SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
รัชนู รัตนเดชา
วาสนา รอดเนียม
อังจิรา สันจิตร
 ในปัจจุบันหมู่บ้านของเรามีอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงบ่อย จึงทาให้คน
ในหมู่บ้านมีอาการป่วย เช่น ไอ จาม ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไม่สบายตัว เป็นต้น
ถ้ามีอาการเหล่านี้ที่สะสมไปนานๆอาจจะทาให้เกิดโรคมากมาย อาจจะทาให้
เกิดโรคมากมาย ในบางครั้งคนที่ป่วยด้วยอาการเช่นนี้ เขาไม่มีโอกาสที่จะไป
พบแพทย์ทาให้เกิดอาการป่วยเรื่อรัง และอาจจะทาให้อาการหนักขึ้นเมื่อจะไป
พบแพทย์ก็ยากที่จะรักษาอาจจะสายเกินไป
 ด้วยเหตุนี้กลุ่มของพวกราจึงเห็นว่าปัญหาอาการป่วยนี้จะสามารถ
แก้ไขได้อาจจะไม่ทั้งหมดแต่ก็อาจจะทาให้อาการป่วยทุเลาลงได้ด้วยการให้
สมุนไพรในท้องถิ่นตะโหมดซึ่งมีมากมายหลายชนิด ในท้องถิ่นตะโหมดที่หาได้
และบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค และสมุนไพรบางชนิดอาจจะนามา
ทายาได้ทางกลุ่มของพวกเราจึงศึกษาและรวบรวมความรู้ต่างๆๆที่เกี่ยวกับ
สมุนไพรในท้องถิ่นตะโหมด
 1 ได้รู้ถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่ศึกษา
 2 สมุนไพรลักษณะที่แตกต่างกัน
 3 ได้รู้ว่าสมุนไพรในตะโหมดมีอะไรบ้าง
 1. เพื่อศึกษาสรรพคุณของสมุนไพร
 2. เพื่อศึกษาลักษณะของสมุนไพร
 3. เพื่อศึกษาสมุนไพรที่มีในตะโหมด
 รายงาน เรื่อง สมุนไพรพื้นบ้านของตะโหมด ใช้ระยะเวลาในการศึกษา
ค้นคว้า ตั้งแต่วันที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 6 เดือน
มกราคม พ.ศ. 2559
 สถานที่ดาเนินการ ได้แก่ บ้านตะโหมด
 1ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพร
 2 ได้รู้ลักษณะของสมุนไพร
 3 เราได้รู้จักสมุนไพรในบ้านตะโหมด
 สารวจและศึกษาค้นคว้าพืชสมุนไพรในท้องถิ่นตะโหมด
 ประชากร 10 คนในตะโหมด
 1.สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์
และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตารับยา เพื่อบาบัด
โรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่สอง
ชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตารับยา นอกจากพืช
สมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียก
พืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืช
สมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวานกานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น
พืชเหล่านี้ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ
 ลักษณะของสมุนไพร
 สรุปได้ว่า พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่า
ทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสาร
ที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยา
มากน้อยกว่ากันเท่านั้นพืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยา
สมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ดังนี้รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้
เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ดสี มองแล้วเห็นว่าเป็นสี
เขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีน้าตาล สีดากลิ่น ให้รู้
ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไรรส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร
รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเย็นชื่อ
ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็น
อย่างไร ใบขี้เหล็กเป็นอย่างไร
 1. กล้องดิจิตอล
 2. เอกสารเกี่ยวกับสมุนไพรต่างๆ
 3. เอกสารการทาสมุนไพร
 4. ดินสอ ปากกา กระดาษ
 5. คอมพิวเตอร์ เครื่องพริ้น
 1. สารวจพืชสมุนไพรที่พบภายในหมู่บ้านตะโหมดแล้วจดบันทึก
รายละเอียดและถ่ายรูปพืชสมุนไพรแต่ละชนิดไว้
 2. สอบถามผู้รู้ในท้องถิ่นว่าพืชสมุนไพรชนิดนี้คืออะไรกรณีที่ไม่รู้
 3. นาข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมา จัดจาแนกประเภทและหาข้อมูล
เพิ่มเติม จากหนังสือและ อินเตอร์เน็ต ให้ได้ข้อมูลที่มีความ
สมบูรณ์ ถูกต้อง แม่นยา มากที่สุด
 4. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
 ชื่อไทย มะนาว
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurati Folia christmonm Swing
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ทรงพุ่ม มีหนามตามต้น ก้านใบสั้น ตัวใบ
รูปร่างกลมรี ขอบใบหยักเล็กน้อย ปลายและโคนใบมน ดอก เล็กสีขาวอมเหลือง
กลิ่นหอมอ่อนๆ ผลกลมเปลือกบางเรียบมีน้ามาก รสเปรี้ยว เปลือกผลมีน้ามัน
กลิ่นหอม รสขมส่วนที่ใช้เป็นยา ผล สรรพคุณและวิธีใช้ ใช้ผลสดคั้นเอาน้ามาผสม
กับเกลือเล็กน้อย ชงกับน้าร้อนดื่มรักษาอาการไอและขับเสมหะ
 ชื่อไทย ฝรั่ง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Psidium guajava Linnaeus
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ฝรั่งไม้พุ่มขนาดใหญ่ประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวผลฝรั่งจัดเป็นผล
เดี่ยวมีขนาดต่างๆ กัน โดยทั่วไปมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-7 เซนติเมตร บาง พันธุ์มี
ผลใหญ่กว่าเมื่อแก่ผล ฝรั่งจะหวานกรอบ และเมื่อสุกเต็มที่เนื้อจะนิ่มและมีกลิ่นหอม
ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลและใบ
 สรรพคุณและวิธีใช้
 1. นาผลฝรั่งอ่อน ๆ มาฝานเอาแต่เปลือก
 กับเนื้อทิ้งเมล็ดไป ใส่เกลือเล็กน้อย ให้พอกร่อยๆ
 แล้วกินรวมกัน หรือจะใช้ต้มน้าดื่มก็ได้
 2. ถ้าใบมีผลใช้ใบประมาณ 10 ถึง 15 ใบ
 นามาล้างให้สะอาดแล้วโขลกให้พอแหลก
 ใส่ลงในน้าแล้วนาไปต้มให้เดือด ใส่เกลือพอมีร
 สกร่อย นาน้านั้นมาดื่ม ใช้แก้ท้องร่วง
 ชื่อไทย ชุมเห็ดเทศ
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia alata Linnaeus
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม ใบประกอบแบบขนนก แผ่นใบย่อย รูปขอบขนานแกม รูปรี โคนใบ
มน ปลายใบมนหรือเว้าเล็กน้อย ขอบใบเรียบ มีสีแดง ดอกออกเป็นช่อใหญ่ ตามง่ามใบใกล้
ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง รูปไข่ เกือบกลมหรือรูปซ้อน ผล
เป็นฝักรูปใบไม้บรรทัด ฝักแก่สีดาและแตกตามยาว เมล็ดเกือบเป็นรูปสีเหลี่ยม ผิวขรุขระ สีดา
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ ดอก
 สรรพคุณและวิธีใช้
 1. ใช้ช่อดอก 2-3 ช่อ ต้มกินกับน้าพริกเพื่อระบายท้อง
 2. ใช้ใบสด 8-12 ใบผึ่งแดดจนแห้ง แล้วป่น
 ให้เป็นผง ชงกับน้า เดือด รินน้าดื่มเพื่อระบายท้อง
 3. นาใบสดมาต่าให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณที่เป็น
 กลางหรือเป็นสังคัง
 ชื่อไทย ฟ้าทะลายโจร
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex Nees
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูง30-60 เซนติเมตร ลาต้นตรงกิ่งก้านเป็น
สันสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามรูปใบหอก กว้าง1-2.5เซนติเมตร ยาว 4-10
เซนติเมตร คนใบและปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย เนื้อใบสีเขียวเข้ม
ก้านใบยาว 2-8 มิลลิเมตร ดอกช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสี
ขาวเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 2 ปาก ปากบน 2 กลีบ ปากล่าง 3 กลีบ ซึ่ง 2 ข้างมีแถบ
สีม่วงแดง และกลีบกลางมีแต้มสีม่วงตรงกลางกลีบ ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก ยาว
ได้ 2 เซนติเมตร เมล็ดประมาณ 6 เมล็ดต่อช่อง รูปไข่สีน้าตาลส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ ต้น
 สรรพคุณและวิธีใช้
 รักษาโรคอุจจาระร่วง และบิด แก้เจ็บคอ แก้ร้อนใน แก้ไข้ ป้องกันหวัด มีฤทธิ์
ลดอาการท้องเสีย เป็นยาขมช่วยเจริญอาหา
 ชื่อไทย ตาลึง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis Linnaeus Voigt ลักษณะทาง
พฤกษศาสตร์ เป็นไม้เถาขนาดกลางมือเกาะเดี่ยว ใบเดี่ยว รูปหัวใจเว้าเล็กน้อย สี
เขียวเข้ม ดอกเดี่ยว สีขาว ผลกลม เหมือนแตงกวาแต่เล็กกว่ามาก สีเขียวลายขาว
เมื่อสุกสีแดงแสด ปลูกเป็นผัก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ
 สรรพคุณและวิธีใช้
ใช้ใบสดตาคั้นเอาน้าทาแก้พิษแมลงสัตว์กัด ต่อย
 ชื่อไทย ตะไคร้
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Cybopogon Sitratus De Candolle Stapf
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง ๐.๗๕ - ๑.๒ เมตร แตกเป็นกอ
เหง้าใต้ดินมีกลิ่นเฉพาะ ข้อและปล้องสั้นมาก กาบใบสีขาวนวลหรือขาวปนม่วง ยาว
และหนาหุ้มข้อและปล้องไว้แน่น ใบเดี่ยวเรียงสลับ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๗๐-๑๐๐ ซม.
แผ่นใบและขอบใบสากและคม ออกดอกยากส่วนที่ใช้เป็นยา ต้นและราก
 สรรพคุณและวิธีใช้
 นาตะไคร้ทั้งต้นและรากมา 5 ต้น สับให้เป็นท่อนต้มกับน้า 3ส่วนและเกลือ
เล็กน้อย ต้มให้เหลือ 1 ส่วน กินครั้งละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน ติดต่อกัน
3 วัน สาหรับรักษาอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุกเสียดแน่น
 ชื่อไทย ว่านหางจระเข้)
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Aloe barbadensis Mills
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก สูง 0.5 -1 เมตร ข้อและปล้องสั้น ใบเดี่ยว เรียง
รอบ ต้น กว้าง 5-12 เซนติเมตร ยาว 30-80 เซนติเมตร อวบน้ามากสีเขียวอ่อน หรือ
เขียวเข้ม ภายในมีวุ้นใส ใต้ผิวสีเขียวมีน้ายางสีเหลือง ใบอ่อนมีประสีขาว ดอกช่อ
ดอกยาว50-100 เซนติเมตรออกจาดกลางต้น ดอกย่อยเป็นหลอดห้อยลง สีส้ม บาน
จากล่างขึ้นบน แตกได้ ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ
 สรรพคุณและวิธีใช้
 1. นาใบมาล้างให้สะอาด โดยเฉพาะตรงรอยตัด ต้องล้างยางออกให้หมดปอก
เปลือกทางด้านโค้งออก โดยระวังไม่ให้มือ ถูกชิ้นวุ้น ใช้มีดสับวุ้น และขูดวุ้นออกใส่
ถ้วยที่สะอาด นา น้าเมือกที่ได้จากวุ้นไปใช้ทางรักษาแผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก
ฝี และแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
 2. ใช้วุ้นแปะแผลในปากหรือแผลที่ริมฝีปากบ่อยๆแผลจะหายเร็วขึ้น
 ชื่อไทย มะเขือพวง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum indicum Linnaeus
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มยืนต้นทรงพุ่มสูงกว่า 1 เมตรขึ้นไปถึง 2 เมต รมี
ผลออกรวมกันเป็นกลุ่มหลายๆผลอยู่บนช่อเดียวกัน มีดอกขนาดเล็ก กลีบดอกสี
ขาวหรือม่วง เกสรสีเหลือง ผลกลมขนาดเล็กเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1
เซนติเมตร ก้านผลยาว อยู่รวมกันเป็นช่อกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียวหนาเหนียว
ผลแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เมื่อสุกเป็นสีแสดแดง ภายในผลมีเมล็ดมากมายส่วนที่ใช้
เป็นยาผล
 สรรพคุณและวิธีใช้
 ใช้ผลสด 5-10 ผลโขลกให้พอแหลก
 คั้นเอาแต่น้า ใส่เกลือเล็กน้อยใช้จิบบ่อยๆ
 หรือจะใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้าและ เนื้อ
 สาหรับระงับอาการไอและขับเสมหะ
 ชื่อไทย กะเพรา
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum Sanctum Linnaeus
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มล้มลุก ซึ่งอาจสูงถึง 1 เมตร ใบเป็นรูปไข่ บางและนุ่ม
ลาต้นและใบมีขนปกคลุมทั่วไป ใบมีสีเขียว บางสายพันธุ์สีม่วงอมแดง ใบมีรสเผ็ดร้อน
ใช้รับประทานสดได้ ช่อดอกตั้งตรง โดยมีดอกติดรอบแกนช่อเป็นชั้นๆส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ
 สรรพคุณและวิธีใช้
 1. ใช้ใบสดและยอด 1 กามือ น้าหนักสด
 ประมาณ 25 กรัมแห้งประมาณ 4 กรัม ต้มเอาน้า
 สาหรับรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
 และปวดท้อง เหมาะสาหรับเด็ก
 2. ใช้ใบสด 3 ใบ ผสมเกลือพอสมควร
 บดให้ละเอียด ละลายในน้าสุกหรือน้าผึ้ง หยอด
 ให้เด็กอ่อนที่คลอดได้ราวๆ 2 – 3 วันกินเป็นยาขับลม
 ชื่อไทย ขี้เหล็ก
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia siamea Limarck
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นสูงได้ถึง 10–15 เมตร ใบใหญ่ยาวประมาณ20 ซม.
ประกอบไปด้วยใบย่อย 7–16 คู่ รูปร่างขอบขนานปลายมน หรือขอบขนานเรียวปลายคล้าย
รูปไข่ ปลายใบหยักเว้าหาเส้นกลางใบเล็กน้อย โคนใบกลม ใต้ใบสีซีดว่าด้านบนและมีขน
เล็กน้อย กว้าง 1–2.5 ซม. ยาว 3–7 ซม. ดอกออกเป็นช่อใหญ่ ยาวประมาณ 15–30 ซม.
ดอกใหญ่ 2–4 ซม.สีเหลืองสด กลีบรองกลีบดอกมักโค้งกลับ มีขน ผลเป็นฝักค่อนข้าง
หนา กว้าง 1.2–2 ซม. ยาว 15–30 ซม. ภายในมีเมล็ดใหญ่ยาว จานวน20–30 เมล็ดส่วนที่
ใช้เป็นยา ใบ
 สรรพคุณและวิธีใช้
 1. ใช้ใบขี้เหล็ก 4-5 กามือ ต้มเอาแต่น้าดื่มก่อนอาหาร รักษาอาการท้องผูก
 2. ใช้ใบแห้งหนัก 30 กรัม หรือใบสดหนัก 50 กรัม ต้มเอาแต่น้าดื่มก่อนนอนรักษา
อาการนอนไม่หลับ
 1.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดมีสรรพคุณที่แตกต่างกันคือ มะนาว มีสรรพคุณแก้
ไอ และขับเสมหะ เป็นต้น ฝรั่ง มีสรรพคุณแก้ท้องร่วงเป็นต้น ฟ้าทะลาย
โจร มีสรรพรักษาโรคอุจจาระร่วง และบิด แก้เจ็บคอ แก้ร้อนใน แก้ไข้
ป้องกันหวัด มีฤทธิ์ลดอาการท้องเสีย เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร เป็นต้น
ชุมเห็ดเทศ มีสรรพคุณใช้ทาบริเวณที่เป็นกลางหรือเป็นสังคัง เป็นต้น
ตาลึง มีสรรพคุณใช้ใบสดตาคั้นเอาน้าทาแก้พิษแมลงสัตว์กัด ต่อย เป็น
ต้น ตะไคร้ มีสรรพคุณอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุก
เสียดแน่น เป็นต้นว่านหางจระเข้
 สรรพคุณ แผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก ฝี และแก้พิษแมลง
สัตว์กัดต่อย เป็นต้นมะเขือพวง มีสรรพคุณ ระงับอาการไอและขับ
เสมหะ เป็นต้น กระเพรา มีสรรพคุณรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และ
ปวดท้อง เหมาะสาหรับเด็ก เป็นต้น ขี้เหล็ก มีสรรพคุณรักษาอาการ
ท้องผูกรักษาอาการนอนไม่หลับเป็นต้น
 2.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดมีลักษณะที่แตกต่างกันคือ มะนาว เป็นไม้ยืนต้น
มีผลสีเขียว
 ฝรั่ง เป็นไม้ยืนต้นมีผลสีเขียวฟ้าทะลายโจร เป็นไม้ยืนต้นเล็ก ใบ
สีเขียว ชุมเห็ดเทศ เป็นไม้ทรงพุ่ม มีใบสีเขียว ตาลึง เป็นไม้ล้มลุกมี
ใบและลาต้นสีเขียว ตะไคร้ เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต
ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลาต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอก
ออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจานวนมาก
 ว่านหางจระเข้ ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลม
คล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้าเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิ
ดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน มะเขือพวง เป็นไม้ยืนต้น
ใบ ผล ลาต้น สีเขียว กระเพรา เป็นไม้ยืนต้น ลาต้น ใบ สีเขียว
ดอก สีเขียว ขี้เหล็ก เป็นไม้ยืนต้น ลาต้นใหญ่สีน้าตาล ดอกสี
เหลือง ใบสีเขียว
 3.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดนี้ เช่น มะนาว ฝรั่ง ฟ้าทะลายโจร ชุมเห็ด
เทศ ตาลึง ตะไคร้ ว่านหางจระเข้ มะเขือพวง กระเพรา ขี้เหล็ก เป็น
ต้น สมุนไพรที่กล่าวมานี้มีในท้องถิ่นตะโหมดและมีสมุนไพรอีก
มากมายที่ยังไม่ได้กล่าวถึง
 สมุนไพรในบ้านตะโหมดทั้ง10ชนิดนี้ ล้วนเป็นยาสมุนไพรทั้งสิ้นและ
สมุนไพรเหล่านี้มีสรรพคุณและลักษณะที่แตกต่างกันอีกอย่างหนึ่งคือ
สมุนไพรเหล่านี้ยังหาได้ง่ายในถิ่นตะโหมด
 1. ควรที่จะสารวจและศึกษาพืชสมุนไพรในพื้นที่ ที่กว้างมากกว่านี้เพราะ
พื้นที่อื่น ๆ อาจจะมีสมุนไพรอีกหลายชนิดที่ไม่รู้จักและมีประโยชน์
 2. ควรที่จะมีการส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชนให้มาก ๆ
 3. ควรที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้มากขึ้นกับนักเรียน และคนใน
ท้องถิ่น
 4. ควรที่จะให้คนในชุมชนช่วยกันอนุรักษ์พืชสมุนไพรในท้องถิ่นไว้ให้มาก ๆ
 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (2555). เข้าถึงได้จาก:
health.kapook.com/view 41336.html
 (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).
 ประโยชน์ของขี้เหล็ก (2553). เข้าถึงได้จาก:
https://earthmeifucan.wordpress.com
 (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).
 สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ (2555). เข้าถึงได้จาก: health.kapook.com/view
37827.html
 (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).
 สมุนไพรพื้นบ้านของภาคใต้ (2549). เข้าถึงได้จาก:
naturehebel.awardspace.com
 (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).
 หอรัษฎากรพิพัฒน์, พระบรมมหาราชวัง . คณะกรรมการโครงการสารานุกรมไทย
สาหรับเยาวชน.
ขอบคุณ
สาหรับการรับชม
ค่ะ

More Related Content

What's hot (19)

Herb
HerbHerb
Herb
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
File
FileFile
File
 
2562 final-project 37
2562 final-project 372562 final-project 37
2562 final-project 37
 
Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
ต้นชบา
ต้นชบาต้นชบา
ต้นชบา
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 

Viewers also liked

โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)Wasan Woonson
 

Viewers also liked (8)

3 การวางโครงเรื่อง
3 การวางโครงเรื่อง3 การวางโครงเรื่อง
3 การวางโครงเรื่อง
 
แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียน
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
หลักการเขียนบทคัดย่อ
หลักการเขียนบทคัดย่อหลักการเขียนบทคัดย่อ
หลักการเขียนบทคัดย่อ
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
 
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docxบทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 

Similar to โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด

ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบานAN'z NP Soparpipat
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
งานSh
งานShงานSh
งานShxavi2536
 

Similar to โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด (20)

ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบาน
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
my research
my researchmy research
my research
 
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 

โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด

  • 2.  ในปัจจุบันหมู่บ้านของเรามีอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงบ่อย จึงทาให้คน ในหมู่บ้านมีอาการป่วย เช่น ไอ จาม ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไม่สบายตัว เป็นต้น ถ้ามีอาการเหล่านี้ที่สะสมไปนานๆอาจจะทาให้เกิดโรคมากมาย อาจจะทาให้ เกิดโรคมากมาย ในบางครั้งคนที่ป่วยด้วยอาการเช่นนี้ เขาไม่มีโอกาสที่จะไป พบแพทย์ทาให้เกิดอาการป่วยเรื่อรัง และอาจจะทาให้อาการหนักขึ้นเมื่อจะไป พบแพทย์ก็ยากที่จะรักษาอาจจะสายเกินไป  ด้วยเหตุนี้กลุ่มของพวกราจึงเห็นว่าปัญหาอาการป่วยนี้จะสามารถ แก้ไขได้อาจจะไม่ทั้งหมดแต่ก็อาจจะทาให้อาการป่วยทุเลาลงได้ด้วยการให้ สมุนไพรในท้องถิ่นตะโหมดซึ่งมีมากมายหลายชนิด ในท้องถิ่นตะโหมดที่หาได้ และบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค และสมุนไพรบางชนิดอาจจะนามา ทายาได้ทางกลุ่มของพวกเราจึงศึกษาและรวบรวมความรู้ต่างๆๆที่เกี่ยวกับ สมุนไพรในท้องถิ่นตะโหมด
  • 3.  1 ได้รู้ถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่ศึกษา  2 สมุนไพรลักษณะที่แตกต่างกัน  3 ได้รู้ว่าสมุนไพรในตะโหมดมีอะไรบ้าง
  • 4.  1. เพื่อศึกษาสรรพคุณของสมุนไพร  2. เพื่อศึกษาลักษณะของสมุนไพร  3. เพื่อศึกษาสมุนไพรที่มีในตะโหมด
  • 5.  รายงาน เรื่อง สมุนไพรพื้นบ้านของตะโหมด ใช้ระยะเวลาในการศึกษา ค้นคว้า ตั้งแต่วันที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 6 เดือน มกราคม พ.ศ. 2559  สถานที่ดาเนินการ ได้แก่ บ้านตะโหมด
  • 6.  1ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพร  2 ได้รู้ลักษณะของสมุนไพร  3 เราได้รู้จักสมุนไพรในบ้านตะโหมด
  • 8.  1.สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตารับยา เพื่อบาบัด โรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่สอง ชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตารับยา นอกจากพืช สมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียก พืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืช สมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวานกานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น พืชเหล่านี้ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ
  • 9.  ลักษณะของสมุนไพร  สรุปได้ว่า พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่า ทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสาร ที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยา มากน้อยกว่ากันเท่านั้นพืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยา สมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ดังนี้รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ดสี มองแล้วเห็นว่าเป็นสี เขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีน้าตาล สีดากลิ่น ให้รู้ ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไรรส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเย็นชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็น อย่างไร ใบขี้เหล็กเป็นอย่างไร
  • 10.  1. กล้องดิจิตอล  2. เอกสารเกี่ยวกับสมุนไพรต่างๆ  3. เอกสารการทาสมุนไพร  4. ดินสอ ปากกา กระดาษ  5. คอมพิวเตอร์ เครื่องพริ้น
  • 11.  1. สารวจพืชสมุนไพรที่พบภายในหมู่บ้านตะโหมดแล้วจดบันทึก รายละเอียดและถ่ายรูปพืชสมุนไพรแต่ละชนิดไว้  2. สอบถามผู้รู้ในท้องถิ่นว่าพืชสมุนไพรชนิดนี้คืออะไรกรณีที่ไม่รู้  3. นาข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมา จัดจาแนกประเภทและหาข้อมูล เพิ่มเติม จากหนังสือและ อินเตอร์เน็ต ให้ได้ข้อมูลที่มีความ สมบูรณ์ ถูกต้อง แม่นยา มากที่สุด  4. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
  • 12.
  • 13.  ชื่อไทย มะนาว  ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurati Folia christmonm Swing  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ทรงพุ่ม มีหนามตามต้น ก้านใบสั้น ตัวใบ รูปร่างกลมรี ขอบใบหยักเล็กน้อย ปลายและโคนใบมน ดอก เล็กสีขาวอมเหลือง กลิ่นหอมอ่อนๆ ผลกลมเปลือกบางเรียบมีน้ามาก รสเปรี้ยว เปลือกผลมีน้ามัน กลิ่นหอม รสขมส่วนที่ใช้เป็นยา ผล สรรพคุณและวิธีใช้ ใช้ผลสดคั้นเอาน้ามาผสม กับเกลือเล็กน้อย ชงกับน้าร้อนดื่มรักษาอาการไอและขับเสมหะ
  • 14.  ชื่อไทย ฝรั่ง  ชื่อวิทยาศาสตร์ Psidium guajava Linnaeus  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ฝรั่งไม้พุ่มขนาดใหญ่ประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวผลฝรั่งจัดเป็นผล เดี่ยวมีขนาดต่างๆ กัน โดยทั่วไปมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-7 เซนติเมตร บาง พันธุ์มี ผลใหญ่กว่าเมื่อแก่ผล ฝรั่งจะหวานกรอบ และเมื่อสุกเต็มที่เนื้อจะนิ่มและมีกลิ่นหอม ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลและใบ  สรรพคุณและวิธีใช้  1. นาผลฝรั่งอ่อน ๆ มาฝานเอาแต่เปลือก  กับเนื้อทิ้งเมล็ดไป ใส่เกลือเล็กน้อย ให้พอกร่อยๆ  แล้วกินรวมกัน หรือจะใช้ต้มน้าดื่มก็ได้  2. ถ้าใบมีผลใช้ใบประมาณ 10 ถึง 15 ใบ  นามาล้างให้สะอาดแล้วโขลกให้พอแหลก  ใส่ลงในน้าแล้วนาไปต้มให้เดือด ใส่เกลือพอมีร  สกร่อย นาน้านั้นมาดื่ม ใช้แก้ท้องร่วง
  • 15.  ชื่อไทย ชุมเห็ดเทศ  ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia alata Linnaeus  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม ใบประกอบแบบขนนก แผ่นใบย่อย รูปขอบขนานแกม รูปรี โคนใบ มน ปลายใบมนหรือเว้าเล็กน้อย ขอบใบเรียบ มีสีแดง ดอกออกเป็นช่อใหญ่ ตามง่ามใบใกล้ ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง รูปไข่ เกือบกลมหรือรูปซ้อน ผล เป็นฝักรูปใบไม้บรรทัด ฝักแก่สีดาและแตกตามยาว เมล็ดเกือบเป็นรูปสีเหลี่ยม ผิวขรุขระ สีดา ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ ดอก  สรรพคุณและวิธีใช้  1. ใช้ช่อดอก 2-3 ช่อ ต้มกินกับน้าพริกเพื่อระบายท้อง  2. ใช้ใบสด 8-12 ใบผึ่งแดดจนแห้ง แล้วป่น  ให้เป็นผง ชงกับน้า เดือด รินน้าดื่มเพื่อระบายท้อง  3. นาใบสดมาต่าให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณที่เป็น  กลางหรือเป็นสังคัง
  • 16.  ชื่อไทย ฟ้าทะลายโจร  ชื่อวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex Nees  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูง30-60 เซนติเมตร ลาต้นตรงกิ่งก้านเป็น สันสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามรูปใบหอก กว้าง1-2.5เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร คนใบและปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย เนื้อใบสีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-8 มิลลิเมตร ดอกช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสี ขาวเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 2 ปาก ปากบน 2 กลีบ ปากล่าง 3 กลีบ ซึ่ง 2 ข้างมีแถบ สีม่วงแดง และกลีบกลางมีแต้มสีม่วงตรงกลางกลีบ ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก ยาว ได้ 2 เซนติเมตร เมล็ดประมาณ 6 เมล็ดต่อช่อง รูปไข่สีน้าตาลส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ ต้น  สรรพคุณและวิธีใช้  รักษาโรคอุจจาระร่วง และบิด แก้เจ็บคอ แก้ร้อนใน แก้ไข้ ป้องกันหวัด มีฤทธิ์ ลดอาการท้องเสีย เป็นยาขมช่วยเจริญอาหา
  • 17.  ชื่อไทย ตาลึง  ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis Linnaeus Voigt ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ เป็นไม้เถาขนาดกลางมือเกาะเดี่ยว ใบเดี่ยว รูปหัวใจเว้าเล็กน้อย สี เขียวเข้ม ดอกเดี่ยว สีขาว ผลกลม เหมือนแตงกวาแต่เล็กกว่ามาก สีเขียวลายขาว เมื่อสุกสีแดงแสด ปลูกเป็นผัก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ  สรรพคุณและวิธีใช้ ใช้ใบสดตาคั้นเอาน้าทาแก้พิษแมลงสัตว์กัด ต่อย
  • 18.  ชื่อไทย ตะไคร้  ชื่อวิทยาศาสตร์ Cybopogon Sitratus De Candolle Stapf  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง ๐.๗๕ - ๑.๒ เมตร แตกเป็นกอ เหง้าใต้ดินมีกลิ่นเฉพาะ ข้อและปล้องสั้นมาก กาบใบสีขาวนวลหรือขาวปนม่วง ยาว และหนาหุ้มข้อและปล้องไว้แน่น ใบเดี่ยวเรียงสลับ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๗๐-๑๐๐ ซม. แผ่นใบและขอบใบสากและคม ออกดอกยากส่วนที่ใช้เป็นยา ต้นและราก  สรรพคุณและวิธีใช้  นาตะไคร้ทั้งต้นและรากมา 5 ต้น สับให้เป็นท่อนต้มกับน้า 3ส่วนและเกลือ เล็กน้อย ต้มให้เหลือ 1 ส่วน กินครั้งละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน ติดต่อกัน 3 วัน สาหรับรักษาอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุกเสียดแน่น
  • 19.  ชื่อไทย ว่านหางจระเข้)  ชื่อวิทยาศาสตร์ Aloe barbadensis Mills  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก สูง 0.5 -1 เมตร ข้อและปล้องสั้น ใบเดี่ยว เรียง รอบ ต้น กว้าง 5-12 เซนติเมตร ยาว 30-80 เซนติเมตร อวบน้ามากสีเขียวอ่อน หรือ เขียวเข้ม ภายในมีวุ้นใส ใต้ผิวสีเขียวมีน้ายางสีเหลือง ใบอ่อนมีประสีขาว ดอกช่อ ดอกยาว50-100 เซนติเมตรออกจาดกลางต้น ดอกย่อยเป็นหลอดห้อยลง สีส้ม บาน จากล่างขึ้นบน แตกได้ ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ  สรรพคุณและวิธีใช้  1. นาใบมาล้างให้สะอาด โดยเฉพาะตรงรอยตัด ต้องล้างยางออกให้หมดปอก เปลือกทางด้านโค้งออก โดยระวังไม่ให้มือ ถูกชิ้นวุ้น ใช้มีดสับวุ้น และขูดวุ้นออกใส่ ถ้วยที่สะอาด นา น้าเมือกที่ได้จากวุ้นไปใช้ทางรักษาแผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก ฝี และแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย  2. ใช้วุ้นแปะแผลในปากหรือแผลที่ริมฝีปากบ่อยๆแผลจะหายเร็วขึ้น
  • 20.  ชื่อไทย มะเขือพวง  ชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum indicum Linnaeus  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มยืนต้นทรงพุ่มสูงกว่า 1 เมตรขึ้นไปถึง 2 เมต รมี ผลออกรวมกันเป็นกลุ่มหลายๆผลอยู่บนช่อเดียวกัน มีดอกขนาดเล็ก กลีบดอกสี ขาวหรือม่วง เกสรสีเหลือง ผลกลมขนาดเล็กเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านผลยาว อยู่รวมกันเป็นช่อกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียวหนาเหนียว ผลแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เมื่อสุกเป็นสีแสดแดง ภายในผลมีเมล็ดมากมายส่วนที่ใช้ เป็นยาผล  สรรพคุณและวิธีใช้  ใช้ผลสด 5-10 ผลโขลกให้พอแหลก  คั้นเอาแต่น้า ใส่เกลือเล็กน้อยใช้จิบบ่อยๆ  หรือจะใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้าและ เนื้อ  สาหรับระงับอาการไอและขับเสมหะ
  • 21.  ชื่อไทย กะเพรา  ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum Sanctum Linnaeus  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มล้มลุก ซึ่งอาจสูงถึง 1 เมตร ใบเป็นรูปไข่ บางและนุ่ม ลาต้นและใบมีขนปกคลุมทั่วไป ใบมีสีเขียว บางสายพันธุ์สีม่วงอมแดง ใบมีรสเผ็ดร้อน ใช้รับประทานสดได้ ช่อดอกตั้งตรง โดยมีดอกติดรอบแกนช่อเป็นชั้นๆส่วนที่ใช้เป็นยา ใบ  สรรพคุณและวิธีใช้  1. ใช้ใบสดและยอด 1 กามือ น้าหนักสด  ประมาณ 25 กรัมแห้งประมาณ 4 กรัม ต้มเอาน้า  สาหรับรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ  และปวดท้อง เหมาะสาหรับเด็ก  2. ใช้ใบสด 3 ใบ ผสมเกลือพอสมควร  บดให้ละเอียด ละลายในน้าสุกหรือน้าผึ้ง หยอด  ให้เด็กอ่อนที่คลอดได้ราวๆ 2 – 3 วันกินเป็นยาขับลม
  • 22.  ชื่อไทย ขี้เหล็ก  ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia siamea Limarck  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นสูงได้ถึง 10–15 เมตร ใบใหญ่ยาวประมาณ20 ซม. ประกอบไปด้วยใบย่อย 7–16 คู่ รูปร่างขอบขนานปลายมน หรือขอบขนานเรียวปลายคล้าย รูปไข่ ปลายใบหยักเว้าหาเส้นกลางใบเล็กน้อย โคนใบกลม ใต้ใบสีซีดว่าด้านบนและมีขน เล็กน้อย กว้าง 1–2.5 ซม. ยาว 3–7 ซม. ดอกออกเป็นช่อใหญ่ ยาวประมาณ 15–30 ซม. ดอกใหญ่ 2–4 ซม.สีเหลืองสด กลีบรองกลีบดอกมักโค้งกลับ มีขน ผลเป็นฝักค่อนข้าง หนา กว้าง 1.2–2 ซม. ยาว 15–30 ซม. ภายในมีเมล็ดใหญ่ยาว จานวน20–30 เมล็ดส่วนที่ ใช้เป็นยา ใบ  สรรพคุณและวิธีใช้  1. ใช้ใบขี้เหล็ก 4-5 กามือ ต้มเอาแต่น้าดื่มก่อนอาหาร รักษาอาการท้องผูก  2. ใช้ใบแห้งหนัก 30 กรัม หรือใบสดหนัก 50 กรัม ต้มเอาแต่น้าดื่มก่อนนอนรักษา อาการนอนไม่หลับ
  • 23.  1.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดมีสรรพคุณที่แตกต่างกันคือ มะนาว มีสรรพคุณแก้ ไอ และขับเสมหะ เป็นต้น ฝรั่ง มีสรรพคุณแก้ท้องร่วงเป็นต้น ฟ้าทะลาย โจร มีสรรพรักษาโรคอุจจาระร่วง และบิด แก้เจ็บคอ แก้ร้อนใน แก้ไข้ ป้องกันหวัด มีฤทธิ์ลดอาการท้องเสีย เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร เป็นต้น ชุมเห็ดเทศ มีสรรพคุณใช้ทาบริเวณที่เป็นกลางหรือเป็นสังคัง เป็นต้น ตาลึง มีสรรพคุณใช้ใบสดตาคั้นเอาน้าทาแก้พิษแมลงสัตว์กัด ต่อย เป็น ต้น ตะไคร้ มีสรรพคุณอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุก เสียดแน่น เป็นต้นว่านหางจระเข้
  • 24.  สรรพคุณ แผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก ฝี และแก้พิษแมลง สัตว์กัดต่อย เป็นต้นมะเขือพวง มีสรรพคุณ ระงับอาการไอและขับ เสมหะ เป็นต้น กระเพรา มีสรรพคุณรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และ ปวดท้อง เหมาะสาหรับเด็ก เป็นต้น ขี้เหล็ก มีสรรพคุณรักษาอาการ ท้องผูกรักษาอาการนอนไม่หลับเป็นต้น  2.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดมีลักษณะที่แตกต่างกันคือ มะนาว เป็นไม้ยืนต้น มีผลสีเขียว  ฝรั่ง เป็นไม้ยืนต้นมีผลสีเขียวฟ้าทะลายโจร เป็นไม้ยืนต้นเล็ก ใบ สีเขียว ชุมเห็ดเทศ เป็นไม้ทรงพุ่ม มีใบสีเขียว ตาลึง เป็นไม้ล้มลุกมี ใบและลาต้นสีเขียว ตะไคร้ เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลาต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอก ออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจานวนมาก
  • 25.  ว่านหางจระเข้ ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลม คล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้าเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิ ดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน มะเขือพวง เป็นไม้ยืนต้น ใบ ผล ลาต้น สีเขียว กระเพรา เป็นไม้ยืนต้น ลาต้น ใบ สีเขียว ดอก สีเขียว ขี้เหล็ก เป็นไม้ยืนต้น ลาต้นใหญ่สีน้าตาล ดอกสี เหลือง ใบสีเขียว  3.สมุนไพรทั้ง10 ชนิดนี้ เช่น มะนาว ฝรั่ง ฟ้าทะลายโจร ชุมเห็ด เทศ ตาลึง ตะไคร้ ว่านหางจระเข้ มะเขือพวง กระเพรา ขี้เหล็ก เป็น ต้น สมุนไพรที่กล่าวมานี้มีในท้องถิ่นตะโหมดและมีสมุนไพรอีก มากมายที่ยังไม่ได้กล่าวถึง
  • 27.  1. ควรที่จะสารวจและศึกษาพืชสมุนไพรในพื้นที่ ที่กว้างมากกว่านี้เพราะ พื้นที่อื่น ๆ อาจจะมีสมุนไพรอีกหลายชนิดที่ไม่รู้จักและมีประโยชน์  2. ควรที่จะมีการส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชนให้มาก ๆ  3. ควรที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้มากขึ้นกับนักเรียน และคนใน ท้องถิ่น  4. ควรที่จะให้คนในชุมชนช่วยกันอนุรักษ์พืชสมุนไพรในท้องถิ่นไว้ให้มาก ๆ
  • 28.  โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (2555). เข้าถึงได้จาก: health.kapook.com/view 41336.html  (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).  ประโยชน์ของขี้เหล็ก (2553). เข้าถึงได้จาก: https://earthmeifucan.wordpress.com  (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).  สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ (2555). เข้าถึงได้จาก: health.kapook.com/view 37827.html  (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).  สมุนไพรพื้นบ้านของภาคใต้ (2549). เข้าถึงได้จาก: naturehebel.awardspace.com  (วันที่ค้นข้อมูล: 3 มกราคม 2559).  หอรัษฎากรพิพัฒน์, พระบรมมหาราชวัง . คณะกรรมการโครงการสารานุกรมไทย สาหรับเยาวชน.
  • 29.
  • 30.