SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30246
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โครงงาน เรื่อง การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
พืชสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา วงศ์พืช Malvaceae
นาเสนอ
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกกลุ่ม (กลุ่ม 2 ห้อง 144)
1.นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4
2.นางสาวธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
3.นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
4.นางสาวพิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 5 ว30245 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้นข้อมูลพืชในวงศ์ Malvaceae ซึ่งจะ
มีข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ รูปภาพประกอบ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์โดยสังเขป เป็นต้น โดยรายงานชิ้นนี้
จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ เกี่ยวกับรายงาน ที่ช่วยให้คาปรึกษาขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง คณะผู้จัดทาโครงงาน
ขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง สไลด์ที่
สมาชิกกลุ่ม 3
คานา 4
ปอทะเล 6
ขี้ครอก 9
ปอกระเจา 12
กระเจี๊ยบแดง 15
พู่ระหง 18
พุดตาน 21
ครอบจักรวาล 23
เรื่อง สไลด์ที่
ฉัตรทอง 2
โพทะเล 29
ชบาเมเปิล 32
โกโก้ 35
นุ่น 38
บรรณานุกรม 41
กิตติกรรมประกาศ 42
ปอทะเล
ปอทะเล
◦ ชื่อสามัญ Coast cotton tree, Yellow mallow tree
◦ ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus tilliaceus L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อย MALVOIDEAE
◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็ก มีความสูงของต้นประมาณ 3-5 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง แตกกิ่งต่า ลาต้นมักคด
งอและแตกกิ่งก้านมาก เปลือกลาต้นเป็นสีเทาอมสีน้าตาล เปลือกต้นด้านนอกเรียบเกลี้ยงหรือแตกเป็นร่องตื้น ๆ มีช่องระบาย
อากาศเป็นแนวตามยาวของลาต้น ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีชมพูประขาว มีความเหนียว
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
◦ สรรพคุณของปอทะเล
1.ใบสดนามาคั้นเอาแต่น้าใช้เป็นยาหยอดหู แก้หูอักเสบและหูเป็นฝี (ใบ)
2.ใช้ดอกนามาต้มกับน้านม ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วนามาหยอดหูเพื่อรักษาอาการเจ็บในหู (ดอก)
3.รากใช้เป็นยาแก้ไข้ รักษาอาการไข้ (ราก)[3],[5]
4.ใบอ่อนนามาตากแห้งใช้ชงกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไอ แก้หลอดลมอักเสบ (ใบอ่อน)
5.เปลือกมีสรรพคุณทาให้อาเจียน (เปลือก)
6.เมือกที่ได้จากการนาเปลือกสดมาแช่กับน้า ใช้ดื่มเป็นยาแก้โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร (เปลือก)
7.รากมีสรรพคุณเป็นยาระบายท้อง (ราก)[3],[5] ส่วนใบใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ (ใบ)
8.รากนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ราก)
9.ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ที่ประเทศมาเลเซียจะใช้เปลือกปอทะเลทาเป็นยาผงเพื่อใช้เป็นยารักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
10.ใบนามาบดให้เป็นผงใช้เป็นยาใส่แผลสด แผลเรื้อรัง (ใบ)
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
ขี้ครอก
ขี้ครอก
◦ ขี้ครอก ชื่อสามัญ Caesar weed, Hibiscus burr, Jute africain
◦ ขี้ครอก ชื่อวิทยาศาสตร์ Urena lobata L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นตั้งตรง สูงได้
ประมาณ 0.5-2 เมตร เปลือกเหนียว ลาต้นเป็นสีเขียวแกมเทา ตามลาต้นและกิ่ง
ก้านมีขนลักษณะเป็นรูปดาวปกคลุมทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ชอบความชื้นปานกลางและแสงแดดแบบเต็มวัน มัก
ขึ้นตามป่าราบและที่ลุ่มรกร้างทั่วไป และมีปลูกมากตามสวนยาจีนทั่วไป
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
◦ สรรพคุณของขี้ครอก
◦ รากขี้ครอกใช้รับประทานเป็นยาเย็น มีสรรพคุณเป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทั้งปวง (ราก)
◦ ใช้เป็นยากระจายเลือดลม (ต้น, ราก, ใบ)
◦ ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัดตัวร้อน รักษาอาการไอเป็นเลือด (ต้น, ราก,ใบ)
◦ ตารายาไทยจะใช้ใบขี้ครอก นามาต้มกับน้าจิบแก้ไอ ขับเสมหะ ดับพิษเสมหะ (ใบ)
ใช้เป็นยาแก้บิด รักษาโรคบิดเฉียบพลัน ด้วยการใช้รากสด 500 กรัม นามาล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่น ๆ ต้มกับน้า 1,000 ซี
ซี โดยต้มจนเหลือน้า 500 ซีซี ใช้แบ่งรับประทาน ในเด็กอายุ 1-3 ขวบ ให้รับประทานวันละ 80 ซีซี เด็กอายุ 4-9 ปี ให้
รับประทานวันละ 200 ซีซี ส่วนเด็กอายุ 16 ปีขึ้นไป ให้รับประทานวันละ 250 ซีซี โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครั้ง (ราก)
◦ ต้นและใบใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ต้นและใบ, ทั้งต้น)
◦ ใช้เป็นยาแก้นิ่ว (ต้น, ราก, ใบ)
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
ปอกระเจา
◦ สรรพคุณของปอกระเจา
◦ ใบมีสรรพคุณเป็นยาบารุง ช่วยบารุงธาตุ และช่วยเจริญอาหาร (กระตุ้นให้อยากอาหาร) ด้วยการใช้ใบแห้ง
นามาบดให้เป็นผงละเอียด แล้วนามาชงหรือนามาละลายในน้ากิน (ใบบ้างใช้ยาชงจากใบปอกระเจาผสม
กับลูกผักชีและเทียนเยาวพาณี เป็นยาธาตุและยาบารุง (ใบ)ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด และความดัน
โลหิต ด้วยการใช้ใบปอกระเจามาลวกกับน้าร้อน นามาผัดกับกระเทียม พริกไทย รับประทานกับข้าวต้ม
หรือข้าวสวย หรือใช้ใบที่ตากจนแห้งแล้วประมาณ 1 กามือ ชงกับน้าร้อน (แช่นาน 5-10 นาที) นามาดื่ม
แทนน้าทั้งวัน (ใบ)
◦ ใบมีรสขมเล็กน้อย ใช้ต้มกับน้ากินเป็นยาแก้ร้อนใน ทาให้เลือดเย็น แก้อาการเจ็บคอ (ใบ)
◦ ใช้เป็นยาแก้ไข้ ด้วยการใช้ใบแห้งนามาบดให้เป็นผงละเอียด แล้วนามาชงกับน้ากิน (ใบ)] ส่วนอีกข้อมูลระบุ
ว่า เปลือกและผลก็มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้เช่นกัน (เปลือก, ผล)
◦ ในประเทศมาเลเซียจะใช้ใบนามาต้มชงกับน้ากินเป็นยาแก้ไอ (ใบ)
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
ปอกระเจา
◦ ปอกระเจา ชื่อสามัญ Jute, Nalta Jute, Tossa Jute, White Jute, Jew’s Mallow
◦ ปอกระเจา ชื่อวิทยาศาสตร์ Corchorus capsularis L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE)
◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก อายุได้ 1 ปี มีความสูงได้ประมาณ 1 เมตร ลา
ต้นเป็นสีเขียวอ่อนหรือแดงเข้ม แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่ม เป็นไม้เนื้ออ่อน มีระบบรากเป็นแบบรากแก้ว ที่
ประกอบไปด้วยรากแก้วและรากแขนง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา
คงสุวรรณ เลขที่ 4
หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
ชื่อสามัญ : Jamaican Sorrel, Rosella
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa Linn.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ต้นกระเจี๊ยบแดง เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก เป็นพืชปีเดียว ลาต้นสูง
ประมาณ 1-2 เมตร ส่วนลาต้นและกิ่งก้านนั้นจะมีสีม่วงแดง
- ใบกระเจี๊ยบแดง มีลักษณะอยู่หลายชนิด ขอบใบเว้าลึก 3 หยัก หรือเรียบ
ตัวใบเป็นรูปเรียวแหลม สาหรับก้านของใบนั้นจะยาวประมาณ 5 ซม.
-ดอกกระเจี๊ยบแดง มีสีชมพูตรงกลางจะมีสีเข้มดอกจะออกบริเวณง่ามใบ
ก้านดอกจะสั้น กลีบรองดอกจะมีลักษณะเป็นปลายแหลมมี ประมาณ 8-12
กลีบ
-- ผลกระเจี๊ยบแดง เป็นรูปรีปลายแหลม ผลยาวประมาณ 2.5 ซม. ห่อหุ้ม
ด้วยกลีบเลี้ยง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
สรรพคุณกระเจี๊ยบแดง :
- ยอดและใบ ช่วยย่อยอาหาร ละลายเสมหะ ขับปัสสาวะ หล่อลื่นลาไส้
เป็นยาบารุงธาตุและยาระบาย ใช้ภายนอกคือ ตาพอกฝี ต้มชะล้างแผล
วิธีใช้โดยแกงหรือต้มกิน ใช้ภายนอก โดยเอาใบตาให้ละเอียดแล้วนามา
ประคบฝีต้มเอาน้ามาล้างแผล
- กลีบเลี้ยง ทาให้สดชื่น ขับปัสสาวะ ขับน้าดี ลดไข้ แก้ไอ แก้นิ่ว แก้
กระหายน้า
วิธีใช้ โดยใช้ชงน้าร้อนหรือต้มน้ากิน ใช้ที่ตากแห้งแล้วประมาณ 5-10 กรัม
- เมล็ด ลดไขมันในเลือด บารุงเลือด บารุงธาตุ ขับน้าดี ขับปัสสาวะ แก้
ปัสสาวะขัดและเจ็บ เป็นยาระบาย
วิธีใช้บดให้ละเอียดเป็นผงผสมกินหรือต้มน้ากิน ใช้เมล็ดที่แห้ง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
พู่ระหง
พู่ระหง
ชื่อสามัญ : Fringed Hibiscus, Coral Hibiscus
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus schizopetalus (Dyer ex Mast.) Hook. f.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พู่ระหง เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขามากออกรอบ ๆ ต้น และมักโค้งลงสู่พื้นดิน เปลือกลาต้นและใบมี
ยางเหนียว
- ใบพู่ระหง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับไปตามกิ่งก้าน ลักษณะของใบเป็นรูปมนรีหรือรูปไข่ ปลายใบแหลมมีติ่งหาง โคนใบมน ส่วนขอบใบเป็นจัก
คล้ายฟันเลื่อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร แผ่นใบบางสีเขียวเป็นมัน ก้านใบเป็นสีเขียว
ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ดอกพู่ระหง ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามส่วนยอดของปลายกิ่ง ดอกสีแดงสด หรือดอกมีหลายสี (แดง ส้ม ชมพู) มีกลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบแคบ ขอบ
กลีบดอกหยักเว้าลึกเป็นแฉกๆ เมื่อดอกบานเต็มที่ปลายกลีบดอกจะงองุ้มเข้าหาก้านดอก กลีบเลี้ยงเป็นสีเขียว ก้านดอกสีเขียว ยาวประมาณ 6-10
เซนติเมตร
- ผลพู่ระหง ผลเป็นผลแห้งมีจะงอย เมื่อแก่จะแตก ผลมีขนาดประมาณ 2 เซนติเมตรและใบ ช่วยย่อยอาหาร ละลายเสมหะ ขับปัสสาวะ หล่อลื่นลาไส้
เป็นยาบารุงธาตุและยาระบาย ใช้ภายนอกคือ ตาพอก ต้มชะล้างแผล
สรรพคุณพู่ระหง:
ใบและราก ใช้เป็นยารักษาอาการไข้ในเด็ก รักษาอาการเจ็บคอ และอาการไอฝี
ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
พุดตาน
พุดตาน
ชื่อสามัญ : Cotton rose, Cotton rose hibiscus, Confederate rose, Confederate
rose mallow, Changeable Rose, Changeable rose mallow, Rose of Sharon
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus mutabilis Linn.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
พุดตาน เป็นพรรณไม้ขนาดย่อม ลาต้นมีความสูงประมาณ 4 เมตร ต้นและกิ่งมีขนสีเทา
- ใบพุดตาน มีใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับกัน ลักษณะของใบคล้ายรูปไข่โคนรูปหัวใจ ปลาย
ใบแหลม ขอบใบเว้าลึกมีแฉก 3-5 แฉก แผ่นใบสีเขียวค่อนข้างหนา ผิวใบมีขนสาก ๆ ใบ
กว้างประมาณ 9-20 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-22 เซนติเมตร
- ดอกพุดตาน ดอกจะโตคล้ายดอกชะบาซ้อน ตอนออกดอกแรก ๆ จะเป็นสีขาว แต่พอ
ตอนสาย ๆ ดอกก็จะเริ่มแดงขึ้น จนถึงเที่ยงวัน จะมีสีแดงเข้ม แล้วก็จะร่วงโรยไป
สรรพคุณพุดตาน : ราก ใช้ต้มกินหรือใช้รากฝนทา เป็นยารักษาอาการประดง รักษาโรค
ผื่นคันตามผิวหนัง และอาการปวดแสบ ปวดร้อนตามร่างกาย
ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
ครอบจักรวาล
ครอบจักรวาล
ชื่อสามัญ : Country mallow, Indian mallow
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
จัดเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก
ลาต้นมีความสูงประมาณ 0.5-2.5 เมตร ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขามาก และ
มีขนสีขาวนวลหรือสีเทาอ่อนนุ่มปกคลุมอยู่ทั่วไป โดยต้นครอบฟันสีนั้นมักเกิด
ตามดินปนทราย พบได้ทั่วไปตามที่รกร้างริมถนนหนทาง มีเขตการกระจายพันธุ์
ในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชียใบออกสลับกัน มีลักษณะกลมโต ปลายแหลม
สั้น ดอกออกเป็นดอกเดียวจากซอกของก้านใบ ดอกเป็นสีเหลือง มีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-3 เซนติเมตร
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
ครอบจักรวาล
สรรพคุณ
รากใช้เป็นยาบารุงกาลัง ช่วยแก้อาการร่างกายอ่อนแอไม่มีกาลัง ในอินโดจีน
ใช้ดอกอ่อนและเมล็ดเป็นยาบารุง
ช่วยทาให้เจริญอาหาร ทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาบารุงโลหิต
ช่วยฟอกโลหิต ขับโลหิตเสีย
ช่วยบารุงปอด ช่วยแก้โรคประสาท
ใบหรือทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้โรคเบาหวาน ช่วยควบคุมระดับน้าตาล
ในเลือด
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
ฉัตรทอง
ฉัตรทอง
ชื่อสามัญ :Hollyhock
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Alcea rosea L.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :จัดเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก
มีลาต้นตั้งตรงและมีความสูงของต้นประมาณ 2.5 เมตร ลาต้นเป็นสีเขียวและ
ตามลาต้นมีขนอ่อนขึ้นปกคลุมอยู่ ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดเจริญเติบโต
ได้ดีในดินร่วนซุย จัดเป็นไม้กลางแจ้งที่ชอบแสงแดดจัดตลอดทั้งวัน ใบเป็นใบ
เดี่ยว ออกสลับกันไปตามลาต้น ออกดอกเดี่ยวตามง่ามใบ ลักษณะของดอกเป็น
รูปถ้วย ผลมีลักษณะเป็นรูปทรงกลมและแบน ผลเมื่อโตจะมีจะมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 3 เซนติเมตร
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
ฉัตรทองสรรพคุณ
ยอดอ่อนและใบ ถ้าเป็นแผลฝีหนอง หนองใน แผลอักเสบให้นายอดอ่อนหรือใบมาต้มกับน้ากิน
จะใช้ใบสดหรือแห้งก็ได้ หรือเผาให้เป็นเถาแล้วนามาบดกินเป็นผงก็ได้ จะใช้อยู่ประมาณ 6-20
กรัมดอก ใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้บิด อาเจียนเป็นเลือด ขับปัสสาวะอุจจาระ ตกเลือด ตกขาว พอก
แผลบวม
ดอก แก้โรคหัด ให้เก็บดอกที่บานเต็มที่แล้วจะใช้สด หรือแห้งก็ได้
ราก ใช้เป็นยาดูดหนอง แก้หนองใน อาเจียนเป็นเลือดแผลบวม แผลในลาไส้ แผลไฟลวก ตกเลือด
ตกขาว ขับปัสสาวะ หรือปัสสาวะมีเลือด ให้นารากสด ๆ ประมาณ 30-60 กรัมถ้าใช้ทาภายนอกก็
ตาแล้วพอก แต่ถ้ากินก็เอาต้มกับน้าหรือทาเป็นเม็ด หรือบดเป็นผงกินก็ได้
เมล็ด ใช้ทาเป็นยาแก้โรคหนองใน หล่อลื่นลาไส้ แผลหิด ท้องผูก ขับปัสสาวะ โดยการนาเมล็ดมา
ต้มกินหรือบดเป็นผงกิน เมล็ดนี้จะต้องเอามากผลที่แก่แล้วแกะเอาเมล็ดมาตากแห้งเสียก่อน
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
โพทะเล
โพทะเล
ชื่อสามัญ :Portia Tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Thespesia populnea
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 8-12 เมตร
ลาต้นโค้งและแตกกิ่งในระดับต่า ลักษณะของต้นเป็นทรงเรือนยอดแผ่กว้างและ
ค่อนข้างหนาทึบ เปลือกเป็นสีเทาอ่อนหรือสีน้าตาล มีลักษณะเรียบหรือขรุขระใบเป็น
ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบคล้ายรูปหัวใจ ออกดอกตามง่ามใบ ดอกเป็นดอก
เดี่ยวหรือดอกคู่ตามซอกใบ ส่วนก้านดอกอ้วนสั้นหรือยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร
และมีเกล็ด ดอกมีริ้วประดับ 3 แฉก ผลมีลักษณะค่อนข้างกลม มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 2-3 เซนติเมตร
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
โพทะเล
สรรพคุณของโพทะเล
ราก ใช้กินเป็นยาบารุงรักษาอากรไข้ เป็นยาระบายและยาขับปัสสาวะ ส่วนใบใช้ทาเป็นยา
ระบายอ่อนๆ
ดอก ใช้ต้มกับน้านมหยอดหู ใช้สาหรับรักษาอาการเจ็บหู โดยใช้ดอกสดประมาณ 2-3 ดอก
นามาต้มกับน้านมครึ่งถ้วยตวง แล้วนามาหยอดหูจะช่วยแก้อาการเจ็บในหูได้
เปลือก ใช้เป็นยาทาให้อาเจียน
เมือกที่ได้จากการนาส่วนของเปลือกสดมาแช่น้าใช้สาหรับรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ
ทางเดินอาหาร (เมือก)[3]
ใบ ใช้ทาเป็นผงยาสาหรับใช้ใส่รักษาแผลเรื้อรัง แผลสด และช่วยทาให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น
ด้วยการใช้ใบแห้งประมาณ 2-3 ใบนามาบดให้เป็นผงละเอียดแล้วนามาพอกและทาบริเวณที่
เป็นแผล
ผลและใบ ใช้ตาพอกแก้หิด
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์
ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
ชบาเมเปิล
ชบาเมเปิล
◦ ชบาเมเปิล (อังกฤษ: cranberry hibiscus, African rosemallow;
◦ ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus acetosella)
◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลา
ต้นและกิ่งก้านมีสีแดงถึงสีแดงอมม่วง มีขน ใบเป็นใบ
เดี่ยวรูปนิ้วมือ เว้าลึกเป็น 4 แฉก คล้ายใบเมเปิล ออก
เรียงสลับ ก้านใบยาว ดอกออกเป็นดอกเดี่ยวหรือคู่ตาม
ซอกใบ โคนดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ
ดอกสีส้ม 5 กลีบ มีใบประดับรูปใบหอก ใจกลางดอกมีสี
ม่วงเข้มถึงดา กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก สีแดงถึงแดงอมม่วง มี
เกสรตัวผู้จานวนมาก
ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
ชบาเมเปิล
◦ สรรพคุณ ช่วยฟอกโลหิต บารุงจิตใจให้แช่มชื่น บารุง
ผิวพรรณ บรรเทาโรคเกี่ยวกับไต และโดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับ
ระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง เช่น เสียเลือดประจาเดือนมาก
เกินไป ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ รวมทั้งปัญหาเรื่องระดู
ขาว
◦ ส่วนอื่นๆยังใช้เป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างเช่น เปลือกใช้
รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อน
ลวก บารุงผม
ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
โกโก้
โกโก้
ชื่อสามัญ โกโก้
ชื่อวิทยาศาสตร์ Theobroma caoco
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลักษณะทางธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นทรงพุ่มขนาดใหญ่ อายุยืนนับร้อยปี กาเนิดในป่าชื้นเขตอเมริกาใต้ (บราซิล. แม็กซิ
โก. โคลัมเบีย. ให้ผลผลิตตลอดปีแบบไม่มีฤดูกาล เจริญเติบโตได้ดีในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ชอบแสงแดดราไรหรือมีร่ม
เงาบ้าง ฝนชุก ต้องการไม้พี่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มปลูกจนถึงตลอดไป การปลูกโกโก้แซมแทรกในสวนมะพร้าวโดยมีมะพร้าว (อายุต้น
มากกว่า 10 ปี) ช่วยบังแดด และมีกล้วยแซมแทรกบ้างเพื่อสร้างความชื้นในดินและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศจะช่วยให้ต้น
โกโก้เจริญเติบโตดี
ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
โกโก้
1.โกโก้เป็นแหล่งสาคัญของ polyphenol ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ (เมล็ด)[3]
2.เมล็ดมีสรรพคุณช่วยกระตุ้นประสาท ช่วยบรรเทาภาวะของโรคเครียด โรคซึมเศร้า (เมล็ด)[2],[4]
3.ช่วยลดระดับไขมันในเลือด (เมล็ด)
4.ช่วยลดความดันโลหิต (เมล็ด)
5.ช่วยระดับลดน้าตาลในเลือด (เมล็ด)
6.ช่วยลดกลิ่นปาก
7.ช่วยให้เลือดลไหลเวียนดี กระตุ้นการสูบฉีดโลหิต
ผู้รับผิดชอบ
นส. พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
นุ่น
นุ่น
◦ นุ่น ชื่อสามัญ White silk cotton
◦ นุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Ceiba pentandra (L.)
◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ นุ่นจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ
ในช่วงฤดูแล้ง ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือน
เมษายน ลาต้นสูงใหญ่เปลาตรง สูงได้ประมาณ 10-30
เมตร ตรงยอดแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลาต้นเป็นสีเขียวและมี
หนามขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณโคนต้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการ
เพาะเมล็ด เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ใน
แถบอันดามัน และมีปลูกมากในเขตร้อนทั่วไปเพื่อใช้ปุย
จากผลนามาทาหมอนและที่นอน ชอบขึ้นตามริม
ลาธาร พบได้ทั่วไปตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา
ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
นุ่น
◦ 1.รากนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาบารุงกาลัง ส่วนยางไม้มีรสฝาดเมา ก็มีสรรพคุณเป็นยาบารุงกาลังเช่นกัน (ราก, ยางไม้)
◦ 2.รากสดนามาคั้นเอาน้ากินเป็นยาแก้โรคเบาหวาน (ราก)
◦ 3.เปลือกต้นมีรสเย็นเอียน มีสรรพคุณเป็นยาแก้ร้อนใน (เปลือก)
◦ 4.ต้น เปลือกต้น หรือทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไข้ หรือจะใช้เปลือกต้นผสมกับยาอื่นปรุงเป็นยาแก้ไข้ก็ได้ ส่วนชาวมาเลย์จะใช้ใบ
นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไข้ (ต้น, เปลือก,ใบ, ดอกแห้ง, ทั้งต้น)
◦ 5.ต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไอ (ต้น, ทั้งต้น)
◦ 6.เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้หวัดในเด็ก (เปลือก)
ผู้รับผิดชอบ
นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
บรรณานุกรม
◦ รายชื่อพรรณไม้ในเมืองไทย ตระกูล Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
www.tfern.forest.ku.ac.th/Forest/?action=family&action2=family_detail&fam=MALVACEAE. [10 มี.ค. 2014].
◦ ฐานข้อมูลสมุนไพร. วงศ์พืช Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://www.samunpri.com/?s=malvaceae. [10 มี.ค. 2014].
◦ สรรพคุณวงศ์พืช Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://www.homeandgardens.in.th/category. [10 มี.ค. 2014].
กิตติกรรมประกาศ
รายงานสืบค้นข้อมูลพืชวงศ์ Malvaceae ชิ้นนี้ จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับรายงาน ที่ช่วยให้
คาปรึกษาขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 

Similar to Plant ser 144_60_2

โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652HatsayaAnantepa
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 

Similar to Plant ser 144_60_2 (20)

Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 144_60_2

  • 1. งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30246 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โครงงาน เรื่อง การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของ พืชสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา วงศ์พืช Malvaceae
  • 3. สมาชิกกลุ่ม (กลุ่ม 2 ห้อง 144) 1.นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 2.นางสาวธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10 3.นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14 4.นางสาวพิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 4. คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 5 ว30245 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้นข้อมูลพืชในวงศ์ Malvaceae ซึ่งจะ มีข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ รูปภาพประกอบ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์โดยสังเขป เป็นต้น โดยรายงานชิ้นนี้ จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับรายงาน ที่ช่วยให้คาปรึกษาขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง คณะผู้จัดทาโครงงาน ขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ เรื่อง สไลด์ที่ สมาชิกกลุ่ม 3 คานา 4 ปอทะเล 6 ขี้ครอก 9 ปอกระเจา 12 กระเจี๊ยบแดง 15 พู่ระหง 18 พุดตาน 21 ครอบจักรวาล 23 เรื่อง สไลด์ที่ ฉัตรทอง 2 โพทะเล 29 ชบาเมเปิล 32 โกโก้ 35 นุ่น 38 บรรณานุกรม 41 กิตติกรรมประกาศ 42
  • 7. ปอทะเล ◦ ชื่อสามัญ Coast cotton tree, Yellow mallow tree ◦ ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus tilliaceus L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อย MALVOIDEAE ◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็ก มีความสูงของต้นประมาณ 3-5 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแผ่กว้าง แตกกิ่งต่า ลาต้นมักคด งอและแตกกิ่งก้านมาก เปลือกลาต้นเป็นสีเทาอมสีน้าตาล เปลือกต้นด้านนอกเรียบเกลี้ยงหรือแตกเป็นร่องตื้น ๆ มีช่องระบาย อากาศเป็นแนวตามยาวของลาต้น ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีชมพูประขาว มีความเหนียว ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 8. ◦ สรรพคุณของปอทะเล 1.ใบสดนามาคั้นเอาแต่น้าใช้เป็นยาหยอดหู แก้หูอักเสบและหูเป็นฝี (ใบ) 2.ใช้ดอกนามาต้มกับน้านม ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วนามาหยอดหูเพื่อรักษาอาการเจ็บในหู (ดอก) 3.รากใช้เป็นยาแก้ไข้ รักษาอาการไข้ (ราก)[3],[5] 4.ใบอ่อนนามาตากแห้งใช้ชงกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไอ แก้หลอดลมอักเสบ (ใบอ่อน) 5.เปลือกมีสรรพคุณทาให้อาเจียน (เปลือก) 6.เมือกที่ได้จากการนาเปลือกสดมาแช่กับน้า ใช้ดื่มเป็นยาแก้โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร (เปลือก) 7.รากมีสรรพคุณเป็นยาระบายท้อง (ราก)[3],[5] ส่วนใบใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ (ใบ) 8.รากนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ราก) 9.ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ที่ประเทศมาเลเซียจะใช้เปลือกปอทะเลทาเป็นยาผงเพื่อใช้เป็นยารักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ 10.ใบนามาบดให้เป็นผงใช้เป็นยาใส่แผลสด แผลเรื้อรัง (ใบ) ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 10. ขี้ครอก ◦ ขี้ครอก ชื่อสามัญ Caesar weed, Hibiscus burr, Jute africain ◦ ขี้ครอก ชื่อวิทยาศาสตร์ Urena lobata L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นตั้งตรง สูงได้ ประมาณ 0.5-2 เมตร เปลือกเหนียว ลาต้นเป็นสีเขียวแกมเทา ตามลาต้นและกิ่ง ก้านมีขนลักษณะเป็นรูปดาวปกคลุมทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ชอบความชื้นปานกลางและแสงแดดแบบเต็มวัน มัก ขึ้นตามป่าราบและที่ลุ่มรกร้างทั่วไป และมีปลูกมากตามสวนยาจีนทั่วไป ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 11. ◦ สรรพคุณของขี้ครอก ◦ รากขี้ครอกใช้รับประทานเป็นยาเย็น มีสรรพคุณเป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทั้งปวง (ราก) ◦ ใช้เป็นยากระจายเลือดลม (ต้น, ราก, ใบ) ◦ ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัดตัวร้อน รักษาอาการไอเป็นเลือด (ต้น, ราก,ใบ) ◦ ตารายาไทยจะใช้ใบขี้ครอก นามาต้มกับน้าจิบแก้ไอ ขับเสมหะ ดับพิษเสมหะ (ใบ) ใช้เป็นยาแก้บิด รักษาโรคบิดเฉียบพลัน ด้วยการใช้รากสด 500 กรัม นามาล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่น ๆ ต้มกับน้า 1,000 ซี ซี โดยต้มจนเหลือน้า 500 ซีซี ใช้แบ่งรับประทาน ในเด็กอายุ 1-3 ขวบ ให้รับประทานวันละ 80 ซีซี เด็กอายุ 4-9 ปี ให้ รับประทานวันละ 200 ซีซี ส่วนเด็กอายุ 16 ปีขึ้นไป ให้รับประทานวันละ 250 ซีซี โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครั้ง (ราก) ◦ ต้นและใบใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ต้นและใบ, ทั้งต้น) ◦ ใช้เป็นยาแก้นิ่ว (ต้น, ราก, ใบ) ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 13. ◦ สรรพคุณของปอกระเจา ◦ ใบมีสรรพคุณเป็นยาบารุง ช่วยบารุงธาตุ และช่วยเจริญอาหาร (กระตุ้นให้อยากอาหาร) ด้วยการใช้ใบแห้ง นามาบดให้เป็นผงละเอียด แล้วนามาชงหรือนามาละลายในน้ากิน (ใบบ้างใช้ยาชงจากใบปอกระเจาผสม กับลูกผักชีและเทียนเยาวพาณี เป็นยาธาตุและยาบารุง (ใบ)ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด และความดัน โลหิต ด้วยการใช้ใบปอกระเจามาลวกกับน้าร้อน นามาผัดกับกระเทียม พริกไทย รับประทานกับข้าวต้ม หรือข้าวสวย หรือใช้ใบที่ตากจนแห้งแล้วประมาณ 1 กามือ ชงกับน้าร้อน (แช่นาน 5-10 นาที) นามาดื่ม แทนน้าทั้งวัน (ใบ) ◦ ใบมีรสขมเล็กน้อย ใช้ต้มกับน้ากินเป็นยาแก้ร้อนใน ทาให้เลือดเย็น แก้อาการเจ็บคอ (ใบ) ◦ ใช้เป็นยาแก้ไข้ ด้วยการใช้ใบแห้งนามาบดให้เป็นผงละเอียด แล้วนามาชงกับน้ากิน (ใบ)] ส่วนอีกข้อมูลระบุ ว่า เปลือกและผลก็มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้เช่นกัน (เปลือก, ผล) ◦ ในประเทศมาเลเซียจะใช้ใบนามาต้มชงกับน้ากินเป็นยาแก้ไอ (ใบ) ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 14. ปอกระเจา ◦ ปอกระเจา ชื่อสามัญ Jute, Nalta Jute, Tossa Jute, White Jute, Jew’s Mallow ◦ ปอกระเจา ชื่อวิทยาศาสตร์ Corchorus capsularis L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE) ◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก อายุได้ 1 ปี มีความสูงได้ประมาณ 1 เมตร ลา ต้นเป็นสีเขียวอ่อนหรือแดงเข้ม แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่ม เป็นไม้เนื้ออ่อน มีระบบรากเป็นแบบรากแก้ว ที่ ประกอบไปด้วยรากแก้วและรากแขนง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น ผู้รับผิดชอบ : นางสาวชญาภา คงสุวรรณ เลขที่ 4 หมายเหตุ เนื่องจากเพื่อนมีอาการอาหารเป็นพิษเข้าโรงพยาบาล จึงขอนาเสนอโดยการอัดเสียงค่ะ
  • 16. กระเจี๊ยบแดง ชื่อสามัญ : Jamaican Sorrel, Rosella ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : - ต้นกระเจี๊ยบแดง เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก เป็นพืชปีเดียว ลาต้นสูง ประมาณ 1-2 เมตร ส่วนลาต้นและกิ่งก้านนั้นจะมีสีม่วงแดง - ใบกระเจี๊ยบแดง มีลักษณะอยู่หลายชนิด ขอบใบเว้าลึก 3 หยัก หรือเรียบ ตัวใบเป็นรูปเรียวแหลม สาหรับก้านของใบนั้นจะยาวประมาณ 5 ซม. -ดอกกระเจี๊ยบแดง มีสีชมพูตรงกลางจะมีสีเข้มดอกจะออกบริเวณง่ามใบ ก้านดอกจะสั้น กลีบรองดอกจะมีลักษณะเป็นปลายแหลมมี ประมาณ 8-12 กลีบ -- ผลกระเจี๊ยบแดง เป็นรูปรีปลายแหลม ผลยาวประมาณ 2.5 ซม. ห่อหุ้ม ด้วยกลีบเลี้ยง ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
  • 17. สรรพคุณกระเจี๊ยบแดง : - ยอดและใบ ช่วยย่อยอาหาร ละลายเสมหะ ขับปัสสาวะ หล่อลื่นลาไส้ เป็นยาบารุงธาตุและยาระบาย ใช้ภายนอกคือ ตาพอกฝี ต้มชะล้างแผล วิธีใช้โดยแกงหรือต้มกิน ใช้ภายนอก โดยเอาใบตาให้ละเอียดแล้วนามา ประคบฝีต้มเอาน้ามาล้างแผล - กลีบเลี้ยง ทาให้สดชื่น ขับปัสสาวะ ขับน้าดี ลดไข้ แก้ไอ แก้นิ่ว แก้ กระหายน้า วิธีใช้ โดยใช้ชงน้าร้อนหรือต้มน้ากิน ใช้ที่ตากแห้งแล้วประมาณ 5-10 กรัม - เมล็ด ลดไขมันในเลือด บารุงเลือด บารุงธาตุ ขับน้าดี ขับปัสสาวะ แก้ ปัสสาวะขัดและเจ็บ เป็นยาระบาย วิธีใช้บดให้ละเอียดเป็นผงผสมกินหรือต้มน้ากิน ใช้เมล็ดที่แห้ง ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
  • 19. พู่ระหง ชื่อสามัญ : Fringed Hibiscus, Coral Hibiscus ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus schizopetalus (Dyer ex Mast.) Hook. f. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พู่ระหง เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขามากออกรอบ ๆ ต้น และมักโค้งลงสู่พื้นดิน เปลือกลาต้นและใบมี ยางเหนียว - ใบพู่ระหง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับไปตามกิ่งก้าน ลักษณะของใบเป็นรูปมนรีหรือรูปไข่ ปลายใบแหลมมีติ่งหาง โคนใบมน ส่วนขอบใบเป็นจัก คล้ายฟันเลื่อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร แผ่นใบบางสีเขียวเป็นมัน ก้านใบเป็นสีเขียว ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
  • 20. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : - ดอกพู่ระหง ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามส่วนยอดของปลายกิ่ง ดอกสีแดงสด หรือดอกมีหลายสี (แดง ส้ม ชมพู) มีกลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบแคบ ขอบ กลีบดอกหยักเว้าลึกเป็นแฉกๆ เมื่อดอกบานเต็มที่ปลายกลีบดอกจะงองุ้มเข้าหาก้านดอก กลีบเลี้ยงเป็นสีเขียว ก้านดอกสีเขียว ยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร - ผลพู่ระหง ผลเป็นผลแห้งมีจะงอย เมื่อแก่จะแตก ผลมีขนาดประมาณ 2 เซนติเมตรและใบ ช่วยย่อยอาหาร ละลายเสมหะ ขับปัสสาวะ หล่อลื่นลาไส้ เป็นยาบารุงธาตุและยาระบาย ใช้ภายนอกคือ ตาพอก ต้มชะล้างแผล สรรพคุณพู่ระหง: ใบและราก ใช้เป็นยารักษาอาการไข้ในเด็ก รักษาอาการเจ็บคอ และอาการไอฝี ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
  • 22. พุดตาน ชื่อสามัญ : Cotton rose, Cotton rose hibiscus, Confederate rose, Confederate rose mallow, Changeable Rose, Changeable rose mallow, Rose of Sharon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus mutabilis Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พุดตาน เป็นพรรณไม้ขนาดย่อม ลาต้นมีความสูงประมาณ 4 เมตร ต้นและกิ่งมีขนสีเทา - ใบพุดตาน มีใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับกัน ลักษณะของใบคล้ายรูปไข่โคนรูปหัวใจ ปลาย ใบแหลม ขอบใบเว้าลึกมีแฉก 3-5 แฉก แผ่นใบสีเขียวค่อนข้างหนา ผิวใบมีขนสาก ๆ ใบ กว้างประมาณ 9-20 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-22 เซนติเมตร - ดอกพุดตาน ดอกจะโตคล้ายดอกชะบาซ้อน ตอนออกดอกแรก ๆ จะเป็นสีขาว แต่พอ ตอนสาย ๆ ดอกก็จะเริ่มแดงขึ้น จนถึงเที่ยงวัน จะมีสีแดงเข้ม แล้วก็จะร่วงโรยไป สรรพคุณพุดตาน : ราก ใช้ต้มกินหรือใช้รากฝนทา เป็นยารักษาอาการประดง รักษาโรค ผื่นคันตามผิวหนัง และอาการปวดแสบ ปวดร้อนตามร่างกาย ผู้รับผิดชอบ : นางสาว ธันยพร แดนพิพัฒน์ เลขที่ 10
  • 24. ครอบจักรวาล ชื่อสามัญ : Country mallow, Indian mallow ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : จัดเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 0.5-2.5 เมตร ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขามาก และ มีขนสีขาวนวลหรือสีเทาอ่อนนุ่มปกคลุมอยู่ทั่วไป โดยต้นครอบฟันสีนั้นมักเกิด ตามดินปนทราย พบได้ทั่วไปตามที่รกร้างริมถนนหนทาง มีเขตการกระจายพันธุ์ ในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชียใบออกสลับกัน มีลักษณะกลมโต ปลายแหลม สั้น ดอกออกเป็นดอกเดียวจากซอกของก้านใบ ดอกเป็นสีเหลือง มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-3 เซนติเมตร ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 25. ครอบจักรวาล สรรพคุณ รากใช้เป็นยาบารุงกาลัง ช่วยแก้อาการร่างกายอ่อนแอไม่มีกาลัง ในอินโดจีน ใช้ดอกอ่อนและเมล็ดเป็นยาบารุง ช่วยทาให้เจริญอาหาร ทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาบารุงโลหิต ช่วยฟอกโลหิต ขับโลหิตเสีย ช่วยบารุงปอด ช่วยแก้โรคประสาท ใบหรือทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้โรคเบาหวาน ช่วยควบคุมระดับน้าตาล ในเลือด ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 27. ฉัตรทอง ชื่อสามัญ :Hollyhock ชื่อวิทยาศาสตร์ :Alcea rosea L. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :จัดเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก มีลาต้นตั้งตรงและมีความสูงของต้นประมาณ 2.5 เมตร ลาต้นเป็นสีเขียวและ ตามลาต้นมีขนอ่อนขึ้นปกคลุมอยู่ ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดเจริญเติบโต ได้ดีในดินร่วนซุย จัดเป็นไม้กลางแจ้งที่ชอบแสงแดดจัดตลอดทั้งวัน ใบเป็นใบ เดี่ยว ออกสลับกันไปตามลาต้น ออกดอกเดี่ยวตามง่ามใบ ลักษณะของดอกเป็น รูปถ้วย ผลมีลักษณะเป็นรูปทรงกลมและแบน ผลเมื่อโตจะมีจะมีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 3 เซนติเมตร ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 28. ฉัตรทองสรรพคุณ ยอดอ่อนและใบ ถ้าเป็นแผลฝีหนอง หนองใน แผลอักเสบให้นายอดอ่อนหรือใบมาต้มกับน้ากิน จะใช้ใบสดหรือแห้งก็ได้ หรือเผาให้เป็นเถาแล้วนามาบดกินเป็นผงก็ได้ จะใช้อยู่ประมาณ 6-20 กรัมดอก ใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้บิด อาเจียนเป็นเลือด ขับปัสสาวะอุจจาระ ตกเลือด ตกขาว พอก แผลบวม ดอก แก้โรคหัด ให้เก็บดอกที่บานเต็มที่แล้วจะใช้สด หรือแห้งก็ได้ ราก ใช้เป็นยาดูดหนอง แก้หนองใน อาเจียนเป็นเลือดแผลบวม แผลในลาไส้ แผลไฟลวก ตกเลือด ตกขาว ขับปัสสาวะ หรือปัสสาวะมีเลือด ให้นารากสด ๆ ประมาณ 30-60 กรัมถ้าใช้ทาภายนอกก็ ตาแล้วพอก แต่ถ้ากินก็เอาต้มกับน้าหรือทาเป็นเม็ด หรือบดเป็นผงกินก็ได้ เมล็ด ใช้ทาเป็นยาแก้โรคหนองใน หล่อลื่นลาไส้ แผลหิด ท้องผูก ขับปัสสาวะ โดยการนาเมล็ดมา ต้มกินหรือบดเป็นผงกิน เมล็ดนี้จะต้องเอามากผลที่แก่แล้วแกะเอาเมล็ดมาตากแห้งเสียก่อน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 30. โพทะเล ชื่อสามัญ :Portia Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ :Thespesia populnea ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 8-12 เมตร ลาต้นโค้งและแตกกิ่งในระดับต่า ลักษณะของต้นเป็นทรงเรือนยอดแผ่กว้างและ ค่อนข้างหนาทึบ เปลือกเป็นสีเทาอ่อนหรือสีน้าตาล มีลักษณะเรียบหรือขรุขระใบเป็น ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบคล้ายรูปหัวใจ ออกดอกตามง่ามใบ ดอกเป็นดอก เดี่ยวหรือดอกคู่ตามซอกใบ ส่วนก้านดอกอ้วนสั้นหรือยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร และมีเกล็ด ดอกมีริ้วประดับ 3 แฉก ผลมีลักษณะค่อนข้างกลม มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 2-3 เซนติเมตร ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 31. โพทะเล สรรพคุณของโพทะเล ราก ใช้กินเป็นยาบารุงรักษาอากรไข้ เป็นยาระบายและยาขับปัสสาวะ ส่วนใบใช้ทาเป็นยา ระบายอ่อนๆ ดอก ใช้ต้มกับน้านมหยอดหู ใช้สาหรับรักษาอาการเจ็บหู โดยใช้ดอกสดประมาณ 2-3 ดอก นามาต้มกับน้านมครึ่งถ้วยตวง แล้วนามาหยอดหูจะช่วยแก้อาการเจ็บในหูได้ เปลือก ใช้เป็นยาทาให้อาเจียน เมือกที่ได้จากการนาส่วนของเปลือกสดมาแช่น้าใช้สาหรับรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ ทางเดินอาหาร (เมือก)[3] ใบ ใช้ทาเป็นผงยาสาหรับใช้ใส่รักษาแผลเรื้อรัง แผลสด และช่วยทาให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น ด้วยการใช้ใบแห้งประมาณ 2-3 ใบนามาบดให้เป็นผงละเอียดแล้วนามาพอกและทาบริเวณที่ เป็นแผล ผลและใบ ใช้ตาพอกแก้หิด ผู้รับผิดชอบ : นางสาวพัฒนีย์ ลิขิตพฤกษ์ เลขที่ 14
  • 33. ชบาเมเปิล ◦ ชบาเมเปิล (อังกฤษ: cranberry hibiscus, African rosemallow; ◦ ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus acetosella) ◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลา ต้นและกิ่งก้านมีสีแดงถึงสีแดงอมม่วง มีขน ใบเป็นใบ เดี่ยวรูปนิ้วมือ เว้าลึกเป็น 4 แฉก คล้ายใบเมเปิล ออก เรียงสลับ ก้านใบยาว ดอกออกเป็นดอกเดี่ยวหรือคู่ตาม ซอกใบ โคนดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ ดอกสีส้ม 5 กลีบ มีใบประดับรูปใบหอก ใจกลางดอกมีสี ม่วงเข้มถึงดา กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก สีแดงถึงแดงอมม่วง มี เกสรตัวผู้จานวนมาก ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 34. ชบาเมเปิล ◦ สรรพคุณ ช่วยฟอกโลหิต บารุงจิตใจให้แช่มชื่น บารุง ผิวพรรณ บรรเทาโรคเกี่ยวกับไต และโดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับ ระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง เช่น เสียเลือดประจาเดือนมาก เกินไป ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ รวมทั้งปัญหาเรื่องระดู ขาว ◦ ส่วนอื่นๆยังใช้เป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างเช่น เปลือกใช้ รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อน ลวก บารุงผม ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 36. โกโก้ ชื่อสามัญ โกโก้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Theobroma caoco ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลักษณะทางธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นทรงพุ่มขนาดใหญ่ อายุยืนนับร้อยปี กาเนิดในป่าชื้นเขตอเมริกาใต้ (บราซิล. แม็กซิ โก. โคลัมเบีย. ให้ผลผลิตตลอดปีแบบไม่มีฤดูกาล เจริญเติบโตได้ดีในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ชอบแสงแดดราไรหรือมีร่ม เงาบ้าง ฝนชุก ต้องการไม้พี่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มปลูกจนถึงตลอดไป การปลูกโกโก้แซมแทรกในสวนมะพร้าวโดยมีมะพร้าว (อายุต้น มากกว่า 10 ปี) ช่วยบังแดด และมีกล้วยแซมแทรกบ้างเพื่อสร้างความชื้นในดินและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศจะช่วยให้ต้น โกโก้เจริญเติบโตดี ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 37. โกโก้ 1.โกโก้เป็นแหล่งสาคัญของ polyphenol ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ (เมล็ด)[3] 2.เมล็ดมีสรรพคุณช่วยกระตุ้นประสาท ช่วยบรรเทาภาวะของโรคเครียด โรคซึมเศร้า (เมล็ด)[2],[4] 3.ช่วยลดระดับไขมันในเลือด (เมล็ด) 4.ช่วยลดความดันโลหิต (เมล็ด) 5.ช่วยระดับลดน้าตาลในเลือด (เมล็ด) 6.ช่วยลดกลิ่นปาก 7.ช่วยให้เลือดลไหลเวียนดี กระตุ้นการสูบฉีดโลหิต ผู้รับผิดชอบ นส. พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 39. นุ่น ◦ นุ่น ชื่อสามัญ White silk cotton ◦ นุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Ceiba pentandra (L.) ◦ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ นุ่นจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ในช่วงฤดูแล้ง ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือน เมษายน ลาต้นสูงใหญ่เปลาตรง สูงได้ประมาณ 10-30 เมตร ตรงยอดแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลาต้นเป็นสีเขียวและมี หนามขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณโคนต้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการ เพาะเมล็ด เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ใน แถบอันดามัน และมีปลูกมากในเขตร้อนทั่วไปเพื่อใช้ปุย จากผลนามาทาหมอนและที่นอน ชอบขึ้นตามริม ลาธาร พบได้ทั่วไปตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 40. นุ่น ◦ 1.รากนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาบารุงกาลัง ส่วนยางไม้มีรสฝาดเมา ก็มีสรรพคุณเป็นยาบารุงกาลังเช่นกัน (ราก, ยางไม้) ◦ 2.รากสดนามาคั้นเอาน้ากินเป็นยาแก้โรคเบาหวาน (ราก) ◦ 3.เปลือกต้นมีรสเย็นเอียน มีสรรพคุณเป็นยาแก้ร้อนใน (เปลือก) ◦ 4.ต้น เปลือกต้น หรือทั้งต้นใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไข้ หรือจะใช้เปลือกต้นผสมกับยาอื่นปรุงเป็นยาแก้ไข้ก็ได้ ส่วนชาวมาเลย์จะใช้ใบ นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ไข้ (ต้น, เปลือก,ใบ, ดอกแห้ง, ทั้งต้น) ◦ 5.ต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไอ (ต้น, ทั้งต้น) ◦ 6.เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้หวัดในเด็ก (เปลือก) ผู้รับผิดชอบ นส.พิชญา พัวพิพัฒน์ เลขที่ 16
  • 41. บรรณานุกรม ◦ รายชื่อพรรณไม้ในเมืองไทย ตระกูล Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.tfern.forest.ku.ac.th/Forest/?action=family&action2=family_detail&fam=MALVACEAE. [10 มี.ค. 2014]. ◦ ฐานข้อมูลสมุนไพร. วงศ์พืช Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://www.samunpri.com/?s=malvaceae. [10 มี.ค. 2014]. ◦ สรรพคุณวงศ์พืช Malvaceae. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://www.homeandgardens.in.th/category. [10 มี.ค. 2014].
  • 42. กิตติกรรมประกาศ รายงานสืบค้นข้อมูลพืชวงศ์ Malvaceae ชิ้นนี้ จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับรายงาน ที่ช่วยให้ คาปรึกษาขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มี ส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา