นส้มที่กินเปลือกผล
ผลมีขนาดเล็กมีทั้งกลมและรี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร ผิวผล
บางเป็นสีเขียวและมีกลิ่นหอม เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม เนื้อในผลมีรสเปรี้ยวจัด ภายใน
ผลมีเมล็ดประมาณ 1-3 เมล็ด
 สรรพคุณส้มจี๊ด :
 ผล แก้อาการไอ ยาขับเสมหะ แก้อาการเจ็บคอ ช่วยแก้เสียงแหบ ช่วยแก้ภูมิแพ้ที่สาแดง
อาการทางลาคอ ทาให้ปอดชื้น มีเสมหะมาก เป็นหวัดหายยาก ช่วยหล่อลื่นปอด แก้อาการ
ท้องอืด มีลมในท้อง ลมตีขึ้นเบื้องบนซึ่งทาให้คลื่นไส้อาเจียน
 เปลือกผล ช่วยขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยในการย่อยอาหาร
รับผิดชอบโดย น.ส.พรรณภัทร ปิยภากรวุฒิกุล
1. ส้มโอมือ
2. ส้มโอ
3. มะนาวผี
ส้มโอมือ
 ชื่ออื่นๆ : ส้มมือ
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus medica L. var. sarcodactylis(Hoola van Nooten) Swingle.
 ชื่อวงศ์ : Rutaceae
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ส้มโอมือ เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงประมาณ 2-4 เมตร
 เปลือกลาต้นเรียบสีน้าตาล ตามลาต้นและกิ่งมีหนามยาวแข็ง
 ใบส้มโอมือ เป็นใบประกอบแบบลดรูป ใบย่อยมีใบเดียว ออกเรียงสลับ มีขนาดกว้าง 4-5 เซนติเมตร
ยาว 10-15 เซนติเมตร ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบจักเป็นซี่ฟันหลังใบเรียบ สีเขียวเข้มเป็นมัน
ท้องใบสีอ่อนกว่า
 ดอกส้มโอมือ ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-3 ดอก ออกตามซอกใบ
และกิ่ง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกด้านนอกมีสี
ม่วงแดง หลุดร่วงง่าย กลีบเลี้ยวมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้เป็นเส้นสีขาวมี
จานวนมาก
 ผลส้มโอมือ รูปทรงรีขนาดใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 8-10 เซนติเมตร ยาว
12-15 เซนติเมตร ปลายผลเป็นแฉกงอคล้ายนิ้วมือ ผิวขรุขระเป็นมัน ผล
อ่อนมีสีเขียว ผลสุกมีสีเหลือง ภายในผลมีสีขาวเหมือนเปลือกส้มโอ ไม่
มีเนื้อผล และเมล็ด
 สรรพคุณส้มโอมือ :
 เปลือกแห้ง ผิวผล มีน้ามันหอมระเหย ทายาดมส้มโอมือ สาหรับแก้หน้า
มืด เป็นลม วิงเวียน น้าจากผล มีรสเปรี้ยวคล้ายมะกรูด มีวิตามินซีสูง กิน
เป็นยาฟอกเลือด ประจาเดือนสตรี ใช้ผสมเป็นยากัดเสมหะ แก้ไอ แก้
เลือดออกตามไรฟัน
ส้มโอ
 ชื่ออื่น ๆ : มะขุน, มะโอ (ภาคเหนือ), โกร้ยตะลอง (เขมร),
 ลีมาบาลี (มลายู-ยะลา), อิ่ว (จีน), สังอู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
 ชื่อสำมัญ : Pummelo, Shaddock
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus maxima Merr.
 ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ส้มโอ เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอดของต้น ลาต้นมีสีน้าตาล และมี
หนามเล็ก ๆ อยู่สูงประมาณ 8 เมตร
 ใบส้มโอ เป็นไม้ใบเดี่ยว ลักษณะเป็นรูปมนรี ปลายใบและโคนใบมนขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย พื้น
ใบเป็นสีเขียวและมัน แต่ตรงก้านใบจะมีส่วนที่แผ่ออกเป็นปีกรูปคล้ายหัวใจ ขนาดของใบกว้าง
ประมาณ 1-4 นิ้วยาว 4-6 นิ้ว
 ดอกส้มโอ ออกเป็นช่อและดอกเดี่ยว แต่ส่วนมากมักจะเป็นดอกเดี่ยวอยู่ตามง่ามใบ ดอกมีสีขาว
ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมีเกสร 20-25 อัน
 ผลส้มโอ เป็นลูกกลม ๆ โตและตรงหัวของผลจะนูนขึ้นมาเป็นกระจุก เมื่อยังอ่อนเป็นสีเขียวพอ
แก่หรือสุกเป็นสีเหลือง เปลือกผลมีต่อมน้ามันมาก ขนาดของผลยาวประมาณ 5-7 นิ้วเนื้อในสี
ชมพูและสีเหลืองอ่อนมีรสหวานหรือเปรี้ยว จะมีอยู่ราว ๆ 12-18 กลีบ เมล็ดมีจานวนมากสี
น้าตาลออกเหลือง ๆ
 สรรพคุณส้มโอ :
 ใบ เป็นยาแก้ปวดข้อ ท้องอืดแน่น แก้ปวดหัว (ตาพอกที่ศีรษะ)
 ดอก แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระบังลม ขับเสมหะ ขับลม
 ผล แก้เมาสุรา ขับลมในลาไส้และกระเพาะอาหาร ทาให้เจริญอาหาร เหมาะสาหรับสตรีมีครรภ์เบื่อ
อาหาร ปากไม่รู้รสอาหาร
 เปลือกผล เป็นยาขับลม ช่วยขับเสมหะ แก้อึดอัด แน่นหน้าอก ไอ จุกแน่น ปวดท้องน้อย ไส้เลื่อน
หรือต้มน้าอาบแก้คัน ใช้ตาพอกฝี
 เมล็ด แก้ไส้เลื่อน แก้ปวดท้อง ลาไส้เล็กหดตัวผิดปกติ
 รำก แก้หวัด แก้ไอ แก้ปวด ปวดท้องน้อยและกระเพาะอาหาร ไส้เลื่อน
มะนำวผี
 ชื่ออื่น : ขี้ติ้ว, จ๊าลิ้ว (เหนือ), นางกาน (ขอนแก่น), กะนาวพลี, กรูดผี (ใต้), มะลิว, กรูดเปรย
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Atalantia monophylla (DC.) Corra
 ชื่อวงศ์ : Rutaceae
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 มะนำวผี เป็นไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 เมตร ลาตันและกิ่งค่อนข้างเป็นเหลี่ยม มี
หนามยาวหนึ่งอันตามซอกใบ หนามยาว 1-1.5 ซม. เปลือกลาต้นสีน้าตาล มีรอยแตกตื้นๆ ตามยาว
ของลาต้น
 ใบมะนำวผี ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ หรือรูปรี กว้าง 1.8-4.5 ซม. ยาว 4.8-8 ซม. ปลายป้านเป็นติ่ง
โคนรูปลิ่ม กว้าง ขอบเรียบ หรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบแผ่เรียบ หนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนสีเขียว
เข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอ่อน เกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนกระจายตามเส้นกลางใบ เส้นใบข้าง 5-7
คู่ เส้นใบย่อยแบบร่างแห ชัดเจนทางด้านล่าง ก้านใบยาว 4-8 มม.
 ดอกมะนำวผี ช่อดอก แบบช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ ก้านช่อดอก และก้านดอกเกลี้ยง ถึงมีขนละเอียด ก้าน
ดอก ยาว 0.8-1.5 ซม. ใบประดับย่อย รูปใบหอก ร่วงง่าย ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขน กลีบเลี้ยงไม่สมมาตร
แยกออกถึงฐานเพียงหนึ่งด้าน มักมี 2 แฉก ดอกมีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาว มี 4 หรือ 5 กลีบ แยกจากกัน
เป็นอิสระ รูปขอบขนานแกมรูป
 ผลมะนำวผี ผลกลม หรือรี ขนาดเล็ก สีเขียวอ่อนหรือเทา เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม. ผิวหนาคล้ายหนังมี
ต่อมน้ามันเป็นจุดหนาแน่น ปลายผลมีก้านเกสรเพศเมีย ติดทน ผลภายในมีกลีบคล้ายส้มเมล็ดจานวนน้อย
รูปรี สีขาว
 สรรพคุณมะนำวผี :
 ใบ มีกลิ่นคล้ายใบมะกรูดหรือใบมะนาว แก้โรคทางเดินหายใจ แก้จุกเสียด แก้ท้องเสีย รักษาโรค
ผิวหนัง
 ผล รักษาโรคทางเดินหายใจ
 น้ำมันจำกเปลือกผล ใช้ทาภายนอก แก้โรคไขข้ออักเสบ
รับผิดชอบโดย น.ส.พรธีรา มณฑา
1. มะนาว
2. มะตูม
3. มะขวิด
มะนาว
 ชื่ออื่น ๆ : มะนอเกละ, ปะนอเกล, มะเน้าด์เล (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ปะโหน่งกลยาน (กะเหรี่ยง-
กาญจนบุรี), ส้มมะนาว (ทั่วไป), หมากฟ้า (เงี้ยง-แม่ฮ่องสอน)
ชื่อสำมัญ : Common lime, Lime
ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus aurantifoliaSwing.
ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ต้นมะนำว เป็นพรรณไม้พุ่ม ยืนต้น ลาต้นมีความสูงประมาณ .5-3.5 เมตร ผิวเปลือกลาต้นเรียบเกลี้ยง
ส่วนกิ่งก้านอ่อนมีหนามยาวประมาณ 3-13มม.
 ใบมะนำว ใบออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปรียาว ปลายใบแหลม โคนใบกลมมีปีก
แคบ ๆ ริมขอบใบหยัก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 ซม. ยาวประมาณ 2.5-9 ซม.
 ดอกมะนำว ดอกออกเป็นช่อสั้น ๆ มีประมาณ 5-7 ดอก หรืออาจเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะของดอกมีสีขาว
กลีบดอกมีประมาณ 4-5 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปรียาว ปลายกลีบแหลม ตรงกลางดอกมีเกสรตัวผู้และตัว
เมียเล็ก ๆ อยู่
 ผลมะนำว ผลมีลักษณะเป็นรูปกลม พื้นผิวเรียบเกลี้ยง ขนาดของผลมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2
นิ้ว ผลอ่อนมีสีเขียวเข้มเมื่อแก่ผลก็เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เนื้อในผลจะแยกออกเป็นซีก ภายในเนื้อก็จะมี
เมล็ด ลักษณะกลมรี สีเหลืองอ่อน ผลหนึ่งก็จะมีหลายเม็ด
 สรรพคุณมะนำว :
 ใบ ใช้ใบสดประมาณ 10-15 กรัม นามาต้มเอาน้ากินใช้ เป็นยาแก้ไอ ละลายเสมหะ แก้ท้องอืด
ท้องเสีย ช่วยขับลม และทาให้เจริญอาหาร
 ผล ใช้ผลสด นามาคั้นเอาน้ากิน หรือกินสด เป็นยาแก้กระหาย แก้ร้อนใน บารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้
เลือดออกตามไรฟัน และถ่ายพยาธิ หรือใช้ผลดองเกลือ จนเป็นสีน้าตาล ใช้เป็นยาขับเสมหะ ทาให้
ชุ่มคอ
 เปลือกผล ใช้เปลือกผลแห้ง ประมาณ 10-15 กรัม ต้มเอาน้ากินเป็นยาแก้จุกเสียดแน่นท้องแก้ปวด
ท้อง ขับเสมหะ บารุงกระเพาะอาหาร ขับลม
 รำก ใช้รากสด ประมาณ 15-30 กรัม นามาต้มเอาน้ากิน เป็นยาแก้ฟกช้าจากการถูกกระแทก หรือจาก
การหกล้มแก้ปวด และแก้พิษสุนัขบ้ากัด
มะตูม
 ชื่ออื่น ๆ : มะปิน (ภาคเหนือ), ตูม, ตุ่มตัง, กะทันตาเถร (ปัตตานี-ภาคใต้)
 ชื่อสำมัญ : Bengal Quince, Bilak, Bael, Bael fruit
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Aegle marmelos Corr.
 ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ต้นมะตูม เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร เรือนยอดรูปไข่ เปลือกต้นสี
เทาเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆตามยาว เนื้อไม้แข็ง มีสีขาวแกมเหลือง และมีกลิ่นหอม
 ใบมะตูม เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ออกเรียงสลับ ใบรูปไข่ กว้าง 1-7 เซนติเมตร ยาว 4-13
เซนติเมตร สองใบล่างมีขนาดเล็กและติดตรงข้ามกัน ใบปลายมีขนาดใหญ่ ปลายใบสอบ โคนใบ
แหลม ขอบใบเรียบหรือมีหยักมนๆ แผ่นใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือสีชมพู มีขน
ละเอียด ใบแก่สีเขียวเข้ม เรียบเกลี้ยง
 ดอกมะตูม ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ออกรวมกันเป็นช่อสั้นๆ ดอกสีขาวอมเขียวหรือสีเหลือง
อ่อน ดอกมักออกพร้อมกับใบอ่อน มีกลิ่นหอม กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปไข่กลับ โคนติดกัน ดอกสมบูรณ์เพศ
 ผลมะตูม รูปรีกลมหรือรียาว ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา แข็งมาก ไม่แตก ผลอ่อนมีสีเขียวพอสุกมีสีเหลือง
เนื้อผลมีสีเหลือง นิ่ม มีกลิ่นหอม และมีเนื้อเยื่อสีส้มที่มียางเหนียวๆ ภายในมี 8-15 ช่อง
 สรรพคุณมะตูม :
 ผล รสฝาด หวานชุ่ม เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อกระเพาะและลาไส้ ใช้เป็นยาแก้ท้องเดิน ท้องเสียเรื้อรัง แก้บิด
มูกเลือด บิดเรื้อรัง บารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้เจ็บคอยังมีสรรพคุณพิเศษคือมีฤทธิ์ลดความกาหนัด คลายกังวล
และช่วยให้สมาธิดีขึ้น ชาวพุทธจึงนิยมใช้ทาเป็น น้าปานะ ถวายพระสงฆ์
 ผลดิบแห้ง ชงน้าดื่ม แก้ท้องเสีย แก้บิด
 ผลสุก รสหวานเย็น เป็นยาระบาย ช่วยย่อยอาหาร บารุงไฟธาตุ แก้ลมในท้อง แก้มูกเลือด
 ผลอ่อน รสฝาดร้อนปร่าขื่น บดเป็นผง ต้มกินแก้ธาตุพิการ แก้ท้องเสีย แก้บิด
แก้โรคกระเพาะอาหาร ทาให้เจริญอาหาร ขับลม บารุงกาลัง
มะขวิด
 ชื่ออื่น : มะฟิด
ชื่อวิทยำศำสตร์ : Limonia acidissima L.
ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 มะขวิด เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เซนติเมตร เป็นไม้
ผลัดใบ แต่ผลิใบไว รูปทรงของต้นสวยงาม ลักษณะเป็นทรงเรือดยอดพุ่มกลม เปลือกลาต้นภายนอก
มีสีเทา ส่วนภายในมีสีขาว
 ใบมะขวิด ใบออกเป็นช่อแบบข้อต่อเรียงสลับหรือติดกันเป็นกระจุกในบริเวณปุ่มตามกิ่งต่างๆ ช่อใบ
ยาวประมาณ 8-15 เซนติเมตร ในแต่ละช่อจะมี 1-4 ปล้อง หลังใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน เนื้อใบค่อนข้าง
หนาเกลี้ยง ส่วนท้องใบจะมีสีจางกว่า เมื่อเอาใบมาส่องผ่านแสงจะเห็นเป็นต่อมน้ามันอยู่ทั่วไป
ลักษณะเป็นรูปรีๆ ใสๆ มากมายส่วนขอบใบเรียบก้านใบย่อยจะสั้นมาก แต่ก้านช่อใบจะยาวประมาณ
3-4 เซนติเมตร
 ผลมะขวิด มีลักษณะกลมตัว เป็นผลแห้ง เปลือกภายนอกแข็งเป็นกะลามีสีเทาอมขาว ผลมีเนื้อมาก เนื้อ
ในผลอ่อนนิ่ม เมื่อผลสุกแล้วเนื้อเยื่อจะเป็นสีดาสามารถใช้รับประทานได้โดยให้รสหวานอมเปรี้ยว มี
กลิ่นหอม มียางเหนียว ส่วนในผลมีเมล็ดจานวนมาก มีเมือกหุ้มเมล็ด เปลือกหนา และมีขน สามารถ
นามาเคี้ยวรับประทานได้เช่นกัน
 สรรพคุณมะขวิด :
 รำก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต
 เปลือก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อย แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต
 ใบ แก้ฟกบวม แก้พยาธิ แก้ฝีเปื่อยพัง แก้ท้องร่วง แก้ตกโลหิต
 ดอก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต
 ผล แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต เป็นยาบารุง
ทาให้สดชื่น เจริญอาหาร บาบัดโรคท้องเสีย
 ยำง เจริญไฟธาตุ แก้ท้องเสีย สมานบาดแผล
รับผิดชอบโดย น.ส.มนัสวี กิจสมมารถ
1. มะกรูด
2. พญาญา
3. ช้างงาเดียว
มะกรูด
 ชื่ออื่น ๆ : ส้มกรูด, ส้มมั่วผี (ภาคใต้), มะหูด (หนองคาย), ส้มมะกรูด (ภาคกลาง)
ชื่อสำมัญ : LeechLime, Kaffir Lime, Porcupine orange
ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 มะกรูด เป็นพรรณไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก ลาต้นเป็นไม้เนื้อแข็งผิวเปลือกต้นเรียบ ลาต้นและกิ่งก้านมี
หนามแหลม
 ใบมะกรูด ใบมีลักษณะคล้ายกับใบไม้2 ใบ ต่อกันอยู่ใบมีสีเขียวแก่ พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ไม่
มีกลิ่นหอม
 ดอกมะกรูด ดอกมีสีขาว คล้ายดอกมะนาว ดอกมีกลิ่นหอม
 ผลมะกรูด ผลมีขนาดเท่ากับผลมะนาว ผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็น
สีเขียวแก่ เมื่อผลสุกก็จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด
 สรรพคุณมะกรูด :
 รำก มีรสจืดเย็น แก้ไข้แก้กาเดา ถอนพิษผิดสาแดง แก้ลมจุกเสียด กระทุ้งพิษไข้แก้พิษฝีภายใน แก้
เสมหะเป็นพิษ
 ใบ มีรสปร่าหอม แก้ไอ อาเจียนเป็นโลหิต ดับกลิ่นคาว แก้ช้าใน
 ผล มีรสเปรี้ยว แก้น้าลายเหนียว แก้เสมหะในคอ กัดเถาดานในท้อง แก้ประจาเดือนเสีย ฟอกโลหิต
ประจาเดือน ขับประจาเดือน ขับลมในลาไส้ ผลเอาใส้ออกแล้วใส่มหาหิงส์เข้าไปสุมไฟให้เกรียม บด
กวาดลิ้นเด็กอ่อน ขับขี้เทา ขับลม แก้ปวดท้อง ผลปิ้งไฟให้นิ่มใช้สระผม ทาให้ผมดกดาเงางาม แก้คัน
ศีรษะ แก้รังแค
 ผิวของผล มีรสปร่าหอม ขับลมในลาไส้ ขับประจาเดือน ขับผายลม
พญำยำ
 ชื่ออื่น ๆ : พญายา(กลาง ราชบุรี), ขะแจะ (เหนือ), ตุมตัง (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ตะนาว
(มอญ), พุดไทร ชะแจะ, กระแจะจัน, พินิยา, ฮางแกง, กระแจะ
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Hesperethusa crenulata (Roxb.) Roem.
 ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 พญำญำ ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เนื้อไม้สีขาว เปลือกต้นสีน้าตาล
ขรุขระ ลาต้นและกิ่งมีหนาม มีหนามแข็ง และยาว หนามออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ตรง ยาวได้ถึง 2.5
เซนติเมตร ไม่ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร
 ใบพญำยำ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย 4-13 ใบ รูปวงรีแกมไข่กลับ เนื้อ
ใบบางคล้ายกระดาษถึงหนาคล้ายแผ่นหนัง เนียน เกลี้ยง เมื่อส่องดูจะเห็นต่อมน้ามันเป็นจุดใสๆ
กระจายอยู่ทั่วไป ขอบใบหยัก เป็นซี่ฟันเลื่อย ตื้นๆ
 สรรพคุณพญำยำ :
 ใบ รสขมเฝื่อน ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มกิน แก้ลมบ้าหมู
 รำก รสขมเย็น แก้โรคลาไส้ แก้ปวดท้องบริเวณลาไส้ใหญ่ และบริเวณลิ้นปี่ ขับเหงื่อ ฝนกับน้าสะอาด
ใช้ทาหน้าแทนแป้งทาให้ผิวสีเหลือง แก้สิวฝ้า เป็นยาถ่าย
 ผล มีรสขมเฝื่อน แก้พิษ แก้ไข้แก้อาหารไม่ย่อย แก้ท้องอืดเฟ้อ เป็นยาบารุงกาลัง ยาบารุงร่างกาย
 ผลสุก แก้ไข้เป็นยาสมานแผล ยาบารุง ช่วยเจริญอาหาร แก่น รสจืด เย็น ดองเหล้ากินแก้กษัย
ช้ำงงำเดียว
 ชื่ออื่น : ช้างงาเดียว, เดือยไก่, หนามเกียวไก่, หนามคือไก่, หนามคาใบ, หนามเดือยไก่
 ชื่อวิทยำศำสตร์ : Luvunga scandens (Roxb.) Buch.-Ham. (ParamignysScandens Craib.)
 ชื่อวงศ์ : Rutaceae
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :
 ช้ำงงำเดียว เป็นไม้รอเลื้อย เลื้อยได้ไกลถึง 25 – 30 เมตร
 ใบช้ำงงำเดียว ใบเดี่ยว เมื่อยังอ่อนเป็นใบเรียวยาวขอบขนานขนาด 12 x 2 ซม. เมื่อต้นโตขึ้นใบ
จะมีลักษณะเป็น 3 ใบย่อย ออกจากจุดเดียวกัน และขนาดเท่าๆ กัน 10 x 5 ซม. มีหนามโค้งงอ
ออกตรงข้ามกับใบ ขนาด 4 ซม. คล้ายงาช้าง
 ดอกช้ำงงำเดียว ดอกสีขาว เป็นช่อขนาดเล็กมี 5 กลีบ
 ผลช้ำงงำเดียว ผลกลมเมล็ดเดี่ยว
 สรรพคุณช้ำงงำเดียว :
 รำก จะมีรสขมเมาปร่า ใช้รักษาพิษฝีภายใน รักษาโรคไตพิการ รักษากษัย และปัสสาวะพิการ
บรรณานุกรม
 https://www.samunpri.com/tag/rutaceae/
 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B%87%E0%
 https://medthai.com
 www.Database/id.com
 www.เกร็ดความรู้.net
 https://medthai.com/รายชื่อสมุนไพร
 https://beezab.com/tag/citrus-aurantiifolia-christm
 https://www.samunpri.com
กิตติกรรมประกาศ
 งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสวนพฤกษศาสตร์สาเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดีเนื่องจากได้รับความร่วมมือจากคณะผู้จัดทาโครงงาน และขอกราบขอบพระคุณ คุณครูวิชัย
ลิขิตพรรักษ์ ที่ให้คาปรึกษาจนรายงานเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 

Similar to Plant ser 143_60_3

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 

Similar to Plant ser 143_60_3 (20)

สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 143_60_3

  • 1. งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา ( ว 30246 ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ห้อง 143 พืชที่นาเสนอ คือพืช Family : Rutaceae จานวน 9 ชนิด
  • 2. แนะนาสมาชิก  น.ส.มนัสวีกิจสมมารถ เลขที่ 14 น.ส. พรรษมน อิ้งจะนิล เลขที่ 12  น.ส.พรธีรา มณฑา เลขที่ 10  น.ส.พรรณภัทร ปิยภากรวุฒิกุล เลขที่ 11
  • 3. ครูผู้สอน : อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 4. คำนำ  รายงานชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงพืชในวงศ์ตระกูล Rutaceae เหตุที่เลือกวงศ์นี้เพราะกลุ่มของผู้จัดทานั้นได้เลือกต้นมะกรูดเป็น พืชตัวอย่างในการศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชในภาคเรียนที่ 1 โดยพืช Rutaceae นั้นเป็นพืชในตระกูลส้ม (Citrus) ตัวอย่างเช่น มะกรูด เลม่อน มะขวิด มะตูม มะนาว มะนาวผี ส้มโอมือ ส้มจี๊ด ส้มซ่า หัสคุณ โดยทางคณะผู้จัดทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่างานนาเสนอชิ้นนี้จะสร้างประโยชน์ และให้ความรู้ เพิ่มเติมเกี่ยวกับพืชสมุนไพรในวงศ์ส้มแก่ทุกๆคน คณะผู้จัดทา
  • 5. สำรบัญ 1. หัสคุณ 2. ส้มซ่า 3. ส้มจี๊ด 4. ส้มโอมือ 5. ส้มโอ 6. มะนาวผี 7. มะนาว 8. มะตูม 9. มะขวิด 10. มะกรูด 11. พญาญา 12. ช้างงาเดียว
  • 6. รับผิดชอบโดย น.ส.พรรษมน อิ้งจะนิล 1. หัสคุณ 2. ส้มซ่า 3. ส้มจี๊ด
  • 7. หัสคุณ  ชื่ออื่น : คอมขน, สามโซก (เชียงใหม่), หวด (ลาปาง), เพี้ยฟานดง, สมัดดง, สมัดต้น, สมัดใหญ่ (เลย), หัสคุณ (สระบุรี), ฉี้, ลิ้นชี่, ดอกสะมัด, สะแบก (อุดรธานี), ชะมุย (ชุมพร), มุยขาว (ประจวบคีรีขันธ์), หมุยขน (นครศรีธรรมราช)  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Micromelum minutum (Forst. f.) Wight & Arn.  ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ต้นหัสคุณ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ถึง 10 เมตร ตามกิ่งอ่อนมีขนสั้นสีเทา ส่วนต้นเป็น สีเขียว เมื่อแก่แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลอมเทา แตกเป็นร่องตื้น ตามยาว
  • 8.  ใบหัสคุณ เป็นใบประกอบแบบขนนกออกเรียงสลับ มีใบย่อยประมาณ 7-15 ใบ ใบย่อยเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร แผ่นใบเป็น สีเขียวอ่อน เนื้อใบบาง มีต่อมน้ามันเล็กๆ จับดูแล้วจะรู้สึกเหนียว หลังใบเกือบเรียบถึงมีขนสั้นๆ ส่วน ท้องใบมีขนบางๆ ใบมีกลิ่นหอมเหมือนการบูร มีรสหอมร้อน  ดอกหัสคุณ ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจานวนมาก ดอกย่อยมีกลีบดอกเป็นสีเขียวอ่อนหรือ สีขาวแกมเหลือง เมื่อดอกบานเต็มที่กลีบดอกจะม้วนไปด้านหลังเล็กน้อย  ผลหัสคุณ เป็นผลสด ออกเป็นพวงโต ลักษณะของผลเป็นรูปกระสวยหรือรูปไข่ขนาดเล็ก ผิวผลเรียบ ใส ฉ่าน้า ผลเป็นสีเขียวอ่อนมีขนปกคลุม เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีส้มหรือสีแดง
  • 9. สรรพคุณหัสคุณ :  รำก แก้โลหิตอันข้นด้วยบุพโพ แก้ไข้แก้โรคหอบหืด แก้ลม แก้ริดสีดวงรักษานิ่วในไต ขับเลือดและ หนอง  ใบ รมรักษาริดสีดวงจมูก แก้ไข้แก้ไข้อันผอมเหลือง แก้ไอ แก้หืดไอ แก้ลมอันเสียดแทง ช่วยขับลม ยอกในข้อ  ทั้งต้น แก้ไอ แก้เสมหะและลมทั้งปวง ช่วยแก้ลมภายในให้กระจาย ขับพยาธิไส้เดือน บารุงน้าดี  ดอก ช่วยแก้เสมหะให้ตก ขับเสมหะให้ลงสู่คูถทวาร  ผล เป็นยาถ่าย ขับพยาธิ  เปลือกต้น ช่วยแก้โลหิตในลาคอ และลาไส้ให้กระจาย  กระพี้แก้โลหิตในลาไส้
  • 10. ส้มซ่ำ  ชื่ออื่น : มะขุน, ส้มส่า, มะนาวควาย, ส้มมะงั่ว  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus aurantium var. aurantium  ชื่อวงศ์ : Rutaceae  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ต้นส้มซ่ำ เป็นไม้ยืนต้น สูง 3-10 เมตร ทรงพุ่มกลม มีกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม กิ่งมีหนามแหลม สั้น กิ่งแก่ อาจอวบยาวถึง 8 เซนติเมตร  ใบส้มซ่ำ ใบเดี่ยว เรียงสลับ มีจุดต่อมน้ามันมาก มีกลิ่นหอมเมื่อขยี้ ก้านใบยาว 2-3 เซนติเมตร ครึ่ง ตอน บนแผ่เป็นปีกแคบๆ ถึงกว้าง รูปคล้ายสามเหลี่ยมแกมไข่กว้าง ขนาดกว้างถึง 2.5 เซนติเมตร แผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปรี ขนาดกว้าง 4-7 เซนติเมตร ยาว 7-12 เซนติเมตร โคนใบสอบหรือมน ปลาย มนถึงปลายทู่ ขอบใบเกือบเรียบถึงจักเล็กน้อย
  • 11.  ดอกส้มซ่ำ ดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มดอกออกที่ซอกใบ กลีบสีขาว มี 2-3 ดอก มีกลิ่นหอมแรง ปกติเป็น ดอกสมบูรณ์เพศ มีดอกเพศผู้น้อย 5-12 % กลีบเลี้ยงรูปคล้ายถ้วย ยาว 0.4-0.5 เซนติเมตร มี 3-5 หยัก รูปไข่กว้างคล้ายสามเหลี่ยม เกลี้ยงหรือมีขน กลีบดอก มี 4-5 กลีบ รูปขอบขนาน  ผลส้มซ่ำ แบบส้ม รูปกลม ขนาดส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 เซนติเมตร มี 8-12 ห้อง ตรงกลางกลวง เปลือก หนา ผิวเรียบถึงเป็นตุ่มขรุขระ สีส้มเหลืองมีกลิ่นแรง เนื้อในเป็นกรด มีรสขม เล็กน้อย เมล็ดมีจานวน มาก  สรรพคุณส้มซ่ำ :  เปลือกผล รสปร่าหอมใช้ทายาหอมแก้ลมวิงเวียนหน้ามืดตาลาย แก้ท้องอืดเฟ้อ  น้ำในผล รสเปรี้ยวอมหวาน กัดฟอกเสมหะแก้ไอ ฟอกโลหิต  ใบ รักษาโรคผิวหนัง
  • 12. ส้มจี๊ด  ชื่ออื่น : ส้มกิมจ๊อ, ก่าควิด  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus Japonica Thunb.  ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ส้มจี๊ด เป็นไม้พุ่ม มีความสูงของต้นประมาณ 1.5-3 เมตร ตามกิ่งมีหนามแหลมคม ยาวประมาณ 1-3 เซนติเมตร  ใบส้มจี๊ด เป็นใบประกอบชนิดแบบลดรูปที่มีใบย่อยใบเดียว ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม โคนใบแหลม มีขนาดกว้าง ประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร แผ่นใบ หนาเนียน ผิวใบเป็นมันสีเขียว มีหูใบขนาดเล็ก
  • 13.  ดอกส้มจี๊ด ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่มๆ ดอกเป็นสีขาวมีกลิ่นหอม แรง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ร่วงได้ง่าย เมื่อดอกบานจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร ดอก มีเกสรเพศผู้จานวนมาก  ผลส้มจี๊ด มีลักษณะเหมือนผลส้มทั่วไป แต่จะมีขนาดเล็ก ส้มชนิดนี้เป็นส้มที่กินเปลือกผล ผลมีขนาดเล็กมีทั้งกลมและรี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร ผิวผล บางเป็นสีเขียวและมีกลิ่นหอม เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม เนื้อในผลมีรสเปรี้ยวจัด ภายใน ผลมีเมล็ดประมาณ 1-3 เมล็ด  สรรพคุณส้มจี๊ด :  ผล แก้อาการไอ ยาขับเสมหะ แก้อาการเจ็บคอ ช่วยแก้เสียงแหบ ช่วยแก้ภูมิแพ้ที่สาแดง อาการทางลาคอ ทาให้ปอดชื้น มีเสมหะมาก เป็นหวัดหายยาก ช่วยหล่อลื่นปอด แก้อาการ ท้องอืด มีลมในท้อง ลมตีขึ้นเบื้องบนซึ่งทาให้คลื่นไส้อาเจียน  เปลือกผล ช่วยขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยในการย่อยอาหาร
  • 15. ส้มโอมือ  ชื่ออื่นๆ : ส้มมือ  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus medica L. var. sarcodactylis(Hoola van Nooten) Swingle.  ชื่อวงศ์ : Rutaceae  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ส้มโอมือ เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงประมาณ 2-4 เมตร  เปลือกลาต้นเรียบสีน้าตาล ตามลาต้นและกิ่งมีหนามยาวแข็ง  ใบส้มโอมือ เป็นใบประกอบแบบลดรูป ใบย่อยมีใบเดียว ออกเรียงสลับ มีขนาดกว้าง 4-5 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบจักเป็นซี่ฟันหลังใบเรียบ สีเขียวเข้มเป็นมัน ท้องใบสีอ่อนกว่า
  • 16.  ดอกส้มโอมือ ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-3 ดอก ออกตามซอกใบ และกิ่ง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกด้านนอกมีสี ม่วงแดง หลุดร่วงง่าย กลีบเลี้ยวมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้เป็นเส้นสีขาวมี จานวนมาก  ผลส้มโอมือ รูปทรงรีขนาดใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 8-10 เซนติเมตร ยาว 12-15 เซนติเมตร ปลายผลเป็นแฉกงอคล้ายนิ้วมือ ผิวขรุขระเป็นมัน ผล อ่อนมีสีเขียว ผลสุกมีสีเหลือง ภายในผลมีสีขาวเหมือนเปลือกส้มโอ ไม่ มีเนื้อผล และเมล็ด  สรรพคุณส้มโอมือ :  เปลือกแห้ง ผิวผล มีน้ามันหอมระเหย ทายาดมส้มโอมือ สาหรับแก้หน้า มืด เป็นลม วิงเวียน น้าจากผล มีรสเปรี้ยวคล้ายมะกรูด มีวิตามินซีสูง กิน เป็นยาฟอกเลือด ประจาเดือนสตรี ใช้ผสมเป็นยากัดเสมหะ แก้ไอ แก้ เลือดออกตามไรฟัน
  • 17. ส้มโอ  ชื่ออื่น ๆ : มะขุน, มะโอ (ภาคเหนือ), โกร้ยตะลอง (เขมร),  ลีมาบาลี (มลายู-ยะลา), อิ่ว (จีน), สังอู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)  ชื่อสำมัญ : Pummelo, Shaddock  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus maxima Merr.  ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ส้มโอ เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอดของต้น ลาต้นมีสีน้าตาล และมี หนามเล็ก ๆ อยู่สูงประมาณ 8 เมตร  ใบส้มโอ เป็นไม้ใบเดี่ยว ลักษณะเป็นรูปมนรี ปลายใบและโคนใบมนขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย พื้น ใบเป็นสีเขียวและมัน แต่ตรงก้านใบจะมีส่วนที่แผ่ออกเป็นปีกรูปคล้ายหัวใจ ขนาดของใบกว้าง ประมาณ 1-4 นิ้วยาว 4-6 นิ้ว
  • 18.  ดอกส้มโอ ออกเป็นช่อและดอกเดี่ยว แต่ส่วนมากมักจะเป็นดอกเดี่ยวอยู่ตามง่ามใบ ดอกมีสีขาว ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมีเกสร 20-25 อัน  ผลส้มโอ เป็นลูกกลม ๆ โตและตรงหัวของผลจะนูนขึ้นมาเป็นกระจุก เมื่อยังอ่อนเป็นสีเขียวพอ แก่หรือสุกเป็นสีเหลือง เปลือกผลมีต่อมน้ามันมาก ขนาดของผลยาวประมาณ 5-7 นิ้วเนื้อในสี ชมพูและสีเหลืองอ่อนมีรสหวานหรือเปรี้ยว จะมีอยู่ราว ๆ 12-18 กลีบ เมล็ดมีจานวนมากสี น้าตาลออกเหลือง ๆ  สรรพคุณส้มโอ :  ใบ เป็นยาแก้ปวดข้อ ท้องอืดแน่น แก้ปวดหัว (ตาพอกที่ศีรษะ)  ดอก แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระบังลม ขับเสมหะ ขับลม
  • 19.  ผล แก้เมาสุรา ขับลมในลาไส้และกระเพาะอาหาร ทาให้เจริญอาหาร เหมาะสาหรับสตรีมีครรภ์เบื่อ อาหาร ปากไม่รู้รสอาหาร  เปลือกผล เป็นยาขับลม ช่วยขับเสมหะ แก้อึดอัด แน่นหน้าอก ไอ จุกแน่น ปวดท้องน้อย ไส้เลื่อน หรือต้มน้าอาบแก้คัน ใช้ตาพอกฝี  เมล็ด แก้ไส้เลื่อน แก้ปวดท้อง ลาไส้เล็กหดตัวผิดปกติ  รำก แก้หวัด แก้ไอ แก้ปวด ปวดท้องน้อยและกระเพาะอาหาร ไส้เลื่อน
  • 20. มะนำวผี  ชื่ออื่น : ขี้ติ้ว, จ๊าลิ้ว (เหนือ), นางกาน (ขอนแก่น), กะนาวพลี, กรูดผี (ใต้), มะลิว, กรูดเปรย  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Atalantia monophylla (DC.) Corra  ชื่อวงศ์ : Rutaceae  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  มะนำวผี เป็นไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 เมตร ลาตันและกิ่งค่อนข้างเป็นเหลี่ยม มี หนามยาวหนึ่งอันตามซอกใบ หนามยาว 1-1.5 ซม. เปลือกลาต้นสีน้าตาล มีรอยแตกตื้นๆ ตามยาว ของลาต้น  ใบมะนำวผี ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ หรือรูปรี กว้าง 1.8-4.5 ซม. ยาว 4.8-8 ซม. ปลายป้านเป็นติ่ง โคนรูปลิ่ม กว้าง ขอบเรียบ หรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบแผ่เรียบ หนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนสีเขียว เข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอ่อน เกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนกระจายตามเส้นกลางใบ เส้นใบข้าง 5-7 คู่ เส้นใบย่อยแบบร่างแห ชัดเจนทางด้านล่าง ก้านใบยาว 4-8 มม.
  • 21.  ดอกมะนำวผี ช่อดอก แบบช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ ก้านช่อดอก และก้านดอกเกลี้ยง ถึงมีขนละเอียด ก้าน ดอก ยาว 0.8-1.5 ซม. ใบประดับย่อย รูปใบหอก ร่วงง่าย ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขน กลีบเลี้ยงไม่สมมาตร แยกออกถึงฐานเพียงหนึ่งด้าน มักมี 2 แฉก ดอกมีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาว มี 4 หรือ 5 กลีบ แยกจากกัน เป็นอิสระ รูปขอบขนานแกมรูป  ผลมะนำวผี ผลกลม หรือรี ขนาดเล็ก สีเขียวอ่อนหรือเทา เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม. ผิวหนาคล้ายหนังมี ต่อมน้ามันเป็นจุดหนาแน่น ปลายผลมีก้านเกสรเพศเมีย ติดทน ผลภายในมีกลีบคล้ายส้มเมล็ดจานวนน้อย รูปรี สีขาว
  • 22.  สรรพคุณมะนำวผี :  ใบ มีกลิ่นคล้ายใบมะกรูดหรือใบมะนาว แก้โรคทางเดินหายใจ แก้จุกเสียด แก้ท้องเสีย รักษาโรค ผิวหนัง  ผล รักษาโรคทางเดินหายใจ  น้ำมันจำกเปลือกผล ใช้ทาภายนอก แก้โรคไขข้ออักเสบ
  • 23. รับผิดชอบโดย น.ส.พรธีรา มณฑา 1. มะนาว 2. มะตูม 3. มะขวิด
  • 24. มะนาว  ชื่ออื่น ๆ : มะนอเกละ, ปะนอเกล, มะเน้าด์เล (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ปะโหน่งกลยาน (กะเหรี่ยง- กาญจนบุรี), ส้มมะนาว (ทั่วไป), หมากฟ้า (เงี้ยง-แม่ฮ่องสอน) ชื่อสำมัญ : Common lime, Lime ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus aurantifoliaSwing. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ต้นมะนำว เป็นพรรณไม้พุ่ม ยืนต้น ลาต้นมีความสูงประมาณ .5-3.5 เมตร ผิวเปลือกลาต้นเรียบเกลี้ยง ส่วนกิ่งก้านอ่อนมีหนามยาวประมาณ 3-13มม.  ใบมะนำว ใบออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปรียาว ปลายใบแหลม โคนใบกลมมีปีก แคบ ๆ ริมขอบใบหยัก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-5.5 ซม. ยาวประมาณ 2.5-9 ซม.  ดอกมะนำว ดอกออกเป็นช่อสั้น ๆ มีประมาณ 5-7 ดอก หรืออาจเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะของดอกมีสีขาว กลีบดอกมีประมาณ 4-5 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปรียาว ปลายกลีบแหลม ตรงกลางดอกมีเกสรตัวผู้และตัว เมียเล็ก ๆ อยู่
  • 25.  ผลมะนำว ผลมีลักษณะเป็นรูปกลม พื้นผิวเรียบเกลี้ยง ขนาดของผลมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 นิ้ว ผลอ่อนมีสีเขียวเข้มเมื่อแก่ผลก็เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เนื้อในผลจะแยกออกเป็นซีก ภายในเนื้อก็จะมี เมล็ด ลักษณะกลมรี สีเหลืองอ่อน ผลหนึ่งก็จะมีหลายเม็ด  สรรพคุณมะนำว :  ใบ ใช้ใบสดประมาณ 10-15 กรัม นามาต้มเอาน้ากินใช้ เป็นยาแก้ไอ ละลายเสมหะ แก้ท้องอืด ท้องเสีย ช่วยขับลม และทาให้เจริญอาหาร  ผล ใช้ผลสด นามาคั้นเอาน้ากิน หรือกินสด เป็นยาแก้กระหาย แก้ร้อนใน บารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้ เลือดออกตามไรฟัน และถ่ายพยาธิ หรือใช้ผลดองเกลือ จนเป็นสีน้าตาล ใช้เป็นยาขับเสมหะ ทาให้ ชุ่มคอ  เปลือกผล ใช้เปลือกผลแห้ง ประมาณ 10-15 กรัม ต้มเอาน้ากินเป็นยาแก้จุกเสียดแน่นท้องแก้ปวด ท้อง ขับเสมหะ บารุงกระเพาะอาหาร ขับลม  รำก ใช้รากสด ประมาณ 15-30 กรัม นามาต้มเอาน้ากิน เป็นยาแก้ฟกช้าจากการถูกกระแทก หรือจาก การหกล้มแก้ปวด และแก้พิษสุนัขบ้ากัด
  • 26. มะตูม  ชื่ออื่น ๆ : มะปิน (ภาคเหนือ), ตูม, ตุ่มตัง, กะทันตาเถร (ปัตตานี-ภาคใต้)  ชื่อสำมัญ : Bengal Quince, Bilak, Bael, Bael fruit  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Aegle marmelos Corr.  ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ต้นมะตูม เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร เรือนยอดรูปไข่ เปลือกต้นสี เทาเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆตามยาว เนื้อไม้แข็ง มีสีขาวแกมเหลือง และมีกลิ่นหอม  ใบมะตูม เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ออกเรียงสลับ ใบรูปไข่ กว้าง 1-7 เซนติเมตร ยาว 4-13 เซนติเมตร สองใบล่างมีขนาดเล็กและติดตรงข้ามกัน ใบปลายมีขนาดใหญ่ ปลายใบสอบ โคนใบ แหลม ขอบใบเรียบหรือมีหยักมนๆ แผ่นใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือสีชมพู มีขน ละเอียด ใบแก่สีเขียวเข้ม เรียบเกลี้ยง
  • 27.  ดอกมะตูม ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ออกรวมกันเป็นช่อสั้นๆ ดอกสีขาวอมเขียวหรือสีเหลือง อ่อน ดอกมักออกพร้อมกับใบอ่อน มีกลิ่นหอม กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปไข่กลับ โคนติดกัน ดอกสมบูรณ์เพศ  ผลมะตูม รูปรีกลมหรือรียาว ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา แข็งมาก ไม่แตก ผลอ่อนมีสีเขียวพอสุกมีสีเหลือง เนื้อผลมีสีเหลือง นิ่ม มีกลิ่นหอม และมีเนื้อเยื่อสีส้มที่มียางเหนียวๆ ภายในมี 8-15 ช่อง  สรรพคุณมะตูม :  ผล รสฝาด หวานชุ่ม เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อกระเพาะและลาไส้ ใช้เป็นยาแก้ท้องเดิน ท้องเสียเรื้อรัง แก้บิด มูกเลือด บิดเรื้อรัง บารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้เจ็บคอยังมีสรรพคุณพิเศษคือมีฤทธิ์ลดความกาหนัด คลายกังวล และช่วยให้สมาธิดีขึ้น ชาวพุทธจึงนิยมใช้ทาเป็น น้าปานะ ถวายพระสงฆ์  ผลดิบแห้ง ชงน้าดื่ม แก้ท้องเสีย แก้บิด  ผลสุก รสหวานเย็น เป็นยาระบาย ช่วยย่อยอาหาร บารุงไฟธาตุ แก้ลมในท้อง แก้มูกเลือด  ผลอ่อน รสฝาดร้อนปร่าขื่น บดเป็นผง ต้มกินแก้ธาตุพิการ แก้ท้องเสีย แก้บิด แก้โรคกระเพาะอาหาร ทาให้เจริญอาหาร ขับลม บารุงกาลัง
  • 28. มะขวิด  ชื่ออื่น : มะฟิด ชื่อวิทยำศำสตร์ : Limonia acidissima L. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  มะขวิด เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เซนติเมตร เป็นไม้ ผลัดใบ แต่ผลิใบไว รูปทรงของต้นสวยงาม ลักษณะเป็นทรงเรือดยอดพุ่มกลม เปลือกลาต้นภายนอก มีสีเทา ส่วนภายในมีสีขาว  ใบมะขวิด ใบออกเป็นช่อแบบข้อต่อเรียงสลับหรือติดกันเป็นกระจุกในบริเวณปุ่มตามกิ่งต่างๆ ช่อใบ ยาวประมาณ 8-15 เซนติเมตร ในแต่ละช่อจะมี 1-4 ปล้อง หลังใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน เนื้อใบค่อนข้าง หนาเกลี้ยง ส่วนท้องใบจะมีสีจางกว่า เมื่อเอาใบมาส่องผ่านแสงจะเห็นเป็นต่อมน้ามันอยู่ทั่วไป ลักษณะเป็นรูปรีๆ ใสๆ มากมายส่วนขอบใบเรียบก้านใบย่อยจะสั้นมาก แต่ก้านช่อใบจะยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร
  • 29.  ผลมะขวิด มีลักษณะกลมตัว เป็นผลแห้ง เปลือกภายนอกแข็งเป็นกะลามีสีเทาอมขาว ผลมีเนื้อมาก เนื้อ ในผลอ่อนนิ่ม เมื่อผลสุกแล้วเนื้อเยื่อจะเป็นสีดาสามารถใช้รับประทานได้โดยให้รสหวานอมเปรี้ยว มี กลิ่นหอม มียางเหนียว ส่วนในผลมีเมล็ดจานวนมาก มีเมือกหุ้มเมล็ด เปลือกหนา และมีขน สามารถ นามาเคี้ยวรับประทานได้เช่นกัน  สรรพคุณมะขวิด :  รำก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต  เปลือก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อย แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต  ใบ แก้ฟกบวม แก้พยาธิ แก้ฝีเปื่อยพัง แก้ท้องร่วง แก้ตกโลหิต  ดอก แก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต  ผล แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต เป็นยาบารุง ทาให้สดชื่น เจริญอาหาร บาบัดโรคท้องเสีย  ยำง เจริญไฟธาตุ แก้ท้องเสีย สมานบาดแผล
  • 30. รับผิดชอบโดย น.ส.มนัสวี กิจสมมารถ 1. มะกรูด 2. พญาญา 3. ช้างงาเดียว
  • 31. มะกรูด  ชื่ออื่น ๆ : ส้มกรูด, ส้มมั่วผี (ภาคใต้), มะหูด (หนองคาย), ส้มมะกรูด (ภาคกลาง) ชื่อสำมัญ : LeechLime, Kaffir Lime, Porcupine orange ชื่อวิทยำศำสตร์ : Citrus hystrix DC. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  มะกรูด เป็นพรรณไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก ลาต้นเป็นไม้เนื้อแข็งผิวเปลือกต้นเรียบ ลาต้นและกิ่งก้านมี หนามแหลม  ใบมะกรูด ใบมีลักษณะคล้ายกับใบไม้2 ใบ ต่อกันอยู่ใบมีสีเขียวแก่ พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ไม่ มีกลิ่นหอม  ดอกมะกรูด ดอกมีสีขาว คล้ายดอกมะนาว ดอกมีกลิ่นหอม  ผลมะกรูด ผลมีขนาดเท่ากับผลมะนาว ผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็น สีเขียวแก่ เมื่อผลสุกก็จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด
  • 32.  สรรพคุณมะกรูด :  รำก มีรสจืดเย็น แก้ไข้แก้กาเดา ถอนพิษผิดสาแดง แก้ลมจุกเสียด กระทุ้งพิษไข้แก้พิษฝีภายใน แก้ เสมหะเป็นพิษ  ใบ มีรสปร่าหอม แก้ไอ อาเจียนเป็นโลหิต ดับกลิ่นคาว แก้ช้าใน  ผล มีรสเปรี้ยว แก้น้าลายเหนียว แก้เสมหะในคอ กัดเถาดานในท้อง แก้ประจาเดือนเสีย ฟอกโลหิต ประจาเดือน ขับประจาเดือน ขับลมในลาไส้ ผลเอาใส้ออกแล้วใส่มหาหิงส์เข้าไปสุมไฟให้เกรียม บด กวาดลิ้นเด็กอ่อน ขับขี้เทา ขับลม แก้ปวดท้อง ผลปิ้งไฟให้นิ่มใช้สระผม ทาให้ผมดกดาเงางาม แก้คัน ศีรษะ แก้รังแค  ผิวของผล มีรสปร่าหอม ขับลมในลาไส้ ขับประจาเดือน ขับผายลม
  • 33. พญำยำ  ชื่ออื่น ๆ : พญายา(กลาง ราชบุรี), ขะแจะ (เหนือ), ตุมตัง (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ตะนาว (มอญ), พุดไทร ชะแจะ, กระแจะจัน, พินิยา, ฮางแกง, กระแจะ  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Hesperethusa crenulata (Roxb.) Roem.  ชื่อวงศ์ : RUTACEAE  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  พญำญำ ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เนื้อไม้สีขาว เปลือกต้นสีน้าตาล ขรุขระ ลาต้นและกิ่งมีหนาม มีหนามแข็ง และยาว หนามออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ตรง ยาวได้ถึง 2.5 เซนติเมตร ไม่ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร  ใบพญำยำ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย 4-13 ใบ รูปวงรีแกมไข่กลับ เนื้อ ใบบางคล้ายกระดาษถึงหนาคล้ายแผ่นหนัง เนียน เกลี้ยง เมื่อส่องดูจะเห็นต่อมน้ามันเป็นจุดใสๆ กระจายอยู่ทั่วไป ขอบใบหยัก เป็นซี่ฟันเลื่อย ตื้นๆ
  • 34.  สรรพคุณพญำยำ :  ใบ รสขมเฝื่อน ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มกิน แก้ลมบ้าหมู  รำก รสขมเย็น แก้โรคลาไส้ แก้ปวดท้องบริเวณลาไส้ใหญ่ และบริเวณลิ้นปี่ ขับเหงื่อ ฝนกับน้าสะอาด ใช้ทาหน้าแทนแป้งทาให้ผิวสีเหลือง แก้สิวฝ้า เป็นยาถ่าย  ผล มีรสขมเฝื่อน แก้พิษ แก้ไข้แก้อาหารไม่ย่อย แก้ท้องอืดเฟ้อ เป็นยาบารุงกาลัง ยาบารุงร่างกาย  ผลสุก แก้ไข้เป็นยาสมานแผล ยาบารุง ช่วยเจริญอาหาร แก่น รสจืด เย็น ดองเหล้ากินแก้กษัย
  • 35. ช้ำงงำเดียว  ชื่ออื่น : ช้างงาเดียว, เดือยไก่, หนามเกียวไก่, หนามคือไก่, หนามคาใบ, หนามเดือยไก่  ชื่อวิทยำศำสตร์ : Luvunga scandens (Roxb.) Buch.-Ham. (ParamignysScandens Craib.)  ชื่อวงศ์ : Rutaceae  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ :  ช้ำงงำเดียว เป็นไม้รอเลื้อย เลื้อยได้ไกลถึง 25 – 30 เมตร  ใบช้ำงงำเดียว ใบเดี่ยว เมื่อยังอ่อนเป็นใบเรียวยาวขอบขนานขนาด 12 x 2 ซม. เมื่อต้นโตขึ้นใบ จะมีลักษณะเป็น 3 ใบย่อย ออกจากจุดเดียวกัน และขนาดเท่าๆ กัน 10 x 5 ซม. มีหนามโค้งงอ ออกตรงข้ามกับใบ ขนาด 4 ซม. คล้ายงาช้าง  ดอกช้ำงงำเดียว ดอกสีขาว เป็นช่อขนาดเล็กมี 5 กลีบ  ผลช้ำงงำเดียว ผลกลมเมล็ดเดี่ยว
  • 36.  สรรพคุณช้ำงงำเดียว :  รำก จะมีรสขมเมาปร่า ใช้รักษาพิษฝีภายใน รักษาโรคไตพิการ รักษากษัย และปัสสาวะพิการ
  • 37. บรรณานุกรม  https://www.samunpri.com/tag/rutaceae/  https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B%87%E0%  https://medthai.com  www.Database/id.com  www.เกร็ดความรู้.net  https://medthai.com/รายชื่อสมุนไพร  https://beezab.com/tag/citrus-aurantiifolia-christm  https://www.samunpri.com