SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
งานนําเสนอการสืบคนความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช
ในสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พืชที่นําเสนอ คือ พืช Family MALVACEAE จํานวน 12 ชนิด
รายวิชาชีววิทยา (ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560
ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 6
แผนการเรียนวิทยาศาสตร - คณิตศาสตร หอง 126
นําเสนอ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ
แนะนําสมาชิก
น.ส. ธนภรณ อุตรชน เลขที่ 9
น.ส. ธัญณัฐ รุงปญญารัตน เลขที่ 12
น.ส. ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน เลขที่ 24
น.ส. อภิชญา ชินวรกิจ เลขที่ 27
คํานํา
งานนําเสนอชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว 30246) ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 6 โดยมีจุดประสงคเพื่อสืบคนความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวน
พฤกษศาสตรของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ซึ่งรายงานมีเนื้อหาเกี่ยวของกับพืช 12 ชนิดใน
Family MALVACEAE โดยมีการศึกษาเกี่ยวกับพืชแตละชนิดในหัวขอ ดังตอไปนี้ ชื่อประเภท
ตางๆของพืช เชน ชื่อวิทยาศาสตร ฯลฯ ลักษณะของพืช แหลงที่พบ และประโยชนของพืช
คณะผูจัดทําไดเลือกสืบคนพืชใน family MALVACEAE ซึ่งเปน family ที่ตนชบา
ไดรับการจัดอยู สืบเนื่องมาจากโครงงานศึกษาผลของฮอรโมนออกซินที่มีตอจํานวนดอกของ
ตนชบา ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560 ที่คณะผูจัดทําเลือกศึกษาและทําการทดลองใน
ตนชบา
คณะผูจัดทํา
สารบัญ
คํานํา ค
สารบัญ ง
กระเจี๊ยบเขียว 1
กระเจี๊ยบแดง 3
ปอแกว 5
ฝาย 7
ชบาเมเปล 9
พุดตาน 11
ชบา 13
หญาขัดใบยาว 15
ปอทะเล 17
โกโก 19
ศุภโชค 21
ขี้อน 23
บรรณานุกรม 25
หนา
กระเจี๊ยบเขียว
 ชื่อวิทยาศาสตร Abelmochus esculentus L.
Moench
 ชื่อพอง Abelmoschus bammia Web
 ชื่อสามัญ Okra, Gumbo, Lady’s finger
 ชื่ออื่นๆ กระเจี๊ยบ, กระเจี๊ยบมอญ, มะเขือทะวาย,
มะเขือมอญ
 ลักษณะตางๆของพืช ลําตนมีขนหยาบ มีความสูง
ประมาณ 1-2 เมตร ใบเปนใบเดี่ยว คลายฝามือเรียง
สลับกัน และมีขนหยาบ ดอกมีสีเหลือง ที่โคนกลีบดานในมี
สีมวงออกแดง กานชูเรณูรวมกันเปนลักษณะคลายหลอด
ตามฝกมีขนออนๆทั่วฝก มีสันเปนเหลี่ยมตามยาว 5 เหลี่ยม
ฝกกระเจี๊ยบมีทรงยาวสีเขียว ถาฝกออนจะมีรสชาติหวาน
ถาฝกแกจะมีเนื้อเหนียว
• แหลงที่พบ ประเทศเอธิโอเปย แถบศูนยสูตรของทวีป
แอฟริกา อียิปต หมูเกาะอินเดียตะวันตก และเอเชียใต
นิยมปลูกมากทั้งในเขตรอนและเขตอบอุน โดยเฉพาะ
ในประเทศไทยที่สามารถปลูกไดทุกภาค
• ประโยชน กระเจี๊ยบมีสารเมือกลื่นพวกเพ็กติน
(pectin) และกัม (gum) ชวยเคลือบกระเพาะอาหาร
และลําไส ปองกันแผลในกระเพาะไมใหลุกลาม รักษา
ความดันโลหิตใหเปนปกติ บํารุงสมอง เปนยาระบาย
และแกโรคพยาธิตัวจี๊ด แตตองกินกระเจี๊ยบติดตอกัน
อยางนอย 15 วัน ฝกแหงปนกินเปนยารักษาโรค
กระเพาะอาหารได
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus sabdariffa L.
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ Jamaica sorrel, Roselle
 ชื่ออื่นๆ กระเจี๊ยบ, กระเจี๊ยบเปรี้ยว, ผักเก็งเค็ง,
สมเก็งเค็ง, สมตะเลงเครง, สมปู
 แหลงที่พบ ทั่วไปในประเทศไทย
กระเจี๊ยบแดง
• ลักษณะตางๆของพืช เปนพืชลมลุก ลําตนมีสีแดงอมมวง ใบเปนใบเดี่ยว รูป
ฝามือ สวนปลายของใบแยกเปน 3 หรือ 5 แฉก มีขน สวนดอกเปนดอกเดี่ยว
มีกลีบดอกสีเหลืองออน หรือชมพูออน โคนกลีบมีสีแดง เกสรตัวผูเชื่อมกันเปน
หลอด ผลแหง เปนรูปไขปอม แตกได และมีกลีบเลี้ยงสีแดงลักษณะฉ่ําน้ําหุมไว
• ประโยชน ใชรักษาอาการปสสาวะขัด
แกไอ นิ่ว และการกระหายน้ํา ชวยยอย
อาหาร ละลายเสมหะ ชวยลดไขมันใน
เลือด บํารุงเลือดและธาตุ ขับน้ําดี
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus spp.
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ Kenaf, Hemp hibiscus
 ชื่ออื่นๆ ปอดาย (ภาคเหนือ)
 ลักษณะตางๆของพืช ลําตนตรง ไมแตกกอ
และกิ่ง มีสีของลําตนตางกัน เชน เขียว แดง
หรือมวง และดอกมีสีตางกัน เชน เหลืองออน
มวงแดงตรงกลางดอก
ปอแกว
• แหลงที่พบ ปลูกกระจายในแถบแอฟริกาและ
อินเดีย มีถิ่นกําเนิดในแถบตะวันตกของประเทศ
ซูดาน แลวตอมาปลูกกันแพรหลายในทวีปเอเชีย
อเมริกาใตและแอฟริกา
• ประโยชน เปลือกใชทําเสนใย สําหรับอุตสาหกรรม
สิ่งทอ ปอแกวมักใชแทนหรือปนกับเสนใยจากปอ
กระเจาในการทอกระสอบ ทําเชือก พรม หรือใช
ทําสิ่งทอในการหัตถกรรม
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
ฝาย
 ชื่อวิทยาศาสตร Gossypium herbaceum L.
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ Cotton, Sea Iceland Cotton
 ชื่ออื่นๆ ฝายเทศ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ),
ฝายชัน (ลําปาง), ฝายดอก (เชียงใหม)
 แหลงที่พบ ภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ปลูกมากใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา
• ลักษณะตางๆของพืช ฝายเปนไมพุม
ลําตนมีสีน้ําตาลแดง ใบเปนใบเดี่ยว รูปไขกวาง
ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก
ฐานใบเปนรูปหัวใจ กานใบคอนขางยาว
ดอกเปนดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง
ใบประดับ 5 กลีบติดกัน ผลกลมปลายยาวแหลม
เมล็ดรูปไข มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร
รอบๆ เมล็ด
• ประโยชน ฝายเปนพืชเสนใยที่ใชกันมาก
เมล็ดฝายใชสกัดน้ํามัน เพื่อเปนอาหาร
และใชในอุตสาหกรรม
(ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
ชบาเมเปล
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus acetosella
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ cranberry hibiscus, African
rosemallow
 ชื่ออื่นๆ African rosemallow, false roselle,
maroon mallow, red leaved hibiscus, red
shield hibiscus
 แหลงที่พบ ปลูกมากในทวีปแอฟริกาและเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต
• ลักษณะตางๆของพืช ลําตนและกิ่งกานจะเปนสี
แดง มีขนออนปกคลุม ลําตนเปนพุม ดอกออกตาม
ซอกใบเปนดอกเดี่ยวๆ หรือเปนคู กลีบดอกมีสีสม
มีกลีบเลี้ยงสีแดง บริเวณใจกลางดอกมีสีมวงอมดํา
ใบประดับมีลักษณะคลายรูปใบหอก ดอกจะบานใน
ตอนเชา และหุบลงเมื่อสาย ทําใหออกดอกไดตลอด
ทั้งป ผลมีลักษณะคอนขางกลม คลายผลของ
กระเจี๊ยบ ปลายผลแหลม ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก
• ประโยชน นิยมปลูกเปนไมประดับใบ รากสามารถ
รับประทานได ดอกนํามาทําเปนเครื่องดื่มได
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
พุดตาน
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus mutabilis L.
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ Cotton rose, Confederate rose
 ชื่ออื่นๆ ดอกสามสี สามผิว
 ลักษณะตางๆของพืช เปนพรรณไมพุม ตนและกิ่งมีขนสีเทา
ใบเปนใบเดี่ยว ลักษณะของใบคลายรูปไขโคนรูปหัวใจ ปลายใบแหลม
ขอบใบเวาลึกมีแฉก 3-5 แฉก แผนใบสีเขียวคอนขางหนา ผิวใบมีขนสาก
ใบกวางดอกพุดตาน มีดอกซอนใหญสวยงาม ออกดอกตามซอกใบและ
ปลายกิ่ง เมื่อดอกบานชวงแรกจะเปนสีเขียว จะเปลี่ยนเปนสีชมพูและสี
แดงตามอุณหภูมิของวัน ดอกมียอดเกสรตัวเมียสีเหลือง ลักษณะของผล
เปนรูปทรงกลม เมื่อผลแกจะแตกออกเปน 5 แฉก
 แหลงที่พบ ปลูกเปนไมประดับทั่วไปใน
ประเทศไทย มีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน
 ประโยชน ดอกพุดตานมีรสฉุนและขม
สรรพคุณชวยแกอาการไอ อาเจียนเปนเลือด
มีระดูขาว รากชวยแกอาการไอหอบ
มีระดูขาว ใบชวยแกอาการตาแดงบวม
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
ชบา
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus rosa-sinensis L.
 ชื่อพอง Hibiscus cooperi auct. , Hibiscus liliiflorus
 ชื่อสามัญ Shoe flower, Hibiscus, Chinese rose
 ชื่ออื่นๆ ชุมเบา (ปตตานี), ใหม ใหมแดง (ภาคเหนือ), บา (ภาคใต)
 ลักษณะตางๆของพืช มีลักษณะเปนไมพุมขนาดกลาง ใบคอนขางมนรี มีปลาย
แหลม ขอบของใบเปนจักรเล็กนอย และมีสีเขียวเขม ลักษณะดอกชบา มีทั้งกลีบชั้น
เดียวและหลายชั้น หากเปนชั้นเดียวปกติจะมีกลีบดอก 5 กลีบ มีกานเกสรอยูตรง
กลางดอกหนึ่งกาน ลักษณะของกลีบดอกชบาจะมีขนาดใหญ มีหลายสี
ลําตนแตกกิ่งปานกลาง แตใบมีขนาดใหญ และดก ทําใหแลดูมีทรงพุมทึบ
เปลือกลําตนมีเสนใยและยางเมือก สามารถดึงลอกออกเปนเสนเชือกได
 แหลงที่พบ ปลูกทั่วไปในเขตรอน โดยตนชบานั้น
มีตนกําเนิดในประเทศจีน อินเดีย และในหมูเกาะ
ฮาวาย
 ประโยชน มีสวนชวยบํารุงผิวพรรณ ชวยบํารุง
จิตใจใหสดชื่นแจมใส ชวยฟอกโลหิต ชวยรักษา
และบรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับไต ชวยดับ
รอนในรางกาย แกกระหาย และชวยแกไข ชวย
เรียกน้ํายอย ชวยแกประจําเดือนมาไมสม่ําเสมอ
มีระดูขาว ใบชบาสามารถชวยรักษาแผลไฟไหม
น้ํารอนลวกได
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
หญาขัดใบยาว
 ชื่อวิทยาศาสตร Sida acuta Burm.f.
 ชื่อพอง ไมมี
 ชื่อสามัญ Broom weed, Two-beaked, Snake’s Tongue
 ชื่ออื่นๆ หญาขัดมอญ, คัดมอน, หญาขอ, หญาไมกวาด
 ลักษณะตางๆของพืช เปนไมลมลุก ลําตนตั้งตรงแข็งแรง เปลือกตนมีความเหนียว
กิ่งกานแตกสาขาแผออกเปนพุม ตามกิ่งมีขนนุมหรือคอนขางเกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว
เรียงเวียนหาง รูปใบหอก ปลายใบแหลม สวนโคนใบมน ขอบใบเปนจักรคลายฟน
เลื่อย ดอกมีสีเหลือง ออกดอกแบบเดี่ยว หรือคูบริเวณงามใบ มีเกสรตัวผู ติดกันเปน
หลอดๆ กลีบเลี้ยงที่โคนดอกติดกันเปนรูปถวยตื้นๆ ปลายแยกออกเปน 5 แฉก
 แหลงที่พบ พบไดทั่วทุกภาคของประเทศไทย
ตามพื้นที่รกรางตางๆ ขางถนนหนทางหรือชายปา
 ประโยชน รากใชเปนยาขมชวยใหเจริญอาหาร ชวย
บํารุงธาตุและปอด แกอาการออนเพลีย ตัวรอน ดับ
พิษไข ชวยขับเสมหะ สวนลําตนนํามาตมในน้ํา ชวย
บรรเทาอาการปวดฟนได กิ่งและลําตนที่โตเต็มที่
แลว นําไปตากแหงจนใบหลุดรวง จากนั้นใชตนแหง
มัดรวมกัน ทําเปนไมกวาด หรือจะใชเปนสวนผสม
สําหรับทําผงขัดหนา
(ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
ปอทะเล
 ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus tiliaceus L.
 ชื่อพอง Talipariti tiliaceum L.
 ชื่อสามัญ Coast cotton tree,
Yellow mallow tree
 ชื่ออื่นๆ ไมมี
 ลักษณะตางๆของพืช เปนไมยืนตน และไมพุม
ใบเปนรูปหัวใจ เรียงเวียนเสนแขนง ขอบใบหยักถี่
ใตใบมีขนออนๆปกคลุม มีตอมตามซอกใบ
ชอดอกออกตามซอกใบดอกมีสีเหลือง
บานตอนสาย พอตกเย็นจะกลายเปนสีแดงแลว
หลุดรวงไป สวนผลมีลักษณะแหง และแตกได
 แหลงที่พบ พบบริเวณรอยตอระหวางน้ําจืด
กับน้ําเค็ม ปลูกขึ้นตามชายทะเล
หรือแมน้ําลําคลอง
 ประโยชน เปลือกตนปอทะเลใชทําเชือก
ใบใชเปนยารักษาแผล เนื้อไมของปอทะเล
นําไปใชในงานชางไมได เชน ทําเรือ
เปลือกไม และรากใชตมทํายาแกไข
ใบออนกินเปนผัก
ชนพื้นเมืองในฮาวายนําเนื้อไม
ใชสรางเรือแคนู ประเทศในแถบเอเชียนิยม
ใชปอทะเลทําบอนไซ ชาวโอรังอัสลี
นําเปลือกทําเปนผงแหง ใชรักษาโรคติดตอ
ทางเพศสัมพันธ
(ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
โกโก
 ชื่อวิทยาศาสตร Theobroma cacao
 ชื่อพอง Cacao minus Gaertn. ,Cacao sativa.
 ชื่อสามัญ Cacao Tree
 ชื่ออื่นๆ ไมมี
 ลักษณะตางๆของพืช รากแกวของตนกลาโกโก
หยั่งลึกมาก ใบออนของโกโกมีสีเขียวออนจนถึงน้ําตาล
ใบแกมีสีเขียวเขม ปรากฏหูใบชัดเจน ขณะเปนตนออน
ลําตนเดี่ยว ไมมีกิ่งแขนง จากนั้นตายอดจะหยุดการ
เจริญและพัฒนาเปนกิ่งแขนง ดอกออกตามลําตนหรือ
ตามกิ่ง ดอกสีขาวอมชมพู เมล็ดอัดแนนรวมกันอยู
กลางฝก ฝกแกสีสมเหลือง ฝกออนสีเขียวหรือเหลือง
 แหลงที่พบ มีถิ่นกําเนิดบริเวณ upper
Amazon basin ซึ่งเปนบริเวณปาฝนเขต
รอน พบมากในบริเวณอเมริกากลางและใต
ปจจุบันมีการปลูกแพรหลายในประเทศ
ไทย
 ประโยชน สามารถใชปลูกรวมกับพืช
เศรษฐกิจอื่นๆเพื่อใหรมเงา รากหยั่งลึก
สามารถใชคลุมดินได เมล็ดสามารถนํามา
ประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
ศุภโชค
 ชื่อวิทยาศาสตร Pachira aquatica
 ชื่อพอง Bombax macrocarpum
 ชื่อสามัญ alabar chestnut, French peanut
 ชื่ออื่นๆ monguba , pumpo, money tree
 ลักษณะตางๆของพืช ตนไมเปนทรงพุม แตกกิ่ง
เปนชั้นๆ เปนไมเนื้อออน มีระบบรากใหญและลึก
ใบ เปนใบติดกัน มีความเงาเปนมัน สีเขียวเขม
ดอก ออกเปนชอลักษณะพูสีขาว มีกลิ่นหอมเวลา
กลางคืน ผลเปนผลรวม เปลือกแข็ง คลายนุนแต
ผลสั้นและกลมกวา เมล็ดเมื่อแกจัดเปลือกจะดีด
ตัวเปดออก
 แหลงที่พบ พบในเขตรอน มีถิ่นกําเนิด
แถบทวีปอเมริกาใต นิยมปลูกมากใน
ประเทศจีน
 ประโยชน สามารถปลูกเปนพืชในเชิง
อนุรักษตนน้ําเพราะมีรากหยั่งลึก เมล็ด
ดิบนําไปแปรรูปรับประทานได ใชเปนไม
ประดับที่มีความเชื่อกันวาปลูกแลวเรียก
โชคลาภได
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
ขี้อน
 ชื่อวิทยาศาสตร Pavonia rigida
 ชื่อพอง Urena rigida Wall.
 ชื่อสามัญ ขี้อน
 ชื่ออื่นๆ ครอบจักรวาล,แสงอาทิตย,คืนหน
 ลักษณะตางๆของพืช ไมพุม เลื้อยไปตาม
พื้นดิน ชูยอดตั้งขึ้น เปลือกตนเหนียวสีน้ําตาล
ออน ใบมีขนสีน้ําตาลปกคลุม ลําตนสีน้ําตาลมี
ขนรูปดาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไขหรือรูปโล
ดอกชอกระจุกออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง
กลีบดอกสีชมพูสวนโคนกลีบดอกเชื่อมกับฐาน
หลอดเกสรตัวผู ผลเปนผลแหงแตกได ผิวมีขน
เปนริ้วประดับรูปถวยปกคลุม เมล็ดรูปไต
 แหลงที่พบ พบตามปาเต็งรัง ปาดิบ
แลง พบตามริมทาง ชายปาผลัดใบ พบ
มากทางภาคเหนือและอีสาน
 ประโยชน ใชรากตมน้ํา เพื่อบํารุงโลหิต
ใชรักษานิ่วในถุงน้ําดี
(ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
บรรณานุกรม
 http://www.the-than.com/samonpai/sa_33.html
 http://www.rspg.or.th/plants_data/use/fiber1-2.html
 https://en.m.wikipedia.org/wiki/Hibiscus_acetosella
 http://www.vichakaset.com/ชบาเมเปล/
 http://t-fern.forest.ku.ac.th/Forest/?action=family&action2=family_detail&fam=MALVACEAE
 https://th.m.wikipedia.org/wiki/ชบาเมเปล
 https://th.m.wikipedia.org/wiki/พุดตาน
 https://medthai.com/ดอกชบา/
 https://medthai.com/พุดตาน/
 https://th.m.wikipedia.org/wiki/ชบา
กิตติกรรมประกาศ
คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ที่ไดให
คําแนะนํา และแนวคิดในการดําเนินงาน ตลอดจนแกไขขอบกพรองตางๆมา
โดยตลอด ทําใหงานนําเสนอนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี ขอบคุณสมาชิกในกลุมทุก
คนที่รวมแรงรวมใจในการทํางาน และขอขอบพระคุณผูปกครองที่ไดเปน
กําลังใจ
สุดทายนี้ผูจัดทําหวังวาโครงงานชิ้นนี้จะใหความรูและเปนประโยชนแก
ผูอานทุกๆทาน และหากมีขอเสนอแนะประการใด ผูจัดทําขอรับไวดวยความ
ขอบพระคุณยิ่ง

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 

Similar to Plant ser 126_60_2

สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีFearn Chi
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 

Similar to Plant ser 126_60_2 (20)

Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สี
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Biocontest2014 girl'sday
Biocontest2014 girl'sdayBiocontest2014 girl'sday
Biocontest2014 girl'sday
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
File
FileFile
File
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 126_60_2

  • 1. งานนําเสนอการสืบคนความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช ในสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พืชที่นําเสนอ คือ พืช Family MALVACEAE จํานวน 12 ชนิด รายวิชาชีววิทยา (ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร - คณิตศาสตร หอง 126
  • 3. แนะนําสมาชิก น.ส. ธนภรณ อุตรชน เลขที่ 9 น.ส. ธัญณัฐ รุงปญญารัตน เลขที่ 12 น.ส. ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน เลขที่ 24 น.ส. อภิชญา ชินวรกิจ เลขที่ 27
  • 4. คํานํา งานนําเสนอชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว 30246) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 โดยมีจุดประสงคเพื่อสืบคนความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวน พฤกษศาสตรของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ซึ่งรายงานมีเนื้อหาเกี่ยวของกับพืช 12 ชนิดใน Family MALVACEAE โดยมีการศึกษาเกี่ยวกับพืชแตละชนิดในหัวขอ ดังตอไปนี้ ชื่อประเภท ตางๆของพืช เชน ชื่อวิทยาศาสตร ฯลฯ ลักษณะของพืช แหลงที่พบ และประโยชนของพืช คณะผูจัดทําไดเลือกสืบคนพืชใน family MALVACEAE ซึ่งเปน family ที่ตนชบา ไดรับการจัดอยู สืบเนื่องมาจากโครงงานศึกษาผลของฮอรโมนออกซินที่มีตอจํานวนดอกของ ตนชบา ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560 ที่คณะผูจัดทําเลือกศึกษาและทําการทดลองใน ตนชบา คณะผูจัดทํา
  • 5. สารบัญ คํานํา ค สารบัญ ง กระเจี๊ยบเขียว 1 กระเจี๊ยบแดง 3 ปอแกว 5 ฝาย 7 ชบาเมเปล 9 พุดตาน 11 ชบา 13 หญาขัดใบยาว 15 ปอทะเล 17 โกโก 19 ศุภโชค 21 ขี้อน 23 บรรณานุกรม 25 หนา
  • 6. กระเจี๊ยบเขียว  ชื่อวิทยาศาสตร Abelmochus esculentus L. Moench  ชื่อพอง Abelmoschus bammia Web  ชื่อสามัญ Okra, Gumbo, Lady’s finger  ชื่ออื่นๆ กระเจี๊ยบ, กระเจี๊ยบมอญ, มะเขือทะวาย, มะเขือมอญ  ลักษณะตางๆของพืช ลําตนมีขนหยาบ มีความสูง ประมาณ 1-2 เมตร ใบเปนใบเดี่ยว คลายฝามือเรียง สลับกัน และมีขนหยาบ ดอกมีสีเหลือง ที่โคนกลีบดานในมี สีมวงออกแดง กานชูเรณูรวมกันเปนลักษณะคลายหลอด ตามฝกมีขนออนๆทั่วฝก มีสันเปนเหลี่ยมตามยาว 5 เหลี่ยม ฝกกระเจี๊ยบมีทรงยาวสีเขียว ถาฝกออนจะมีรสชาติหวาน ถาฝกแกจะมีเนื้อเหนียว
  • 7. • แหลงที่พบ ประเทศเอธิโอเปย แถบศูนยสูตรของทวีป แอฟริกา อียิปต หมูเกาะอินเดียตะวันตก และเอเชียใต นิยมปลูกมากทั้งในเขตรอนและเขตอบอุน โดยเฉพาะ ในประเทศไทยที่สามารถปลูกไดทุกภาค • ประโยชน กระเจี๊ยบมีสารเมือกลื่นพวกเพ็กติน (pectin) และกัม (gum) ชวยเคลือบกระเพาะอาหาร และลําไส ปองกันแผลในกระเพาะไมใหลุกลาม รักษา ความดันโลหิตใหเปนปกติ บํารุงสมอง เปนยาระบาย และแกโรคพยาธิตัวจี๊ด แตตองกินกระเจี๊ยบติดตอกัน อยางนอย 15 วัน ฝกแหงปนกินเปนยารักษาโรค กระเพาะอาหารได (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
  • 8.  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus sabdariffa L.  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ Jamaica sorrel, Roselle  ชื่ออื่นๆ กระเจี๊ยบ, กระเจี๊ยบเปรี้ยว, ผักเก็งเค็ง, สมเก็งเค็ง, สมตะเลงเครง, สมปู  แหลงที่พบ ทั่วไปในประเทศไทย กระเจี๊ยบแดง
  • 9. • ลักษณะตางๆของพืช เปนพืชลมลุก ลําตนมีสีแดงอมมวง ใบเปนใบเดี่ยว รูป ฝามือ สวนปลายของใบแยกเปน 3 หรือ 5 แฉก มีขน สวนดอกเปนดอกเดี่ยว มีกลีบดอกสีเหลืองออน หรือชมพูออน โคนกลีบมีสีแดง เกสรตัวผูเชื่อมกันเปน หลอด ผลแหง เปนรูปไขปอม แตกได และมีกลีบเลี้ยงสีแดงลักษณะฉ่ําน้ําหุมไว • ประโยชน ใชรักษาอาการปสสาวะขัด แกไอ นิ่ว และการกระหายน้ํา ชวยยอย อาหาร ละลายเสมหะ ชวยลดไขมันใน เลือด บํารุงเลือดและธาตุ ขับน้ําดี (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
  • 10.  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus spp.  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ Kenaf, Hemp hibiscus  ชื่ออื่นๆ ปอดาย (ภาคเหนือ)  ลักษณะตางๆของพืช ลําตนตรง ไมแตกกอ และกิ่ง มีสีของลําตนตางกัน เชน เขียว แดง หรือมวง และดอกมีสีตางกัน เชน เหลืองออน มวงแดงตรงกลางดอก ปอแกว
  • 11. • แหลงที่พบ ปลูกกระจายในแถบแอฟริกาและ อินเดีย มีถิ่นกําเนิดในแถบตะวันตกของประเทศ ซูดาน แลวตอมาปลูกกันแพรหลายในทวีปเอเชีย อเมริกาใตและแอฟริกา • ประโยชน เปลือกใชทําเสนใย สําหรับอุตสาหกรรม สิ่งทอ ปอแกวมักใชแทนหรือปนกับเสนใยจากปอ กระเจาในการทอกระสอบ ทําเชือก พรม หรือใช ทําสิ่งทอในการหัตถกรรม (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธนภรณ อุตรชน)
  • 12. ฝาย  ชื่อวิทยาศาสตร Gossypium herbaceum L.  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ Cotton, Sea Iceland Cotton  ชื่ออื่นๆ ฝายเทศ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ฝายชัน (ลําปาง), ฝายดอก (เชียงใหม)  แหลงที่พบ ภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ปลูกมากใน ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 13. • ลักษณะตางๆของพืช ฝายเปนไมพุม ลําตนมีสีน้ําตาลแดง ใบเปนใบเดี่ยว รูปไขกวาง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก ฐานใบเปนรูปหัวใจ กานใบคอนขางยาว ดอกเปนดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง ใบประดับ 5 กลีบติดกัน ผลกลมปลายยาวแหลม เมล็ดรูปไข มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ เมล็ด • ประโยชน ฝายเปนพืชเสนใยที่ใชกันมาก เมล็ดฝายใชสกัดน้ํามัน เพื่อเปนอาหาร และใชในอุตสาหกรรม (ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
  • 14. ชบาเมเปล  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus acetosella  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ cranberry hibiscus, African rosemallow  ชื่ออื่นๆ African rosemallow, false roselle, maroon mallow, red leaved hibiscus, red shield hibiscus  แหลงที่พบ ปลูกมากในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต
  • 15. • ลักษณะตางๆของพืช ลําตนและกิ่งกานจะเปนสี แดง มีขนออนปกคลุม ลําตนเปนพุม ดอกออกตาม ซอกใบเปนดอกเดี่ยวๆ หรือเปนคู กลีบดอกมีสีสม มีกลีบเลี้ยงสีแดง บริเวณใจกลางดอกมีสีมวงอมดํา ใบประดับมีลักษณะคลายรูปใบหอก ดอกจะบานใน ตอนเชา และหุบลงเมื่อสาย ทําใหออกดอกไดตลอด ทั้งป ผลมีลักษณะคอนขางกลม คลายผลของ กระเจี๊ยบ ปลายผลแหลม ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก • ประโยชน นิยมปลูกเปนไมประดับใบ รากสามารถ รับประทานได ดอกนํามาทําเปนเครื่องดื่มได (ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
  • 16. พุดตาน  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus mutabilis L.  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ Cotton rose, Confederate rose  ชื่ออื่นๆ ดอกสามสี สามผิว  ลักษณะตางๆของพืช เปนพรรณไมพุม ตนและกิ่งมีขนสีเทา ใบเปนใบเดี่ยว ลักษณะของใบคลายรูปไขโคนรูปหัวใจ ปลายใบแหลม ขอบใบเวาลึกมีแฉก 3-5 แฉก แผนใบสีเขียวคอนขางหนา ผิวใบมีขนสาก ใบกวางดอกพุดตาน มีดอกซอนใหญสวยงาม ออกดอกตามซอกใบและ ปลายกิ่ง เมื่อดอกบานชวงแรกจะเปนสีเขียว จะเปลี่ยนเปนสีชมพูและสี แดงตามอุณหภูมิของวัน ดอกมียอดเกสรตัวเมียสีเหลือง ลักษณะของผล เปนรูปทรงกลม เมื่อผลแกจะแตกออกเปน 5 แฉก
  • 17.  แหลงที่พบ ปลูกเปนไมประดับทั่วไปใน ประเทศไทย มีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน  ประโยชน ดอกพุดตานมีรสฉุนและขม สรรพคุณชวยแกอาการไอ อาเจียนเปนเลือด มีระดูขาว รากชวยแกอาการไอหอบ มีระดูขาว ใบชวยแกอาการตาแดงบวม (ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
  • 18. ชบา  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus rosa-sinensis L.  ชื่อพอง Hibiscus cooperi auct. , Hibiscus liliiflorus  ชื่อสามัญ Shoe flower, Hibiscus, Chinese rose  ชื่ออื่นๆ ชุมเบา (ปตตานี), ใหม ใหมแดง (ภาคเหนือ), บา (ภาคใต)  ลักษณะตางๆของพืช มีลักษณะเปนไมพุมขนาดกลาง ใบคอนขางมนรี มีปลาย แหลม ขอบของใบเปนจักรเล็กนอย และมีสีเขียวเขม ลักษณะดอกชบา มีทั้งกลีบชั้น เดียวและหลายชั้น หากเปนชั้นเดียวปกติจะมีกลีบดอก 5 กลีบ มีกานเกสรอยูตรง กลางดอกหนึ่งกาน ลักษณะของกลีบดอกชบาจะมีขนาดใหญ มีหลายสี ลําตนแตกกิ่งปานกลาง แตใบมีขนาดใหญ และดก ทําใหแลดูมีทรงพุมทึบ เปลือกลําตนมีเสนใยและยางเมือก สามารถดึงลอกออกเปนเสนเชือกได
  • 19.  แหลงที่พบ ปลูกทั่วไปในเขตรอน โดยตนชบานั้น มีตนกําเนิดในประเทศจีน อินเดีย และในหมูเกาะ ฮาวาย  ประโยชน มีสวนชวยบํารุงผิวพรรณ ชวยบํารุง จิตใจใหสดชื่นแจมใส ชวยฟอกโลหิต ชวยรักษา และบรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับไต ชวยดับ รอนในรางกาย แกกระหาย และชวยแกไข ชวย เรียกน้ํายอย ชวยแกประจําเดือนมาไมสม่ําเสมอ มีระดูขาว ใบชบาสามารถชวยรักษาแผลไฟไหม น้ํารอนลวกได (ผูรับผิดชอบ น.ส.ศุภาพิชญ สุขะวนวัฒน)
  • 20. หญาขัดใบยาว  ชื่อวิทยาศาสตร Sida acuta Burm.f.  ชื่อพอง ไมมี  ชื่อสามัญ Broom weed, Two-beaked, Snake’s Tongue  ชื่ออื่นๆ หญาขัดมอญ, คัดมอน, หญาขอ, หญาไมกวาด  ลักษณะตางๆของพืช เปนไมลมลุก ลําตนตั้งตรงแข็งแรง เปลือกตนมีความเหนียว กิ่งกานแตกสาขาแผออกเปนพุม ตามกิ่งมีขนนุมหรือคอนขางเกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว เรียงเวียนหาง รูปใบหอก ปลายใบแหลม สวนโคนใบมน ขอบใบเปนจักรคลายฟน เลื่อย ดอกมีสีเหลือง ออกดอกแบบเดี่ยว หรือคูบริเวณงามใบ มีเกสรตัวผู ติดกันเปน หลอดๆ กลีบเลี้ยงที่โคนดอกติดกันเปนรูปถวยตื้นๆ ปลายแยกออกเปน 5 แฉก
  • 21.  แหลงที่พบ พบไดทั่วทุกภาคของประเทศไทย ตามพื้นที่รกรางตางๆ ขางถนนหนทางหรือชายปา  ประโยชน รากใชเปนยาขมชวยใหเจริญอาหาร ชวย บํารุงธาตุและปอด แกอาการออนเพลีย ตัวรอน ดับ พิษไข ชวยขับเสมหะ สวนลําตนนํามาตมในน้ํา ชวย บรรเทาอาการปวดฟนได กิ่งและลําตนที่โตเต็มที่ แลว นําไปตากแหงจนใบหลุดรวง จากนั้นใชตนแหง มัดรวมกัน ทําเปนไมกวาด หรือจะใชเปนสวนผสม สําหรับทําผงขัดหนา (ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
  • 22. ปอทะเล  ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus tiliaceus L.  ชื่อพอง Talipariti tiliaceum L.  ชื่อสามัญ Coast cotton tree, Yellow mallow tree  ชื่ออื่นๆ ไมมี  ลักษณะตางๆของพืช เปนไมยืนตน และไมพุม ใบเปนรูปหัวใจ เรียงเวียนเสนแขนง ขอบใบหยักถี่ ใตใบมีขนออนๆปกคลุม มีตอมตามซอกใบ ชอดอกออกตามซอกใบดอกมีสีเหลือง บานตอนสาย พอตกเย็นจะกลายเปนสีแดงแลว หลุดรวงไป สวนผลมีลักษณะแหง และแตกได
  • 23.  แหลงที่พบ พบบริเวณรอยตอระหวางน้ําจืด กับน้ําเค็ม ปลูกขึ้นตามชายทะเล หรือแมน้ําลําคลอง  ประโยชน เปลือกตนปอทะเลใชทําเชือก ใบใชเปนยารักษาแผล เนื้อไมของปอทะเล นําไปใชในงานชางไมได เชน ทําเรือ เปลือกไม และรากใชตมทํายาแกไข ใบออนกินเปนผัก ชนพื้นเมืองในฮาวายนําเนื้อไม ใชสรางเรือแคนู ประเทศในแถบเอเชียนิยม ใชปอทะเลทําบอนไซ ชาวโอรังอัสลี นําเปลือกทําเปนผงแหง ใชรักษาโรคติดตอ ทางเพศสัมพันธ (ผูรับผิดชอบ น.ส.อภิชญา ชินวรกิจ)
  • 24. โกโก  ชื่อวิทยาศาสตร Theobroma cacao  ชื่อพอง Cacao minus Gaertn. ,Cacao sativa.  ชื่อสามัญ Cacao Tree  ชื่ออื่นๆ ไมมี  ลักษณะตางๆของพืช รากแกวของตนกลาโกโก หยั่งลึกมาก ใบออนของโกโกมีสีเขียวออนจนถึงน้ําตาล ใบแกมีสีเขียวเขม ปรากฏหูใบชัดเจน ขณะเปนตนออน ลําตนเดี่ยว ไมมีกิ่งแขนง จากนั้นตายอดจะหยุดการ เจริญและพัฒนาเปนกิ่งแขนง ดอกออกตามลําตนหรือ ตามกิ่ง ดอกสีขาวอมชมพู เมล็ดอัดแนนรวมกันอยู กลางฝก ฝกแกสีสมเหลือง ฝกออนสีเขียวหรือเหลือง
  • 25.  แหลงที่พบ มีถิ่นกําเนิดบริเวณ upper Amazon basin ซึ่งเปนบริเวณปาฝนเขต รอน พบมากในบริเวณอเมริกากลางและใต ปจจุบันมีการปลูกแพรหลายในประเทศ ไทย  ประโยชน สามารถใชปลูกรวมกับพืช เศรษฐกิจอื่นๆเพื่อใหรมเงา รากหยั่งลึก สามารถใชคลุมดินได เมล็ดสามารถนํามา ประกอบอาหารและเครื่องดื่ม (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
  • 26. ศุภโชค  ชื่อวิทยาศาสตร Pachira aquatica  ชื่อพอง Bombax macrocarpum  ชื่อสามัญ alabar chestnut, French peanut  ชื่ออื่นๆ monguba , pumpo, money tree  ลักษณะตางๆของพืช ตนไมเปนทรงพุม แตกกิ่ง เปนชั้นๆ เปนไมเนื้อออน มีระบบรากใหญและลึก ใบ เปนใบติดกัน มีความเงาเปนมัน สีเขียวเขม ดอก ออกเปนชอลักษณะพูสีขาว มีกลิ่นหอมเวลา กลางคืน ผลเปนผลรวม เปลือกแข็ง คลายนุนแต ผลสั้นและกลมกวา เมล็ดเมื่อแกจัดเปลือกจะดีด ตัวเปดออก
  • 27.  แหลงที่พบ พบในเขตรอน มีถิ่นกําเนิด แถบทวีปอเมริกาใต นิยมปลูกมากใน ประเทศจีน  ประโยชน สามารถปลูกเปนพืชในเชิง อนุรักษตนน้ําเพราะมีรากหยั่งลึก เมล็ด ดิบนําไปแปรรูปรับประทานได ใชเปนไม ประดับที่มีความเชื่อกันวาปลูกแลวเรียก โชคลาภได (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
  • 28. ขี้อน  ชื่อวิทยาศาสตร Pavonia rigida  ชื่อพอง Urena rigida Wall.  ชื่อสามัญ ขี้อน  ชื่ออื่นๆ ครอบจักรวาล,แสงอาทิตย,คืนหน  ลักษณะตางๆของพืช ไมพุม เลื้อยไปตาม พื้นดิน ชูยอดตั้งขึ้น เปลือกตนเหนียวสีน้ําตาล ออน ใบมีขนสีน้ําตาลปกคลุม ลําตนสีน้ําตาลมี ขนรูปดาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไขหรือรูปโล ดอกชอกระจุกออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบดอกสีชมพูสวนโคนกลีบดอกเชื่อมกับฐาน หลอดเกสรตัวผู ผลเปนผลแหงแตกได ผิวมีขน เปนริ้วประดับรูปถวยปกคลุม เมล็ดรูปไต
  • 29.  แหลงที่พบ พบตามปาเต็งรัง ปาดิบ แลง พบตามริมทาง ชายปาผลัดใบ พบ มากทางภาคเหนือและอีสาน  ประโยชน ใชรากตมน้ํา เพื่อบํารุงโลหิต ใชรักษานิ่วในถุงน้ําดี (ผูรับผิดชอบ น.ส.ธัญณัฐ รุงปญญารัตน)
  • 30. บรรณานุกรม  http://www.the-than.com/samonpai/sa_33.html  http://www.rspg.or.th/plants_data/use/fiber1-2.html  https://en.m.wikipedia.org/wiki/Hibiscus_acetosella  http://www.vichakaset.com/ชบาเมเปล/  http://t-fern.forest.ku.ac.th/Forest/?action=family&action2=family_detail&fam=MALVACEAE  https://th.m.wikipedia.org/wiki/ชบาเมเปล  https://th.m.wikipedia.org/wiki/พุดตาน  https://medthai.com/ดอกชบา/  https://medthai.com/พุดตาน/  https://th.m.wikipedia.org/wiki/ชบา
  • 31. กิตติกรรมประกาศ คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ที่ไดให คําแนะนํา และแนวคิดในการดําเนินงาน ตลอดจนแกไขขอบกพรองตางๆมา โดยตลอด ทําใหงานนําเสนอนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี ขอบคุณสมาชิกในกลุมทุก คนที่รวมแรงรวมใจในการทํางาน และขอขอบพระคุณผูปกครองที่ไดเปน กําลังใจ สุดทายนี้ผูจัดทําหวังวาโครงงานชิ้นนี้จะใหความรูและเปนประโยชนแก ผูอานทุกๆทาน และหากมีขอเสนอแนะประการใด ผูจัดทําขอรับไวดวยความ ขอบพระคุณยิ่ง