SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
แแบบบฝฝึึกเเสสรริิมททักักษษะะคณณิติตศศาาสตรร์์ 
เเรรื่อื่อง 
ทฤษฎฎีีจจาานวนเเบบ้ื้อืองตต้้น 
((ชชุุด 1 กกาารหหาารลงตวั)) 
รราายววิิชชาาคณณิติตศศาาสตรร์์ GP1 
ภภาาคเเรรีียนททีี่่ 1 ปปีีกกาารศศึึกษษาา 2557 
ผลการเรียนรู้ 
นักเรียนเข้าใจสมบัติของจา นวนเต็ม และนา ไปใช้ในการให้เหตุผล 
เกี่ยวกับการหารลงตัวได้ 
ศึกษาผลการเรียนรู้ 
และเนื้อหาก่อนดีกว่า
2 
1.1 การหารลงตัว (Exact Division) 
บทนิยาม 
ให้ a และ b เป็นจา นวนเต็ม โดยที่ b  0 
b หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจา นวนเต็ม c ที่ทา ให้ a = bc เรียก b ว่าเป็น ตัวหาร 
(divisor) ของ a และเรียก a ว่าเป็น พหุคูณ (multiple) ของ b 
ใช้สัญลักษณ์ b/a แทน “b หาร a ลงตัว 
ศึกษาตัวอย่างก่อน 
นะครับ 
แล้วค่อยทาแบบ 
ฝึก
3 
ตัวอย่างที่ 1 จงแสดงว่า 3/12, -4/12, 9/54, 7/0, -11/-121, 5/-25, -3/0 
3/12 เพราะ 12 = 3(4) 
-4/12 เพราะ 12 = -4(3) 
9/54 เพราะ 54 = 9(6) 
7/0 เพราะ 0 = 7(0) 
-11/-121 เพราะ -121 = -11(11) 
5/-25 เพราะ -25 = 5(-5) 
-3/0 เพราะ 0 = -3(0) 
ตัวอย่างที่ 2 จงแสดงว่า - 3/12, 4/-12, -9/54, - 7/0, 11/-121, -5/-25, 2/0 
-3/12 เพราะ 12 = -3(-4) 
4/-12 เพราะ -12 = 4(-3) 
-9/54 เพราะ 54 = -9(-6 ) 
-7/0 เพราะ 0 = - 7(0) 
11/-121 เพราะ -121 = 11(-11) 
-5/-25 เพราะ -25 = -5(5) 
2/0 เพราะ 0 = 2(0) 
ศึกษาตัวอย่างแล้ว 
ทาแบบฝึก 
ด้วยความมั่นใจนะครับ
4 
แบบฝึกหัด 1.1 
การหารลงตัว 
1. จงแสดงว่า -6/12 , 8/-16 , 5/25 , -9/0 , 10/-100 , -25/-25 , -2/0 , 
4/0 , -11/0 , -1/1 
1.1) -6/12 เพราะ 12 = -6(……) 
1.2) 8/-16 เพราะ -16 = 8(……) 
1.3) 5/25 เพราะ 25 = 5(…… ) 
1.4) -9/0 เพราะ 0 = - 9(……) 
1.5) 10/-100 เพราะ -100 = 10(…..) 
1.6) -25/-25 เพราะ -25 = -25(……) 
1.7) -2/0 เพราะ 0 = -2(……) 
1.8) 4/0 เพราะ 0 = 4(……) 
1.9) -11/0 เพราะ 0 = -11(……) 
1.10) -1/1 เพราะ 1 = -1(……) 
2. จงแสดงว่า 12/0 , -8/-32 , -5/125 , -91/0 , 100/-1,000 , -125/-250 
1) 12/0 เพราะ …………………….. 
2) -8/-32 เพราะ …………………….. 
3) -5/125 เพราะ …………………….. 
4) -91/0 เพราะ …………………….. 
5) 100/-1,000 เพราะ …………………….. 
6) -125/-250 เพราะ ……………………..
5 
1.2 ทฤษฎีบทการหารลงตัว 
ทฤษฎีบท 1 
ให้ a, b และ c เป็นจา นวนเต็ม โดยที่ a  0 และ b  0 ถ้า a/b และ b/c 
แล้ว a/c 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = by 
ดังนั้น c = (ax)y 
c = a(xy) และ xy เป็นจา นวนเต็ม 
ดังนั้น a/c
6 
ทฤษฎีบท 2 
ให้ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง a/b แล้ว a ≤ b 
พิสูจน์ สมมติ a/b 
จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax 
เนื่องจาก a และ b เป็นจานวนเต็มบวก จะได้ x เป็นจานวนเต็มบวก 
ดังนั้น x ≥ 1 
จะได้ ax ≥ a (เพราะ a เป็นจานวนเต็มบวก) 
ดังนั้น b ≥ a 
เช่น 3/12 จะเห็นว่า 3≤12 
3/3 จะเห็นว่า 3=3
7 
ทฤษฎีบท 3 
ให้ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a/b และ a/c 
แล้ว a/(bx + cy) เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มใดๆ 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจานวนเต็ม d ที่ทาให้ b = ad 
และมีจานวนเต็ม e ที่ทาให้ c = ae 
ดังนั้น bx + cy = (ad)x + (ae)y เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม 
= a(dx + ey) 
เนื่องจาก dx + ey เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/(bx + cy) 
นิพจน์ในรูป bx + cy เรียกว่า ผลรวมเชิงเส้น ของ b และ c
8 
ศึกษาตัวอย่างกันดีกว่า 
นะครับ 
ตัวอย่าง 1 
กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax 
และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by 
ดังนั้น b + c = ax + by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม 
= ax + (ax)y เพราะ b = ax 
= a(x+xy) 
เนื่องจาก x + xy เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/(b + c) 
ศึกษาตัวอย่างต่อ 
นะครับ 
แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
9 
ตัวอย่าง 2 
กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax 
และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by 
ดังนั้น b - c = ax - by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม 
= ax - (ax)y เพราะ b = ax 
= a(x-xy) 
เนื่องจาก x - xy เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/(b - c) 
ศึกษาตัวอย่างต่อ 
นะครับ 
แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
10 
ตัวอย่าง 3 
กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2x – 3y) และ 
a/(4x – 3y) แล้ว a/y 
พิสูจน์ สมมติ a/(2x – 3y) และ a/(4x – 3y) 
จะมีจา นวนเตม็ n ที่ทา ให้ 2x – 3y = an 
และมีจา นวนเต็ม m ที่ทา ให้ 4x – 3y = am 
ให้ 2x – 3y = an ……….(1) 
4x – 3y = am ………..(2) 
(1)×2 จะได้สมการเป็น 4x – 6y = 2an ……….(3) 
(2)- (3) จะได้ 4x – 3y - 4x + 6y = am – 2an 
3y = a(m-2n) 
y = 
3 
a(m- 2n) 
เนื่องจาก 
3 
(m- 2n) เป็นจา นวนเตม็ 
จะได้ a/y 
ศึกษาตัวอย่าง 
ก่อนนะครับ 
แล้วค่อยทา 
แบบฝึก 
ศึกษาตัวอย่างก่อน 
นะครับ 
แล้วค่อยทาแบบ 
ฝึก
11 
ตัวอย่าง 4 
กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(3x – 4y) และ 
a/(6x – 2y) แล้ว a/x 
พิสูจน์ สมมติ a/(3x – 4y) และ a/(6x – 2y) 
จะมีจา นวนเตม็ n ที่ทา ให้ 3x – 4y = an 
และมีจา นวนเต็ม m ที่ทา ให้ 6x – 2y = am 
ให้ 3x – 4y = an ……….(1) 
6x – 2y = am ………..(2) 
(2)×2 จะได้สมการเป็น 12x – 4y = 2am ……….(3) 
(1)- (3) จะได้ 3x – 4y - 12x + 4y = an – 2am 
-9x = a(n-2m) 
x = 
- 9 
a(n - 2m) 
เนื่องจาก 
- 9 
(n - 2m) เป็นจา นวนเตม็ 
จะได้ a/x 
ศึกษาตัวอย่างต่อ 
ดีกว่านะครับ 
แบบฝึกหัดนะครับ 
แล้วค่อยทาแบบ 
ฝึก
12 
แบบฝึกหัด 1.2 
ตอนที่ 1 
คาชี้แจง จงเติมคา ตอบในช่องว่างให้ถูกต้อง 
1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a/(bc) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y 
ดังนั้น bc = ax( ……. ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= ax….. 
= a(xay) 
เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a/(bc) 
ง่ายจังเลยค่ะ 
ทาข้อ 
ต่อไปเลยดีกว่า 
ศึกษาตัวอย่างแล้วทา 
แบบฝึกหัดนะครับ 
แล้วค่อยทาแบบฝึก
13 
2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a 2 /(bc) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y 
ดังนั้น bc = ax( ……. ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= ax….. 
= a 2 (xy) 
เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a 2 /(bc) 
3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y 
ดังนั้น ………. = ax- by เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= …………. 
= a(x - xy) 
เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a/……….. 
ง่ายจังเลยนะครับ 
ทาข้อต่อไปดีกว่า
14 
ตอนที่ 2 
คาชี้แจง จงพิสูจน์ 
1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) 
พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. . 
ง่ายจังเลยค่ะ 
ทาข้อ 
ต่อไปเลยดีกว่า
15 
2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2b-3c ) และ a/(b-2c) แล้ว a/c 
พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 
ง่ายจังเลยนะครับ 
ทาข้อต่อไปดีกว่า
16 
3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(-4b+3c ) และ a/(3b-2c) แล้ว a/b 
พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 
จบแล้วค่ะ 
แล้วพบกันใหม่ชุด 2 
จานวนเฉพาะ
17 
เฉลยแบบฝึกหัด 1.1 การหารลงตัว 
1. จงแสดงว่า -6/12 , 8/-16 , 5/25 , -9/0 , 10/-100 , -25/-25 , -2/0 , 
4/0 , -11/0 , -1/1 
1.3) -6/12 เพราะ 12 = -6( -2) 
1.4) 8/-16 เพราะ -16 = 8( -2) 
1.3) 5/25 เพราะ 25 = 5( 5 ) 
1.4) -9/0 เพราะ 0 = - 9(0) 
1.5) 10/-100 เพราะ -100 = 10(-10) 
1.6) -25/-25 เพราะ -25 = -25(1) 
1.7) -2/0 เพราะ 0 = -2(0) 
1.8) 4/0 เพราะ 0 = 4(0) 
1.9) -11/0 เพราะ 0 = -11(0) 
1.10) -1/1 เพราะ 1 = -1(-1) 
2. จงแสดงว่า 12/0 , -8/-32 , -5/125 , -91/0 , 100/-1,000 , ) -125/-250 
1) 12/0 เพราะ 0 = 12(0) 
2) -8/-32 เพราะ -32 = -8(4) 
3) -5/125 เพราะ 125 = -5(-25) 
4) -91/0 เพราะ 0 = -91(0) 
5) 100/-1,000 เพราะ -1,000 = 100(-10) 
6) -125/-250 เพราะ -250 = -125(2)
18 
เฉลยแบบฝึกหัด 1.2 
ตอนที่ 1 
1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a/(bc) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (a)y 
ดังนั้น bc = ax( ay ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= axay 
= a(xay) 
เนื่องจาก xay เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a/(bc) 
ง่ายไหมค่ะ 
ดูข้อ 
ต่อไปเลยดีกว่า
19 
2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a 2 /(bc) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (a)y 
ดังนั้น bc = ax( ay ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= axay 
= a 2 (xy) 
เนื่องจาก xy เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a 2 /(bc) 
3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax 
และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (b)y 
ดังนั้น b-c = ax- by เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม 
= ax - axy 
= a(x - xy) 
เนื่องจาก x - xy เป็นจา นวนเต็ม 
จะได้ a/(b - c) 
ง่ายจังเลยนะครับ 
ดูข้อต่อไปดีกว่า
20 
ตอนที่ 2 
คาชี้แจง จงพิสูจน์ 
1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) 
พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c 
จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax 
และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by 
ดังนั้น b+c = ax+ by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม 
= ax + axy 
= a(x + xy) 
เนื่องจาก x + xy เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/(b + c) 
. 
ดูเฉลยข้อ 
ต่อไปเลยดีกว่า
21 
2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2b-3c ) และ a/(b-2c) แล้ว a/c 
พิสูจน์ สมมติ a/(2b – 3c) และ a/(b-2c) 
จะมีจานวนเต็ม n ที่ทาให้ 2b – 3c = an 
และมีจานวนเต็ม m ที่ทาให้ b - 2c = am 
ให้ 2b – 3c = an ……….(1) 
b - 2c = am ………..(2) 
(2)×2 จะได้สมการเป็น 2b - 4c = 2am ……….(3) 
(1)- (3) จะได้ 2b – 3c - 2b + 4c = an – 2am 
c = a(n-2m) 
เนื่องจาก n-2m เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/c 
ง่ายจังเลยนะครับ
22 
3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(-4b+3c ) และ a/(3b-2c) แล้ว a/b 
พิสูจน์ สมมติ a/(-4b + 3c) และ a/(3b-2c) 
จะมีจานวนเต็ม n ที่ทาให้ -4b + 3c = an 
และมีจานวนเต็ม m ที่ทาให้ 3b - 2c = am 
ให้ -4b + 3c = an ……….(1) 
3b - 2c = am ………..(2) 
(1)×2 จะได้สมการเป็น -8b + 6c = 2an ……….(3) 
(2)×3 จะได้สมการเป็น 9b - 6c = 3am ……….(4) 
(3)+ (4) จะได้ -8b + 6c + 9b - 6c = 2an + 3am 
b = a(2n+3m) 
เนื่องจาก 2n+3m เป็นจานวนเต็ม 
จะได้ a/b 
แล้วพบกันใหม่ 
นะครับ 
จานวนเฉพาะ 
ชุด 2 จานวนเฉพาะ
23
24

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนMath and Brain @Bangbon3
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังคณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรsawed kodnara
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 

What's hot (20)

ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังคณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 

Similar to เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4

สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...Puchida Saingchin
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตPumPui Oranuch
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันAon Narinchoti
 

Similar to เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4 (20)

สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
Real
RealReal
Real
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ยูเนียน
ยูเนียนยูเนียน
ยูเนียน
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
Pat1 set1
Pat1 set1Pat1 set1
Pat1 set1
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
01
0101
01
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4

  • 1. แแบบบฝฝึึกเเสสรริิมททักักษษะะคณณิติตศศาาสตรร์์ เเรรื่อื่อง ทฤษฎฎีีจจาานวนเเบบ้ื้อืองตต้้น ((ชชุุด 1 กกาารหหาารลงตวั)) รราายววิิชชาาคณณิติตศศาาสตรร์์ GP1 ภภาาคเเรรีียนททีี่่ 1 ปปีีกกาารศศึึกษษาา 2557 ผลการเรียนรู้ นักเรียนเข้าใจสมบัติของจา นวนเต็ม และนา ไปใช้ในการให้เหตุผล เกี่ยวกับการหารลงตัวได้ ศึกษาผลการเรียนรู้ และเนื้อหาก่อนดีกว่า
  • 2. 2 1.1 การหารลงตัว (Exact Division) บทนิยาม ให้ a และ b เป็นจา นวนเต็ม โดยที่ b  0 b หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจา นวนเต็ม c ที่ทา ให้ a = bc เรียก b ว่าเป็น ตัวหาร (divisor) ของ a และเรียก a ว่าเป็น พหุคูณ (multiple) ของ b ใช้สัญลักษณ์ b/a แทน “b หาร a ลงตัว ศึกษาตัวอย่างก่อน นะครับ แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
  • 3. 3 ตัวอย่างที่ 1 จงแสดงว่า 3/12, -4/12, 9/54, 7/0, -11/-121, 5/-25, -3/0 3/12 เพราะ 12 = 3(4) -4/12 เพราะ 12 = -4(3) 9/54 เพราะ 54 = 9(6) 7/0 เพราะ 0 = 7(0) -11/-121 เพราะ -121 = -11(11) 5/-25 เพราะ -25 = 5(-5) -3/0 เพราะ 0 = -3(0) ตัวอย่างที่ 2 จงแสดงว่า - 3/12, 4/-12, -9/54, - 7/0, 11/-121, -5/-25, 2/0 -3/12 เพราะ 12 = -3(-4) 4/-12 เพราะ -12 = 4(-3) -9/54 เพราะ 54 = -9(-6 ) -7/0 เพราะ 0 = - 7(0) 11/-121 เพราะ -121 = 11(-11) -5/-25 เพราะ -25 = -5(5) 2/0 เพราะ 0 = 2(0) ศึกษาตัวอย่างแล้ว ทาแบบฝึก ด้วยความมั่นใจนะครับ
  • 4. 4 แบบฝึกหัด 1.1 การหารลงตัว 1. จงแสดงว่า -6/12 , 8/-16 , 5/25 , -9/0 , 10/-100 , -25/-25 , -2/0 , 4/0 , -11/0 , -1/1 1.1) -6/12 เพราะ 12 = -6(……) 1.2) 8/-16 เพราะ -16 = 8(……) 1.3) 5/25 เพราะ 25 = 5(…… ) 1.4) -9/0 เพราะ 0 = - 9(……) 1.5) 10/-100 เพราะ -100 = 10(…..) 1.6) -25/-25 เพราะ -25 = -25(……) 1.7) -2/0 เพราะ 0 = -2(……) 1.8) 4/0 เพราะ 0 = 4(……) 1.9) -11/0 เพราะ 0 = -11(……) 1.10) -1/1 เพราะ 1 = -1(……) 2. จงแสดงว่า 12/0 , -8/-32 , -5/125 , -91/0 , 100/-1,000 , -125/-250 1) 12/0 เพราะ …………………….. 2) -8/-32 เพราะ …………………….. 3) -5/125 เพราะ …………………….. 4) -91/0 เพราะ …………………….. 5) 100/-1,000 เพราะ …………………….. 6) -125/-250 เพราะ ……………………..
  • 5. 5 1.2 ทฤษฎีบทการหารลงตัว ทฤษฎีบท 1 ให้ a, b และ c เป็นจา นวนเต็ม โดยที่ a  0 และ b  0 ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/c พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = by ดังนั้น c = (ax)y c = a(xy) และ xy เป็นจา นวนเต็ม ดังนั้น a/c
  • 6. 6 ทฤษฎีบท 2 ให้ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง a/b แล้ว a ≤ b พิสูจน์ สมมติ a/b จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax เนื่องจาก a และ b เป็นจานวนเต็มบวก จะได้ x เป็นจานวนเต็มบวก ดังนั้น x ≥ 1 จะได้ ax ≥ a (เพราะ a เป็นจานวนเต็มบวก) ดังนั้น b ≥ a เช่น 3/12 จะเห็นว่า 3≤12 3/3 จะเห็นว่า 3=3
  • 7. 7 ทฤษฎีบท 3 ให้ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a/b และ a/c แล้ว a/(bx + cy) เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มใดๆ พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจานวนเต็ม d ที่ทาให้ b = ad และมีจานวนเต็ม e ที่ทาให้ c = ae ดังนั้น bx + cy = (ad)x + (ae)y เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม = a(dx + ey) เนื่องจาก dx + ey เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/(bx + cy) นิพจน์ในรูป bx + cy เรียกว่า ผลรวมเชิงเส้น ของ b และ c
  • 8. 8 ศึกษาตัวอย่างกันดีกว่า นะครับ ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by ดังนั้น b + c = ax + by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม = ax + (ax)y เพราะ b = ax = a(x+xy) เนื่องจาก x + xy เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/(b + c) ศึกษาตัวอย่างต่อ นะครับ แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
  • 9. 9 ตัวอย่าง 2 กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by ดังนั้น b - c = ax - by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม = ax - (ax)y เพราะ b = ax = a(x-xy) เนื่องจาก x - xy เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/(b - c) ศึกษาตัวอย่างต่อ นะครับ แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
  • 10. 10 ตัวอย่าง 3 กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2x – 3y) และ a/(4x – 3y) แล้ว a/y พิสูจน์ สมมติ a/(2x – 3y) และ a/(4x – 3y) จะมีจา นวนเตม็ n ที่ทา ให้ 2x – 3y = an และมีจา นวนเต็ม m ที่ทา ให้ 4x – 3y = am ให้ 2x – 3y = an ……….(1) 4x – 3y = am ………..(2) (1)×2 จะได้สมการเป็น 4x – 6y = 2an ……….(3) (2)- (3) จะได้ 4x – 3y - 4x + 6y = am – 2an 3y = a(m-2n) y = 3 a(m- 2n) เนื่องจาก 3 (m- 2n) เป็นจา นวนเตม็ จะได้ a/y ศึกษาตัวอย่าง ก่อนนะครับ แล้วค่อยทา แบบฝึก ศึกษาตัวอย่างก่อน นะครับ แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
  • 11. 11 ตัวอย่าง 4 กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(3x – 4y) และ a/(6x – 2y) แล้ว a/x พิสูจน์ สมมติ a/(3x – 4y) และ a/(6x – 2y) จะมีจา นวนเตม็ n ที่ทา ให้ 3x – 4y = an และมีจา นวนเต็ม m ที่ทา ให้ 6x – 2y = am ให้ 3x – 4y = an ……….(1) 6x – 2y = am ………..(2) (2)×2 จะได้สมการเป็น 12x – 4y = 2am ……….(3) (1)- (3) จะได้ 3x – 4y - 12x + 4y = an – 2am -9x = a(n-2m) x = - 9 a(n - 2m) เนื่องจาก - 9 (n - 2m) เป็นจา นวนเตม็ จะได้ a/x ศึกษาตัวอย่างต่อ ดีกว่านะครับ แบบฝึกหัดนะครับ แล้วค่อยทาแบบ ฝึก
  • 12. 12 แบบฝึกหัด 1.2 ตอนที่ 1 คาชี้แจง จงเติมคา ตอบในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a/(bc) พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y ดังนั้น bc = ax( ……. ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = ax….. = a(xay) เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a/(bc) ง่ายจังเลยค่ะ ทาข้อ ต่อไปเลยดีกว่า ศึกษาตัวอย่างแล้วทา แบบฝึกหัดนะครับ แล้วค่อยทาแบบฝึก
  • 13. 13 2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a 2 /(bc) พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y ดังนั้น bc = ax( ……. ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = ax….. = a 2 (xy) เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a 2 /(bc) 3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (…..)y ดังนั้น ………. = ax- by เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = …………. = a(x - xy) เนื่องจาก ............... เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a/……….. ง่ายจังเลยนะครับ ทาข้อต่อไปดีกว่า
  • 14. 14 ตอนที่ 2 คาชี้แจง จงพิสูจน์ 1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. . ง่ายจังเลยค่ะ ทาข้อ ต่อไปเลยดีกว่า
  • 15. 15 2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2b-3c ) และ a/(b-2c) แล้ว a/c พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ง่ายจังเลยนะครับ ทาข้อต่อไปดีกว่า
  • 16. 16 3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(-4b+3c ) และ a/(3b-2c) แล้ว a/b พิสูจน์……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. จบแล้วค่ะ แล้วพบกันใหม่ชุด 2 จานวนเฉพาะ
  • 17. 17 เฉลยแบบฝึกหัด 1.1 การหารลงตัว 1. จงแสดงว่า -6/12 , 8/-16 , 5/25 , -9/0 , 10/-100 , -25/-25 , -2/0 , 4/0 , -11/0 , -1/1 1.3) -6/12 เพราะ 12 = -6( -2) 1.4) 8/-16 เพราะ -16 = 8( -2) 1.3) 5/25 เพราะ 25 = 5( 5 ) 1.4) -9/0 เพราะ 0 = - 9(0) 1.5) 10/-100 เพราะ -100 = 10(-10) 1.6) -25/-25 เพราะ -25 = -25(1) 1.7) -2/0 เพราะ 0 = -2(0) 1.8) 4/0 เพราะ 0 = 4(0) 1.9) -11/0 เพราะ 0 = -11(0) 1.10) -1/1 เพราะ 1 = -1(-1) 2. จงแสดงว่า 12/0 , -8/-32 , -5/125 , -91/0 , 100/-1,000 , ) -125/-250 1) 12/0 เพราะ 0 = 12(0) 2) -8/-32 เพราะ -32 = -8(4) 3) -5/125 เพราะ 125 = -5(-25) 4) -91/0 เพราะ 0 = -91(0) 5) 100/-1,000 เพราะ -1,000 = 100(-10) 6) -125/-250 เพราะ -250 = -125(2)
  • 18. 18 เฉลยแบบฝึกหัด 1.2 ตอนที่ 1 1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a/(bc) พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (a)y ดังนั้น bc = ax( ay ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = axay = a(xay) เนื่องจาก xay เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a/(bc) ง่ายไหมค่ะ ดูข้อ ต่อไปเลยดีกว่า
  • 19. 19 2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ a/c แล้ว a 2 /(bc) พิสูจน์ สมมติ a/b และ a/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (a)y ดังนั้น bc = ax( ay ) เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = axay = a 2 (xy) เนื่องจาก xy เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a 2 /(bc) 3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b - c) พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจา นวนเตม็ x ที่ทา ให้ b = ax และมีจา นวนเต็ม y ที่ทา ให้ c = (b)y ดังนั้น b-c = ax- by เมื่อ x และ y เป็นจา นวนเต็ม = ax - axy = a(x - xy) เนื่องจาก x - xy เป็นจา นวนเต็ม จะได้ a/(b - c) ง่ายจังเลยนะครับ ดูข้อต่อไปดีกว่า
  • 20. 20 ตอนที่ 2 คาชี้แจง จงพิสูจน์ 1. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/b และ b/c แล้ว a/(b+c) พิสูจน์ สมมติ a/b และ b/c จะมีจานวนเต็ม x ที่ทาให้ b = ax และมีจานวนเต็ม y ที่ทาให้ c = by ดังนั้น b+c = ax+ by เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็ม = ax + axy = a(x + xy) เนื่องจาก x + xy เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/(b + c) . ดูเฉลยข้อ ต่อไปเลยดีกว่า
  • 21. 21 2. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(2b-3c ) และ a/(b-2c) แล้ว a/c พิสูจน์ สมมติ a/(2b – 3c) และ a/(b-2c) จะมีจานวนเต็ม n ที่ทาให้ 2b – 3c = an และมีจานวนเต็ม m ที่ทาให้ b - 2c = am ให้ 2b – 3c = an ……….(1) b - 2c = am ………..(2) (2)×2 จะได้สมการเป็น 2b - 4c = 2am ……….(3) (1)- (3) จะได้ 2b – 3c - 2b + 4c = an – 2am c = a(n-2m) เนื่องจาก n-2m เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/c ง่ายจังเลยนะครับ
  • 22. 22 3. กาหนดให้ a, b, c, x และ y เป็นจานวนเต็ม จงแสดงว่า ถ้า a/(-4b+3c ) และ a/(3b-2c) แล้ว a/b พิสูจน์ สมมติ a/(-4b + 3c) และ a/(3b-2c) จะมีจานวนเต็ม n ที่ทาให้ -4b + 3c = an และมีจานวนเต็ม m ที่ทาให้ 3b - 2c = am ให้ -4b + 3c = an ……….(1) 3b - 2c = am ………..(2) (1)×2 จะได้สมการเป็น -8b + 6c = 2an ……….(3) (2)×3 จะได้สมการเป็น 9b - 6c = 3am ……….(4) (3)+ (4) จะได้ -8b + 6c + 9b - 6c = 2an + 3am b = a(2n+3m) เนื่องจาก 2n+3m เป็นจานวนเต็ม จะได้ a/b แล้วพบกันใหม่ นะครับ จานวนเฉพาะ ชุด 2 จานวนเฉพาะ
  • 23. 23
  • 24. 24