SlideShare a Scribd company logo
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์ปัญหาของครูนิศา
ครูนิศาเป็นครูบรรจุใหม่ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษามาได้ระยะ
หนึ่ง ครูนิศาพลิกดูคาตอบของนักเรียนไปทีละคน รู้สึกประหลาดใจและคิดว่าเกิดอะไร
ขึ้น ทาไมนักเรียนส่วนใหญ่จึงทาข้อสอบได้แย่มาก มีบางคนเท่านั้นที่ทาได้ดี แต่ส่วน
ใหญ่ทาข้อสอบไม่ได้ ครูนิศามองกองกระดาษข้อสอบที่อยู่ตรงหน้า อ่านคาถามข้อสามที่
กาหนดว่า
“ให้นักเรียนวาดแผนภาพและเขียนรายละเอียดซึ่งแสดงให้เห็นว่า น้าในบริเวณ
แห่งหนึ่งอาจมาจากน้าฝนที่ตกในบริเวณอีกแห่งหนึ่งที่อยู่ห่างไกลออกไปมาก”
นักเรียนคนหนึ่งเขียนว่า “ผมจาคาตอบในหนังสือไม่ได้ครับ” อีกคนหนึ่งวาด
ภาพท่อระบายของเสียที่ไม่มีน้าลงสู่สระ อีกคนหนึ่งวาดภาพรถบรรทุกที่ลากถังน้ามายัง
บ่อน้า นักเรียนเจ็ดคนเว้นที่ว่างตรงคาตอบ นักเรียนที่เหลือเขียนภาพไม่สมบูรณ์และ
สับสน มีนักเรียนเพียง 4 คน จาก 25 คน เท่านั้นที่ทาได้ถูกต้อง
ทันใดนั้น มีเสียงดังมาจากประตู “นิศา! ได้เวลากลับบ้านแล้วนะ” นิศาลุก
พรวดขึ้นจากเก้าอี้ จาได้ว่าเป็นเสียงของมาลีจึงตะโกนตอบไปว่า “มาลีเหรอ ฉันเสร็จ
งานพอดี ฉันจะเดินออกไปขึ้นรถพร้อมเธอ” ระหว่างเดินไปขึ้นรถ มาลีถามนิศาว่า
“เป็นอย่างไรบ้าง?”
นิศา : “ก็ดีนะ! ตอนนี้ฉันเริ่มเคยชินแล้วกับการอยู่ทางานต่อหลังโรงเรียนเลิก
เพื่อเตรียมการสอนสาหรับวันรุ่งขึ้น เธอคิดว่าการทาอย่างนี้จะช่วยให้การเรียนการสอนดี
ขึ้นไหม?"
มาลี : “เป็นครูใหม่ก็อย่างนี้แหละ ช่วงแรกๆ เธอจะรู้สึกว่าไม่มีเวลาเป็นของ
ตัวเองเลย แต่วันหนึ่งเธอจะรู้สึกสบายใจและมีเวลาทาสิ่งที่เธออยากทามากขึ้น”
นิศา : “ฉันก็หวังว่าจะเป็นอย่างนั้นนะ มาลี! ถามอะไรหน่อย ฉันแปลกใจ
มากเลย เธอเป็นครูมาตั้งนานแล้ว พอจะบอกฉันได้ไหมว่าความคาดหวังของเธอที่มีต่อ
นักเรียนที่เธอสอนมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างไหม?”
มาลีมองนิศาด้วยสีหน้าที่งุนงง ถามกลับไปว่า “เธอหมายความว่าอย่างไร?”
นิศาคิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วตอบว่า “ฉันเพิ่งอ่านคาตอบของนักเรียนที่ฉันให้ทา
แบบทดสอบย่อยเมื่อเช้านี้ มีนักเรียนจานวนมากที่ทาข้อสอบได้แย่มากๆ นี่ไม่ใช่ครั้งแรก
นะที่นักเรียนทาข้อสอบไม่ได้ในเทอมนี้ ดูเหมือนว่านักเรียนห้องนี้จะมีลักษณะอย่างนี้มา
นานแล้ว ฉันมาลองคิดดูว่าเกิดจากอะไรหรือว่าเป็นเพราะสิ่งที่ฉันคาดหวังไว้กับนักเรียน
ไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้อง ฉันคาดหวังเกี่ยวกับนักเรียนสูงเกินไปหรือเปล่า?”
มาลีพูดว่า “ฉันเคยรู้สึกแบบเธอบ้างเหมือนกัน มันเป็นเรื่องที่ท้าทายสาหรับครู
มากกว่านะว่าสอนอย่างไรให้เด็กๆ เข้าใจแม้แต่แนวคิดเบื้องต้นของวิชานั้น”
นิศาถามว่า “ถ้าเป็นเธอจะทาอย่างไร ฉันหมายถึงผลการสอบครั้งนี้แสดงให้
เห็นว่าเมื่อสามอาทิตย์ที่แล้วนักเรียนส่วนใหญ่เรียนรู้ได้น้อยมาก ตอนนี้ฉันควรทา
อย่างไรดี! จะให้ฉันย้อนกลับไปสอนแนวคิดพื้นฐานของเรื่องนี้ใหม่ให้กับนักเรียนที่ยัง
ไม่เข้าใจและอยู่ล้าหลังคนอื่นๆ หรือฉันควรมองข้ามเรื่องนี้แล้วสอนเนื้อหาต่อจากนี้ไป
อีก
ถ้าผลสอบคราวหน้ายังแตกต่างกันเหมือนเดิม ฉันคงพูดอะไรไม่ออก ฉันอยากหาทาง
แก้ปัญหาเรื่องนี้จริงๆ ให้จบในเร็ววันนี้”
มาลีหยุดเดินและกล่าวว่า “นิศา ฉันฟังเธอเล่าแล้วดูเหมือนว่าสถานการณ์ที่เกิด
ขึ้นกับเธอสมบูรณ์แบบมากถ้าจะนาไปเสนอใน ‘การประชุมครูเพื่อหาแนวทางเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนและการสอน’ เมื่อปีที่แล้ว ฝ่ายแนะแนวได้เสนอต่อคณะกรรมการ
ประจาโรงเรียนให้คณะครูกาหนดช่วงเวลาให้ตรงกันสัปดาห์ละครั้ง เพื่อพิจารณา
ตรวจสอบประเด็นปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน จะได้ร่วมมือกันหาแนวทาง
ช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มนี้ พวกเราเพิ่งประชุมกันไปสองสามครั้งเท่านั้น ทุกวันพุธตอน
บ่าย สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ฉันคิดว่าปัญหาของเธอเป็นปัญหาที่ดีมากๆ ถ้าจะนาเข้าสู่ที่
ประชุม”
นิศาถามว่า “เธอหมายความว่าครูคนอื่นๆ เต็มใจที่จะรับฟังปัญหาและช่วยกัน
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของฉันใช่ไหม?”
มาลีตอบว่า “ก็ไม่ใช่ทั้งหมด เพราะที่พูดกับเธอไปนั้นเป็นเพียงหลักการ
พวกเรายังไม่เคยลงมือปฏิบัติกันอย่างจริงจังเลย ทาไมเธอไม่เขียนเป็นรายงานโดย
บอกรายละเอียดทั้งหมดว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้างในชั้นเรียนของเธอ และเธอ
ได้จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นไปแล้วอย่างไร แล้วนักเรียนแสดงปฏิกิริยาอะไรบ้าง
เขียนเสร็จแล้วสาเนาเอกสาร 6 ชุด ฉันจะส่งให้คณะครูอ่านล่วงหน้า วันพุธหน้า
จะมีการประชุมครู เอกสารรายงานของเธอจะได้รับการพิจารณาในที่ประชุมด้วย
ฉันรู้มาว่าที่ประชุมจะนาปัญหาของครูพิทยามาพิจารณาเช่นเดียวกัน”
นิศาพูดด้วยความดีใจว่า “เยี่ยมไปเลย มาลี ฉันจะรวบรวมข้อมูลทั้ง
หมดแล้วส่งเอกสารทั้งหมดให้เธอภายในวันจันทร์ ขอบใจมากนะจ๊ะ”
เหตุการณ์ในห้องประชุมครู
สมมติว่า ท่านเป็นคณะครูที่กาลังระดมความคิดเกี่ยวกับการเสริมประสิทธิภาพ
การเรียนและการสอน และได้รับรายงานเกี่ยวกับปัญหาในชั้นเรียนของครูสองคน คือ
ครูนิศา และครูพิทยา ท่านจะมีแนวทางแก้ไขปัญหาและมีข้อเสนอแนะอย่างไร?
รายงานของครูนิศา
ครูนิศาเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพิ่งทางาน
ได้ 6 เดือน รู้สึกกังวลเนื่องจากนักเรียนไม่สามารถสืบเสาะหาความรู้และไม่สามารถคิด
วิเคราะห์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อสั่งให้นักเรียนอ่านหนังสือมาล่วงหน้า
เพื่อทดสอบความรู้ก่อนเรียน นักเรียนส่วนใหญ่ทาข้อสอบไม่ได้ ไม่เข้าใจคาถาม มีเพียง
4 คนที่ทาข้อสอบได้ถูกต้อง วิธีสอนที่ใช้ได้แก่ การให้นักเรียนทากิจกรรม ทา
แบบฝึกหัด และการสาธิต ไม่ว่าครูนิศาจะใช้วิธีการสอนแบบใด ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ก็ไม่ดีขึ้น ผู้ปกครองของนักเรียนบางคนได้มาพบครูประจาชั้นเพื่อ
ขอคาปรึกษา และขอให้เปลี่ยนครูสอนวิทยาศาสตร์
ครูนิศา
รายงานความคิดเห็น
( จากสมาชิกกลุ่ม )
รายการข้อเท็จจริง
( สิ่งที่รู้แล้ว )
ประเด็นการเรียนรู้
( สิ่งที่ต้องรู้ )
1.ครูและนักเรียนยังไม่มีปฏิสัมพันธ์ที่
ดีต่อกัน
( นางสาวสุภาวดี ทองอุ่นเรือน )
2.บรรยากาศในห้องเรียนไม่เอื้อต่อการ
เรียนรู้
( นางสาวชุติมา สกุลพรพัฒน์)
3.ครูนิศาคาดหวังในตัวนักเรียนมาก
เกินไป
( นางสาวสุวรรณา ธรรมวิเศษ )
ครูนิศา
1.เป็นครูบรรจุใหม่
2.สอนวิชาวิทยาศาสตร์ระดับ
มัธยมศึกษาปีที่2
3.ครูนิศาให้นักเรียนทาแบบสอบย่อย
วิชาวิทยาศาสตร์
4.ผู้ปกครองนักเรียนบางคนมาพบครู
ประจาชั้นเพื่อขอคาปรึกษาและเปลี่ยน
ครูผู้สอน
1.กระบวนการเรียนการสอน
2.การจัดการในชั้นเรียน
3.การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
4.การเรียนรู้
5.พฤติกรรมและปัญหาของวัยรุ่น
6.กระบวนการแนะแนว
รายงานความคิดเห็น
( จากสมาชิกกลุ่ม )
รายการข้อเท็จจริง
( สิ่งที่รู้แล้ว )
ประเด็นการเรียนรู้
( สิ่งที่ต้องรู้ )
4.พัฒนาการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล
แตกต่างกัน
( นางสาวสุจิตรา จันทิมา )
5.กิจกรรมการเรียนการสอนไม่
สอดคล้องกับนักเรียน
( นางสาวสุภาพร หงษ์สร้อย )
6.คุณครูและนักเรียนไม่มีปฏิสัมพันธ์
ที่ดีต่อกันรวมการสร้างบรรยากาศและ
จัดกิจกรรมไม่สอดคล้องต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน ( กลุ่ม )
5.วิธีการสอนของครูนิศา คือ ให้
นักเรียนทากิจกรรมทาแบบฝึกหัด และ
การสาธิต
นักเรียน
1.นักเรียนส่วนใหญ่ทาข้อสอบไม่ได้
2.นักเรียนไม่สามารถคิดวิเคราะห์โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3.นักเรียนไม่เข้าใจคาถาม
4.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์
หัวข้อที่จะศึกษา
1.กระบวนการเรียนการสอน
เป็นการดาเนินงานเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่ถูก
กาหนดเป็นแบบแผนการเรียน ได้แก่ การจัดทาตารางสอน การจัดครูเข้าสอน
การแบ่งกลุ่มนักเรียน ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกอันเกี่ยวกับการเรียน การ
สอน โดยเฉพาะสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐยังต้องจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือ สื่อที่ใช้เกี่ยวกับการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ
2.การจัดการในชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน
และภายนอก ห้องเรียน เพื่อสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
3.การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบ
เรียบร้อย มีความสะอาด มีเครื่องใช้ และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จะ
ส่งเสริมให้การเรียนของนักเรียน รวมถึงการสร้างบรรยากาศทางด้านจิตใจให้
นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความอบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความกล้าแสดงออกอย่าง
มีระเบียบวินัยในชั้นเรียน
4.การเรียนรู้
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตาม
สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของ
มนุษย์"
5.พฤติกรรมและปัญหาของวัยรุ่น
สาเหตุของปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น
1. ร่างกาย เช่น การเปลี่ยนแปลงของสารเคมี สารสื่อนาประสาท โรค
ทางการ โรคระบบประสาท สารพิษ
2. จิตใจ เช่น บุคลิกภาพ ความคิด การมองโลก การปรับตัว
3. สังคม เช่น การเลี้ยงดู ปัญหาของพ่อแม่ ตัวอย่างของสังคม สื่อต่างๆ
6.กระบวนการแนะแนว
การแนะแนว หมายถึง กระบวนการหนึ่งซึ่งจะช่วยให้นักเรียนรู้จักและ
เข้าใจตนเอง รู้จักสภาพแวดล้อม สามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
และสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆได้
แนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
ขั้นที่ 1 ให้คาแนะนาแก่ครูนิศา
ครูนิศาศึกษาเรื่อง
1. การเรียนรู้
2. การจัดการชั้นเรียน
3. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
4. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ)
ขั้นที่ 2 ครูนิศาศึกษาเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้
1. สื่อการเรียนการสอน
2. แหล่งเรียนรู้
ขั้นที่ 3 ครูนิศาปรับรูปแบบเพื่อประยุกต์ใช้กับผู้เรียน
1. ครูนิศารวบรวมข้อมูลปัญหาของผู้เรียน
2. ครูนิศาใช้รูปแบบการสอนที่ได้ศึกษามาปรับใช้กับผู้เรียน
2.1 การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม ฝึกให้ผู้เรียนตั้งคาถาม และ
ตอบคาถาม
แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ)
2.2 วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา เป็นการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล
ด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
และการแลกเปลี่ยนความรู้
3. ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อเนื้อหาที่เรียน
และผู้สอน
4. ให้ครูนิศาสร้างบรรยากาศที่ดีกับผู้เรียน
ข้อดีและอุปสรรคข้อดี
1. ครูนิศามีวิธีการสอนที่ทาให้ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
2. ครูนิศาจัดวิธีการเรียนให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
3. ครูนิศารู้จุดเด่นจุดด้อยของผู้เรียนรายบุคคล จากการประเมินก่อน
สอบ
4. ครูนิศามีการจัดกลุ่มผู้เรียนตามความสามารถ
อุปสรรค
1. รูปแบบการสอนอาจใช้ไม่ได้ผลกับนักเรียนบางกลุ่มที่มีการเรียนรู้ช้า
2. ผลที่ได้จากการจัดการเรียนการสอน อาจไม่เห็นผลทันที
การเรียนรู้
การเรียนรู้
ความหมายของการเรียนรู้
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
• คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้าง
ถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"
• ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็น
กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และ
การฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการ
ตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกริยา
สะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ "
ธรรมชาติของการเรียนรู้
กระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ
1. มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
2. บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง 5
3. บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า
4. บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้
5. บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
กระบวนการของการเรียนรู้
การนาความรู้ไปใช้
1. ครูต้องแน่ใจว่าผู้เรียนมีพื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับความรู้ใหม่อยู่แล้ว
2. ครูพยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
3. ครูต้องไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่า
ผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน
4. ครูต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียน
ต่อไป
5. ครูพยายามชี้แนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มี
ความสัมพันธ์กัน
ลักษณะสาคัญ ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ คือ
1. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร
2. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นผลมาจากประสบการณ์
หรือการฝึก การปฏิบัติซ้าๆ เท่านั้น
3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้
ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและ
คุณภาพ
ที่มา : http://www.baanjomyut.com/library_2/psychology_of_learning/04.html
การรับรู้ (Perception)
ความหมายของการรับรู้
การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายจากการสัมผัส
โดยเริ่มตั้งแต่ การมีสิ่งเร้ามา กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสทั้งห้า
และส่งกระแสประสาท ไปยังสมอง เพื่อการแปลความ
กระบวนการของการรับรู้
กระบวนการของการรับรู้ (Process) เป็นกระบวนการที่คาบ
เกี่ยวกันระหว่างเรื่องความเข้าใจ การคิด การรู้สึก (Sensing) ความจา
(Memory) การเรียนรู้ (Learning) การตัดสินใจ (Decision making)
Sensing ----->Memory ------> Learning ------->Decision making
องค์ประกอบของกระบวนการรับรู้
1. มีสิ่งเร้า ( Stimulus ) ที่จะทาให้เกิด การรับรู้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์
สิ่งแวดล้อม รอบกาย ที่เป็น คน สัตว์และสิ่งของ
2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ที่ทาให้เกิดความรู้สึกสัมผัส เช่น ตาดู หู
ฟัง จมูกได้กลิ่น ลิ้นรู้รส และผิวหนังรู้ร้อนหนาว
3. ประสบการณ์ หรือความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าที่เราสัมผัส
4. การแปลความหมายของสิ่งที่เราสัมผัส สิ่งที่เคยพบเห็นมาแล้วย่อมจะอยู่
ในความทรงจาของสมอง เมื่อบุคคลได้รับสิ่งเร้า สมองก็จะทาหน้าที่
ทบทวนกับความรู้ที่มีอยู่เดิมว่า สิ่งเร้านั้นคืออะไร
การประยุกต์ใช้ในการสอน
การสอนจึงเน้นว่า "ให้สอนโดยทางสัมผัส" การรับรู้นับว่าเป็น
พื้นฐานสาคัญของการเรียนรู้ การรับรู้ที่ถูกต้องจึงจะส่งผล ให้ได้รับ ความรู้
ที่ถูกต้อง นักเรียนต้องได้การรับรู้ที่ถูกต้อง มิฉะนั้นความรู้ที่รับไปก็ผิดหมด
อวัยวะสัมผัส กับการรับรู้
การบริหารจัดการชั้นเรียน
(Classroom Management)
การบริหารจัดการชั้นเรียน
(Classroom Management)
• ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
• ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทั้ง
ภายในและภายนอก ห้องเรียน เพื่อสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความสุข การจัดสภาพแวดล้อมจะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. ความสะอาด ความปลอดภัย
2. ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
3. ความสะดวกในการทากิจกรรม
4. ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน ห้องน้าห้อง
ส้วม สนามเด็กเล่น
5. ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้าหนัก จานวน สีของ
สื่อและเครื่องเล่น
6. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดที่เล่นและมุมประสบการณ์
ต่างๆ
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
บรรยากาศในชั้นเรียนเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิด
ความสนใจในบทเรียนและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น การ
สร้าง บรรยากาศที่อบอุ่น ที่ครูให้ความเอื้ออาทรต่อนักเรียน ที่นักเรียน
กับนัก เรียนมีความสัมพันธ์ฉันท์มิตรต่อกันที่มีระเบียบ มีความสะอาด
เหล่านี้เป็นบรรยากาศที่นักเรียนต้องการ ทาให้นักเรียนมีความสุขที่
ได้มาโรงเรียน ดังนั้น การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนจึงมีความสาคัญ
อย่างยิ่ง ซึ่งประมวลได้ดังนี้
ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างราบรื่น
ช่วยสร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัย
ให้แก่ผู้เรียน
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน (ต่อ)
 ช่วย ส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้เรียน
 ช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น เช่น
การจัดมุมวิชาการการจัดป้ายนิเทศ การตกแต่งห้องเรียนด้วยผลงานของ
นักเรียน
 ช่วยส่งเสริมการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
 ช่วย สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนและการมาโรงเรียน เพราะในชั้นเรียนมีครู
ที่เข้า ใจนักเรียน ให้ความเมตตาเอื้ออารีต่อนักเรียน และนักเรียนมี
ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
สามารถแบ่งประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียนได้2 ประเภทคือ
1. บรรยากาศทางกายภาพ
2. บรรยากาศทางจิตวิทยา
บรรยากาศทางกายภาพ
(Physical Atmosphere)
บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางด้านวัตถุ หมายถึง การ
จัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าดู มี
ความสะอาด มีเครื่องใช้และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้
การเรียนของนักเรียนสะดวกขึ้น เช่น ห้องเรียนมีขนาดเหมาะสม แสงเข้า
ถูกทาง และมีแสงสว่างเพียงพอ กระดานดามีขนาดเหมาะสม โต๊ะเก้าอี้มี
ขนาดเหมาะสมกับวัยนักเรียน เป็นต้น
บรรยากาศทางจิตวิทยา
(Psychological Atmosphere)
บรรยากาศทางจิตวิทยา หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่
นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความอบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อัน
ดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความ
กล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน นักเรียนจะเกิดความรู้เช่นนี้
ขึ้นอยู่กับ “ ครู” เป็นสาคัญ ในข้อเหล่านี้
1.บุคลิกภาพ
2.พฤติกรรมการสอน
3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียน
4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการ
ดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน โดยมีครูที่
ปรึกษาดาเนินการ และมีการประสานความร่วมมืออย่าง
ใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองหรือบุคคล ภายนอกที่มี
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดาเนินงาน
ที่มีองค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ คือ
1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
2. การคัดกรองนักเรียน
3. การส่งเสริมนักเรียน
4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา
5. การส่งต่อ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ด้วยความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนที่มีพื้นฐานความเป็นมาของชีวิต
ที่ไม่เหมือนกัน ทาให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งด้านบวกและ
ด้านลบดังนั้นการรู้จักข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับตัวนักเรียนจึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่
จะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถนาข้อมูลมา
วิเคราะห์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อย่างถูกทาง และจะไม่
ทาให้เกิดข้อผิดพลาดต่อการช่วยเหลือนักเรียนหรือเกิดได้น้อยที่สุด
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
2. การคัดกรองนักเรียน
การคัดกรองนักเรียน เป็นการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน เพื่อ
การจัดกลุ่มนักเรียน เป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มปกติ คือ นักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การ
คัดกรอง อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ
กลุ่มเสี่ยง คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์การ
คัดกรอง ซึ่งต้องให้ความช่วยเหลือ ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาตามเกณฑ์
ตามแต่กรณี
กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตาม
เกณฑ์การคัดกรอง ซึ่งต้องให้ความช่วยเหลือ ป้องกันหรือแก้ไขปัญหา
ตามเกณฑ์ตามแต่กรณี
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
ผลการคัดกรองนักเรียน ครูที่ปรึกษาจาเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งที่จะ
ไม่ทาให้นักเรียนรับรู้ได้ว่าตนถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ซึ่งมี
ความแตกต่างจากกลุ่มปกติ โดยเฉพาะนักเรียนวัยรุ่นที่มีความไวต่อการ
รับรู้ (sensitive) แม้ว่านักเรียนจะรู้ดีว่า ขณะนี้ตนมีพฤติกรรมอย่างไรหรือ
ประสบกับปัญหาใดก็ตามและเพื่อเป็นการป้องกันการล้อเลียนในหมู่เพื่อน
อีกด้วย ดังนั้น ครูที่ปรึกษาต้องเก็บผลการคัดกรองนักเรียนเป็น
ความลับ นอกจากนี้หากครูที่ปรึกษามีการประสานงานกับผู้ปกครองเพื่อ
ช่วยเหลือนักเรียน ก็ควรระมัดระวังสื่อสารที่ทาให้ผู้ปกครองเกิดความรู้สึก
ว่า บุตรหลานของตนถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่ผิดปกติแตกต่างจากเพื่อนนักเรียน
อื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลเสียต่อนักเรียนในภายหลังได้น้อยที่สุด
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
3. การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน
การพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคน ไม่
ว่าจะเป็นนักเรียนกลุ่มปกติหรือกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา กลุ่มความสามารถพิเศษ
ให้มีคุณภาพมากขึ้น ได้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจในตนเองใน
ด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยป้องกันมิให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มปกติและกลุ่มพิเศษ
กลายเป็นนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา และเป็นการช่วยให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยง/
มีปัญหากลับมาเป็นนักเรียนกลุ่มปกติและมีคุณภาพตามมาตรฐานที่
โรงเรียนหรือชุมชนคาดหวังต่อไป
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
การส่งเสริมพัฒนานักเรียนมีหลายวิธีที่โรงเรียนสามารถพิจารณาดาเนินการ
ได้แต่มีกิจกรรมหลักสาคัญ ที่โรงเรียนต้องดาเนินการ คือ
1. การจัดกิจกรรมโฮมรูม
2. การเยี่ยมบ้าน
3. การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting)
4. การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตและกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
4. การป้ องกันและแก้ไขปัญหา
ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูควรให้ความเอาใจใส่กับนักเรียนทุกคน
อย่างเท่าเทียมกัน แต่สาหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหานั้น จาเป็นอย่างมากที่
ต้องให้ความดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและหาวิธีการช่วยเหลือทั้งการป้องกัน
และการแก้ไขปัญหา โดยไม่ปล่อยปละละเลยนักเรียนจนกลายเป็นปัญหาของ
สังคม การสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน จึงเป็น
ภาระงานที่ยิ่งใหญ่และมีคุณค่าอย่างมากในการพัฒนาให้นักเรียนเติบโตเป็น
บุคคลที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป
การป้องกันและการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนนั้นมีหลายเทคนิค วิธีการ แต่
สิ่งที่ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา จาเป็นต้องดาเนินการมีอย่างน้อย 2 ประการ คือ
1. การให้คาปรึกษาเบื้องต้น
2. การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
5. การส่งต่อ
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนโดยครูที่ปรึกษา อาจมีกรณีที่
บางปัญหามีความยากต่อการช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมี
พฤติกรรมไม่ดีขึ้นก็ควรดาเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป
เพื่อให้ปัญหาของนักเรียนได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกทางและรวดเร็วขึ้น
หากปล่อยให้เป็นบทบาทหน้าที่ของครูที่ปรึกษาหรือครู คนใดคนหนึ่งเพียง
ลาพังความยุ่งยากของปัญหาอาจมีมากขึ้น หรือลุกลามกลายเป็นปัญหา
ใหญ่โตจนยากต่อการแก้ไข ซึ่งครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษาสามารถ
ดาเนินการได้ตั้งแต่กระบวนการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือการคัด
กรองนักเรียน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาของนักเรียนในแต่ละกรณี
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
การส่งต่อแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. การส่งต่อภายใน ครูที่ปรึกษาส่งต่อไปยังครูที่สามารถให้การช่วยเหลือ
นักเรียนได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหา เช่น ส่งต่อครูแนะแนว ครูพยาบาล
ครูประจาวิชา หรือฝ่ายปกครอง
2. การส่งต่อภายนอก ครูแนะแนวหรือฝ่ายปกครองเป็นผู้ดาเนินการส่ง
ต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญภายนอก หากพิจารณาเห็นว่าเป็นกรณีปัญหาที่มีความ
ยากเกินกว่าศักยภาพของโรงเรียนจะดูแลช่วยเหลือได้
คณะผู้จัดทา
นางสาวชุติมา สกุลพรพัฒน์
นางสาวสุภาวดี ทองอุ่นเรือน
นางสาวสุวรรณา ทองวิเศษ
นางสาวมินตรา สุภิสิงห์
คณะผู้จัดทา (ต่อ)
นางสาวสุจิตรา จันทิมา
นางสาวสุภาพร หงษ์สร้อย
นางสาวพิมพ์วิษา โรจน์บุญถึง

More Related Content

What's hot

๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant
Bus Blue Lotus
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
Thanyamon Chat.
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
thanakit553
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
Wichai Likitponrak
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
ssuser3892ca
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 

What's hot (20)

๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 

Viewers also liked

สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Suthakorn Chatsena
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
Ptato Ok
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
Tum'Tim Chanjira
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
Nut Kung
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
earlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
BLue Artittaya
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
Adoby Milk Pannida
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
JaengJy Doublej
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
ญาณิศา ไหลพึ่งทอง
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 

Viewers also liked (20)

สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 

Similar to สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
Siri Siripirom
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
siri123001
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรrujirapyo1
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
Tar Bt
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์krophut
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
Chirinee Deeraksa
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
เนาวรัตน์ กาบขุนทด
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
pornpimonnuy
 

Similar to สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา (20)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไร
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (7)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา