SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 0
สถานะของสาร
โดย
นางสาวพรพิมล วงศ์น้อย
ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา"
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
รายวิชา เคมี 2 (ว31222)
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 1
คานา
วิชาเคมีเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีความสาคัญมากต่อการพัฒนาประเทศ เพราะวิชาเคมี
ฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดสร้างสรรค์ คิดแบบมีเหตุผล คิดแบบมีระบบ คิดอย่างรอบคอบ คิดอย่าง
ละเอียด คิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ มีการวางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และสามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม แต่ก็ยังเกิดปัญหาในการเรียนการสอนวิชาเคมีเนื่องนักเรียน
ยังไม่ผ่านผลการเรียนรู้ที่ตั้งไว้โดยเฉพาะในเรื่องทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากเกิด
จากความแตกต่างระหว่างบุคคลครูผู้สอนจึงหาทางแก้ไขเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสามารถของ
ตนอย่างใกล้เคียงกัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง รายวิชา เคมี 2 (ว31222) สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการ
เรียนการสอน เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา"
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้จะช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝนเรียนรู้จน
เกิดความชานาญ จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยสร้างนิสัยให้ผู้เรียนมีความสามารถคิดเป็น ทาเป็น
แก้ปัญหาเป็น เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน และสามารถแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็น
อย่างดี จนทาให้ผู้เรียนมีเจคติที่ดีต่อวิชาเคมี และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืน และถาวรต่อไป
ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทาชุดกิจกรรม
การเรียนรู้เล่มนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน
และผู้สนใจในการเรียนเรียนรู้วิชาเคมี ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีสูงขึ้น บรรลุตามผล
การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมต่อไป
พรพิมล วงศ์น้อย
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา 1
สารบัญ 2
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 3
รายการสื่อและอุปกรณ์ในชุดกิจกรรม 4
คู่มือครู 5
คาชี้แจงสาหรับครู 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 7
คู่มือนักเรียน 15
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 16
บัตรคาสั่ง 17
บัตรเนื้อหา 18
บัตรกิจกรรม 21
บัตรสรุปความรู้ 23
เฉลยบัตรกิจกรรม 24
แบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 26
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 30
สื่อประกอบการสอน 31
แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม 38
กระดาษคาตอบแบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 40
บรรณานุกรม 41
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 3
ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด จุดหลอมเหลว
และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารได้
ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือดจุดหลอมเหลว
ของสารนั้น
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 4
รายการสื่อและอุปกรณ์ในชุดกิจกรรม
ซองที่ 1 ประกอบด้วย
ผลการเรียนรู้/ จุดประสงค์การเรียนรู้ จานวน 1 ชุด
บัตรคาสั่ง เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชุด
บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด
บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด
บัตรสรุปความรู้ เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชุด
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 จานวน 8 ชุด
ซองที่ 2 ประกอบด้วย
แนวคาตอบบัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 จานวน 8 ชุด
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน จานวน 1 ชุด
แบบบันทึกสรุปคะแนน จานวน 1 ชุด
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 5
คู่มือครู
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 6
คาชี้แจงสาหรับครู
แนวปฏิบัติก่อนสอน
1. เตรียมเอกสารที่ต้องใช้ไว้ตามลาดับก่อน – หลัง ตามที่ระบุไว้ในคู่มือครู
2. ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมแต่ละชุด
3. ทดสอบการใช้สื่อ-อุปกรณ์ สาหรับการสอนอย่างครบถ้วน
4. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยให้สมาชิกภายในกลุ่มประกอบด้วย
นักเรียนที่ได้คะแนนสอบวิชาเคมี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในระดับสูง
ปานกลาง ต่า และจัดแบ่งหน้าที่และบทบาทของแต่ละคนดังนี้
4.1 ประธาน ทาหน้าที่ ควบคุมการทางานของกลุ่ม
4.2 รองประธาน ทาหน้าที่แทนประธาน เมื่อประธานไม่อยู่
4.3 เลขานุการ ทาหน้าที่ บันทึกข้อมูล ความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม
4.4 สมาชิก ทาหน้าที่ เสนอความคิดเห็นอย่างหลากหลาย จากข้อมูลที่ได้รับ
5. ครูชี้แจงวิธีการเรียน ถึงกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติตามบัตรกิจกรรม
แนวปฏิบัติขณะสอน
1. ชี้แจงกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนทราบ
2. จัดกลุ่มตามที่เตรียมไว้
3. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้
3.1 ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และลักษณะการทางานร่วมกัน
3.2 แจกเอกสาร เช่น คู่มือนักเรียน บัตรคาสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม บัตรสรุปความรู้
และแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม
3.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปของกลุ่ม เช่น
การอภิปราย ซักถาม เสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 7
4. เป็นผู้ให้คาแนะนา และเป็นที่ปรึกษาของนักเรียนในขณะที่นักเรียนทากิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
วิชา เคมี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชั่วโมง
................................................................................................................................................................
สาระสาคัญ
1. สารแบ่งออกเป็น 3 สถานะ คือ แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
2. การเปลี่ยนสถานะของสารเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
3. สารแต่ละชนิดจะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวแตกต่างกัน จุดเดือดและจุดหลอมเหลว เป็น
คุณสมบัติเฉพาะตัวของสาร สามารถใช้บอกชนิดของสารได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารได้
2. ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารนั้น
สาระการเรียนรู้
1. การพิจารณาสถานะของสาร
2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
3. ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาค
กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นทดสอบก่อนสอน (ใช้เวลา 60 นาที)
1. ครูนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
จานวน 40 ข้อ มาทดสอบกับนักเรียนในคาบแรก ก่อนการเรียน โดยไม่ให้นักเรียนปรึกษากันหรือ
เปิดตาราใด ๆ
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (ใช้เวลา 5 นาที)
2. นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการยกตัวอย่างสารแต่ละชนิด ที่มีสถานะแตกต่างกัน โดยพิจารณา
จากลักษณะภายนอก ที่อุณหภูมิเดียวกันสารที่มีสถานะแตกต่างกัน นอกจากนี้สารบางชนิดยังมี
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 8
ลักษณะได้ถึง 3 สถานะ ครูยกตัวอย่าง เช่น น้า มีได้ 3 สถานะ คือแก๊ส ของเหลว ของแข็ง ครู
อธิบายต่อไปว่าการที่สารสามารถเปลี่ยนสถานะได้เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
3. ครูเสนอแนะบทบาทของการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยการเสนอแนะให้นักเรียน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม
ขั้นสอน/ปฏิบัติกิจกรรม (ใช้เวลา 20 นาที)
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยในกลุ่มจะประกอบไปด้วย
นักเรียนที่ได้คะแนนสอบวิชาเคมี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในระดับสูง ปานกลาง
และต่า คละกันภายในกลุ่ม หลังจากนั้นให้นักเรียนในกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม เลขากลุ่ม และจัดแบ่ง
หน้าที่โดยให้ทุกคนมีส่วนในการรับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน
2. ตัวแทนกลุ่มรับคู่มือนักเรียนเอกสารประกอบการเรียนและอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทา
กิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย คู่มือนักเรียน บัตรคาสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม แบบทดสอบท้าย
ชุดกิจกรรม
3. นักเรียนในแต่ละกลุ่มศึกษาคู่มือนักเรียนเนื้อหา วิธีการทากิจกรรมจากบัตรกิจกรรม
และนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร โดยการศึกษาคุณสมบัติของ
สาร ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม หาความสัมพันธ์ของสาร โดยการ ศึกษาจากบัตรเนื้อหา อภิปราย
ซักถาม เสนอความคิดเห็น
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงผลของการทากิจกรรมจากบัตรกิจกรรม เรื่องสถานะของสาร
และที่ได้จากบัตรเนื้อหาและบัตรสรุปความรู้จากการทากิจกรรม
ขั้นอภิปราย/สรุปบทเรียน (ใช้เวลา 15 นาที)
5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากิจกรรม เพื่อนาไปสู่การสรุปเกี่ยวกับเนื้อหา
เรื่อง สถานะของสาร ตามเอกสารสรุปบทเรียนและแผ่นใสสรุปบทเรียน
ขั้นทดสอบหลังเรียน (ใช้เวลา 10 นาที)
6. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องสถานะของสาร จานวน 10 ข้อ
สื่อ/อุปกรณ์
1. บัตรเนื้อหา
2. บัตรกิจกรรม
3. บัตรสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 9
4. แผ่นใสสรุปเนื้อหา เรื่อง สถานะของสาร
กระบวนการวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. อธิบายการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อ
การเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสารได้
ตรวจให้คะแนน บัตรกิจกรรมที่ 1 คะแนนเต็ม 15 คะแนน
12 คะแนนขึ้นไปผ่านเกณฑ์
2. ระบุสถานะของสาร
ณ อุณหภูมิที่กาหนด
เมื่อทราบจุดเดือด จุด
หลอมเหลวของสารนั้น
ตรวจให้คะแนน
3. ทดสอบท้าย
ชุดกิจกรรมที่ 1
ตรวจให้คะแนน แบบทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
8 คะแนน ขึ้นไปผ่านเกณฑ์
กิจกรรมเสนอแนะ
-
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 10
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ................................................................
(..................................................................)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..........................................................
(............................................................)
ผู้อานวยการโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา"
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 11
บันทึกผลหลังการสอน
1. ผลการเรียนรู้
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. ปัญหา และอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...............................................................ผู้สอน
(นางสาวพรพิมล วงศ์น้อย)
ครูชานาญการ
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 12
บทบาทหน้าที่ของสมาชิก
กลุ่มที่ ...................................................
คนที่ ชื่อ—สกุล บทบาทหน้าที่
1 ผู้นากลุ่ม
มีหน้าที่ประสานงานและกากับ ควบคุมการทางาน
แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกเพื่อให้กลุ่มทางานไปได้ด้วยดี
2 ผู้กระตุ้นหรือตั้งคาถาม
มีหน้าที่คอยกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนแสดง
ความคิดเห็น และอธิบายข้อมูลเพิ่มเติม แก่สมาชิก
3 ผู้บันทึกข้อมูล
มีหน้าที่จดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการอภิปรายของ
สมาชิกภายในกลุ่มและเขียนสรุปผลงานกลุ่ม
4 ผู้รวบรวมข้อมูล
มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลจากสมาชิกในกลุ่มทุกคน
อธิบายข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปของกลุ่ม
5 ผู้สนับสนุนและนาเสนอข้อมูล
มีหน้าที่ควบคุมการอภิปรายให้เสร็จทันเวลา และ
นาเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 13
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
กลุ่มที่ ...................................................
ประเด็น
เลขที่
ความกล้าแสดงออก
(4 คะแนน)
ความมีน้าใจและรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น
(4 คะแนน)
ความรับผิดชอบ
(4 คะแนน)
รวม
(12 คะแนน)
ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
วันที่.........เดือน.........................พ.ศ.........
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 14
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน 4 3 2 1
กล้าแสดงออก
พูดแสดง
ความคิดเห็นและ
สามารถอภิปราย
ข้อมูลได้ทุกครั้ง
พูดแสดง
ความคิดเห็น
ได้ทุกครั้งแต่
อภิปรายข้อมูลได้
บางครั้ง
พูดแสดง
ความคิดเห็นได้
บางครั้งและ
อภิปรายข้อมูลได้
บางครั้ง
พูดแสดง
ความคิดเห็นได้
บางครั้งแต่
ไม่สามารถ
อภิปรายข้อมูลได้
มีน้าใจและ รับฟัง
ความคิดเห็นของ
ผู้อื่น
มีน้าใจช่วยเหลือ
สมาชิกในกลุ่ม
และยอมรับมติ
ของกลุ่มอย่างมี
เหตุผล
มีน้าใจช่วยเหลือ
สมาชิกในกลุ่ม
แต่บางครั้ง
ไม่ยอมรับมติ
ของกลุ่ม
มีน้าใจเฉพาะเพื่อน
ที่คุ้นเคย
และบางครั้ง
ไม่ยอมรับมติ
ของกลุ่ม
มีน้าใจเฉพาะ
เพื่อนที่คุ้นเคย
และไม่ค่อย
ยอมรับ
มติของกลุ่ม
รับผิดชอบ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
ได้อย่างสม่าเสมอ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
ได้บ่อยครั้ง
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
ได้บางครั้ง
ขาดความ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ
10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก
7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี
4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช้
1 - 3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
 นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์ระดับดี ขึ้นไป (7 คะแนน ขึ้นไป)
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 15
คู่มือนักเรียน
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 16
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
1. ชุดกิจกรรมนี้ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
2. ตัวแทนกลุ่มรับเอกสารใช้ในการเรียนและการทากิจกรรม
3. สารวจเอกสารที่ได้รับว่า ครบถ้วนหรือไม่ ซึ่งประกอบด้วย
3.1 บัตรคาสั่ง เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ฉบับ
3.2 บัตรเนื้อหา เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ฉบับ
3.3 บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ฉบับ
3.4 บัตรสรุปความรู้ที่ได้จากกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ
3.5 แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ
3.6 แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ
4. ตัวแทนกลุ่มแจกเอกสารที่ได้รับให้แก่สมาชิก
5. ศึกษาเอกสารให้เข้าใจอย่างชัดเจน
6. ขณะที่นักเรียนทากิจกรรม ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม
6.1 ช่วยกันทากิจกรรม ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม
6.2 ร่วมกันอภิปราย ซักถาม เสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
แก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อสรุปผลการทากิจกรรม
6.3 สรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมและจากบัตรเนื้อหา
6.4 ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชั้น เพื่อหาข้อสรุปของนักเรียนทั้งหมด
6.5 ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุป เรื่อง สถานะของสาร กับสมาชิกใน
ชั้นเรียนและครูผู้สอน
6.6 ทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 17
บัตรคาสั่ง
คาสั่ง ประธานกลุ่มอ่านขั้นตอนการประกอบกิจกรรมให้สมาชิกทราบดังนี้
1. ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร
2. อ่านบัตรกิจกรรมชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร แล้วร่วมกัน
ปฏิบัติกิจกรรม
3. ตรวจสอบผลงานกลุ่มจากบัตรเฉลยกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
4. ศึกษาบัตรสรุปความรู้ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร
5. ทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร และบันทึกคะแนน
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 18
บัตรเนื้อหา ชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
สารต่าง ๆ ที่เราพบอยู่ทุกวันนี้ นอกจากจะแตกต่างกันในด้านรูปร่างและสีสันแล้ว ยังมี
สถานะแตกต่างกันด้วย อากาศมีสถานะเป็นแก๊ส น้ามีสถานะเป็นของเหลวและแก๊ส หินมีสถานะเป็น
ของแข็ง ดังนั้นถ้าใช้สถานะเป็นเกณฑ์ในการจาแนกสารจะสามารถแยกสารได้ 3 สถานะ คือ แก๊ส
ของเหลว และของแข็ง
ถ้าพิจารณาสถานะของสารโดยทั่วไปอาจพิจารณา จากรูป
จากรูป แสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้าทั้ง 3 สถานะ คือ แก๊ส ของเหลว และของแข็ง
จุดเดือด
จุดหลอมเหลว
แก๊ส
ของเหลว
ของแข็ง
หมายความว่า
ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดเดือด
สารจะมีสถานะเป็น แก๊ส
ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดหลอมเหลว
และน้อยกว่าจุดเดือด สารจะมี
สถานะเป็น ของเหลว
ถ้าอุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมเหลว
สารจะมีสถานะเป็น ของแข็ง
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 19
การเปลี่ยนสถานะของสาร
เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป สถานะของสารจะเปลี่ยนไป เช่น เมื่อเราต้มน้าจนกระทั่งอุณหภูมิ
สูงขึ้นมากกว่า 100 C ก็จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส แต่ถ้าเรานาน้าไปใส่ในตู้เย็น
จนกระทั่งอุณหภูมิลดต่าลงกว่า 0 C น้าก็จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นของแข็ง
ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาคทั้ง 3 สถานะ
สารประกอบทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็ก คือ อนุภาคจานวนมากอยู่รวมกันอยู่ใน
สถานะต่าง ๆ กัน ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาคจะมี 3 ลักษณะ คือ
1. สารที่ดารงอยู่ในสถานะแก๊ส
อนุภาคจะอยู่ห่างกันและ
ไม่เป็นระเบียบ เคลื่อนที่ไปมา
ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ
จุดเดือด
0° C
ไอน้า
น้า
น้าแข็ง
หมายความว่า
ถ้าอุณหภูมิมากกว่า
น้าจะมีสถานะเป็น แก๊ส
ถ้าอุณหภูมิมากกว่า
และน้อยกว่า
น้าจะมีสถานะเป็น ของเหลว
ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า
น้าจะมีสถานะเป็น ของแข็ง
100° C
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 20
2. สารที่ดารงอยู่ในสถานะของเหลว
อนุภาคของของเหลวจะอยู่ใกล้ชิด
กันมากกว่าแก๊สเคลื่อนที่ได้บ้าง
เล็กน้อยและอนุภาคเรียงตัวกัน
อย่างไม่เป็นระเบียบ
3. สารที่ดารงอยู่ในสถานะของแข็ง
อนุภาคของของแข็งจะอยู่ชิด
กันมากเรียงตัวกันอย่าง
มีระเบียบจึงทาให้มีรูปร่างคงที่
ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 21
บัตรกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร
วิธีทากิจกรรม
ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร
โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร
..................................................................................................................................................
2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร
..................................................................................................................................................
3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด
..................................................................................................................................................
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne แก๊ส -249 -246
ออกซิเจน O2
แก๊ส -219 -182.8
คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34
น้า H2O ของเหลว 0 100
ปรอท Hg ของเหลว -39 357
โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80
กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327
แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 22
4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง
5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ 60
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ................................. 0 100
ปรอท Hg ................................. -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ............................... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327
แคลเซียม Ca ................................. 851 1482
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ .........
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ............................... 0 100
ปรอท Hg ............................... -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ............................... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ............................... 660 2327
แคลเซียม Ca ............................... 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 23
บัตรสรุปความรู้ ชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
สารแต่ละชนิดจะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว แตกต่างกัน
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจึงจัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร
ที่ใช้บอกชนิดของสารได้ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
ก็อาจมีผลทาให้สารเปลี่ยนสถานะได้
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 24
เฉลยบัตรกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร
วิธีทากิจกรรม
ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร
โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร
แก๊ส
2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร
ของเหลว
3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด
ของแข็ง
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne แก๊ส -249 -246
ออกซิเจน O2
แก๊ส -219 -182.8
คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34
น้า H2O ของเหลว 0 100
ปรอท Hg ของเหลว -39 357
โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80
กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327
แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 25
4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง
5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ 60
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ..........แก๊ส............. -249 -246
ออกซิเจน O2
..........แก๊ส............. -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ..........แก๊ส............. -100.8 -34
น้า H2O ........ของเหลว...... 0 100
ปรอท Hg ........ของเหลว...... -39 357
โบรมีน Br2 ..........แก๊ส............. -7.25 58.80
กามะถัน S ........ของแข็ง...... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ........ของแข็ง...... 660 2327
แคลเซียม Ca ........ของแข็ง...... 851 1482
ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร
ที่ .........
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ............................... 0 100
ปรอท Hg ............................... -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ........ของแข็ง...... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ........ของแข็ง...... 660 2327
แคลเซียม Ca ........ของแข็ง...... 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 26
แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1
วิชา เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชั่วโมง
................................................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วกาเครื่องหมาย
กากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 1 อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสารได้
1. อุณหภูมิมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารตามข้อใด
ก. เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปสารจะอยู่ในสถานะแก๊ส
ข. ในอุณหภูมิหนึ่งสารจะดารงตัวอยู่ได้ในสถานะเดียว
ค. ที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมเหลว สารอยู่ในสถานะของเหลว
ง. ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดเดือด สารจะมีสถานะเป็นแก๊ส
2. จากรูป หมายเลข 1, 2 และ 3 อยู่ในสถานะใด ตามลาดับ
จุดเดือด
จุดหลอมเหลว
1
2
3
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 27
ก. ของแข็ง , ของเหลว และแก๊ส
ข. ของเหลว , แก๊ส และของแข็ง
ค. แก๊ส , ของเหลว และของแข็ง
ง. ของแข็ง , แก๊ส และของเหลว
จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 2 ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือด
จุดหลอมเหลวของสารนั้นได้
ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตอบคาถาม ข้อ 3 – 4
ชื่อสาร สถานะของสารที่ 25 จุดหลอมเหลว จุดเดือด
นีออน แก๊ส -249 -246
ออกซิเจน แก๊ส -219 -182.8
น้า ของเหลว 0 100
ปรอท ของเหลว -39 357
กามะถัน ของแข็ง 115.21 444.6
แคลเซียม ของแข็ง 851 1482
3. ที่อุณหภูมิ -5 ออกซิเจนและน้าอยู่ในสถานะใด ตามลาดับ
ก. แก๊ส ของเหลว
ข. แก๊ส ของแข็ง
ค. ของเหลว แก๊ส
ง. ของแข็ง ของเหลว
4. ที่อุณหภูมิ 105 สารในข้อใดบ้างอยู่ในสถานะของเหลว
ก. ปรอท
ข. นีออน
ค. กามะถัน
ง. ออกซิเจน
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 28
5. ที่อุณหภูมิ 350 สารใดบ้างอยู่ในสถานะแก๊ส
ก. น้า , ปรอท
ข. นีออน , ปรอท
ค. นีออน , ออกซิเจน
ง. ออกซิเจน , กามะถัน
ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตอบคาถาม ข้อ 6 – 7
สาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด
A -100.8 -34
B -249 -246
C 98 885
D 0 100
E 660 2300
F -39 300
G -216 -100
6. ที่อุณหภูมิ 50 สารใดบ้างอยู่ในสถานะแก๊ส
ก. A B G
ข. B C D
ค. D E F
ง. E F G
7. ที่อุณหภูมิ 30 สารใดบ้างอยู่ในสถานะของเหลว
ก. A C
ข. C E
ค. D F
ง. E F
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 29
ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตออบคาถาม ข้อ 8 – 9
สาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด
M -95 110
N 15.5 80.1
O 63.4 754
P 97.5 888
8. ผสมสาร N กับ P แล้วต้มจนถึงจุดเดือดของน้า สารดังกล่าวจะอยู่ในสถานะใดตามลาดับ
ก. ของแข็ง แก๊ส
ข. แก๊ส ของแข็ง
ค. แก๊ส ของเหลว
ง. ของเหลว ของเหลว
9. ถ้าผสมสาร M, N, O, และ P เข้าด้วยกัน แล้วนาไปทาการระเหยให้กลายเป็นไอ
สารที่ระเหยออกมาก่อนและหลังสุด คือสารใด
ก. M และ N
ข. M และ O
ค. N และ O
ง. N และ P
10. ถ้ามีของเหลว A, B และ C ผสมกันอยู่ แล้วนามาให้ความร้อน พบว่า ของเหลว
ที่ผสมกันอยู่ระเหยออกมาตามลาดับดังนี้ B, C, A จุดเดือดของ A, B และ C
ควรเป็นไปตามข้อใด ตามลาดับ
ก. 80, 105 และ 130
ข. 105, 130 และ 80
ค. 130, 80 และ 105
ง. 130, 105 และ 80
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 30
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1
ข้อ ก. ข. ค. ง. ข้อ ก. ข. ค. ง.
1  6 
2  7 
3  8 
4  9 
5  10 
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 31
สื่อประกอบการสอน
เรื่อง สถานะของสาร
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 32
สถานะของสาร
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 33
การพิจารณาสถานะของน้า
จุดเดือด
0° C
ไอน้า
น้า
น้าแข็ง
ถ้า T มากกว่า
น้าจะมีสถานะเป็น แก๊ส
ถ้า T มากกว่า
และน้อยกว่า
น้าจะมีสถานะเป็น ของเหลว
ถ้า T ต่ากว่า
น้าจะมีสถานะเป็น ของแข็ง
100° C
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 34
การพิจารณาสถานะของสาร
จุดเดือด
จุดหลอมเหลว
แก๊ส
ของเหลว
ของแข็ง
ถ้า T ต่ากว่าจุดหลอมเหลว
สถานะเป็น ของแข็ง
ถ้า T มากกว่าจุดหลอมเหลว
และต่ากว่าจุดเดือด
สถานะเป็น ของเหลว
ถ้า T มากกว่าจุดเดือด
สถานะเป็น แก๊ส
จุดเดือด
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 35
การเปลี่ยนสถานะของสาร
1. สถานะแก๊ส อนุภาคอยู่ห่างกัน ไม่เป็นระเบียบเคลื่อนที่
ไปมา ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ
2. สถานะของเหลว อนุภาคชิดกันกว่าแก๊ส เรียงกันไม่เป็น
ระเบียบ เคลื่อนที่ได้บ้างเล็กน้อย
3. สถานะของแข็ง อนุภาคอยู่ชิดกันมากเรียงตัวกันอย่าง
เป็นระเบียบ ทาให้รูปร่างคงที่
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 36
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ 60
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ................................. 0 100
ปรอท Hg ................................. -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ............................... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327
แคลเซียม Ca ................................. 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 37
สรุปความรู้ที่ได้จากกิจกรรม
1. สารแต่ละชนิด จะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว แตกต่างกัน
จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร
ใช้บอกชนิดของสารได้
2. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีผลทาให้สารเปลี่ยนสถานะ
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 38
แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมชุดกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สถานะของสาร
ชื่อ – สกุล…………………………………………….………….…….…………..ห้อง…………..…… เลขที่…….……
ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร
วิธีทากิจกรรม
ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร
โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร
..................................................................................................................................................
2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร
..................................................................................................................................................
3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด
..................................................................................................................................................
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne แก๊ส -249 -246
ออกซิเจน O2
แก๊ส -219 -182.8
คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34
น้า H2O ของเหลว 0 100
ปรอท Hg ของเหลว -39 357
โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80
กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327
แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 39
4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง
5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ 60
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ................................. 0 100
ปรอท Hg ................................. -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ............................... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327
แคลเซียม Ca ................................. 851 1482
ชื่อสาร สัญลักษณ์
สถานะของสาร
ที่ .........
จุดหลอมเหลว
( )
จุดเดือด
( )
นีออน Ne ............................... -249 -246
ออกซิเจน O2
............................... -219 -182.8
คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34
น้า H2O ............................... 0 100
ปรอท Hg ............................... -39 357
โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80
กามะถัน S ............................... 115.21 444.60
อะลูมิเนียม Al ............................... 660 2327
แคลเซียม Ca ............................... 851 1482
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 40
กระดาษคาตอบ
ชื่อ – สกุล…………………………………………….………….…….…………..ห้อง…………..…… เลขที่…….……
ข้อ ก. ข. ค. ง. ข้อ ก. ข. ค. ง.
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 41
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และ ประดับ นาคแก้ว. (2553). หนังสือเรียน เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ.
กรุงเทพมหานคร : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเนชั่น.
ทิศนา แขมมณี.(2545). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญเกื้อ ครหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร :
เอส อาร์ ปริ้นติ้ง.
ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แนวทางสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี : สกายบุคส์.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). นวัตกรรมการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : 9119
เทคนิคพริ้นติ้ง.
สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ :
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ลาดพร้าว.
สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2546).
คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

More Related Content

What's hot

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 

What's hot (20)

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2sopa sangsuy
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
1
11
1
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

  • 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 0 สถานะของสาร โดย นางสาวพรพิมล วงศ์น้อย ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง รายวิชา เคมี 2 (ว31222) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  • 2. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 1 คานา วิชาเคมีเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีความสาคัญมากต่อการพัฒนาประเทศ เพราะวิชาเคมี ฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดสร้างสรรค์ คิดแบบมีเหตุผล คิดแบบมีระบบ คิดอย่างรอบคอบ คิดอย่าง ละเอียด คิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ มีการวางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และสามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม แต่ก็ยังเกิดปัญหาในการเรียนการสอนวิชาเคมีเนื่องนักเรียน ยังไม่ผ่านผลการเรียนรู้ที่ตั้งไว้โดยเฉพาะในเรื่องทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากเกิด จากความแตกต่างระหว่างบุคคลครูผู้สอนจึงหาทางแก้ไขเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสามารถของ ตนอย่างใกล้เคียงกัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง รายวิชา เคมี 2 (ว31222) สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการ เรียนการสอน เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้จะช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝนเรียนรู้จน เกิดความชานาญ จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยสร้างนิสัยให้ผู้เรียนมีความสามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน และสามารถแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็น อย่างดี จนทาให้ผู้เรียนมีเจคติที่ดีต่อวิชาเคมี และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืน และถาวรต่อไป ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทาชุดกิจกรรม การเรียนรู้เล่มนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และผู้สนใจในการเรียนเรียนรู้วิชาเคมี ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีสูงขึ้น บรรลุตามผล การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมต่อไป พรพิมล วงศ์น้อย
  • 3. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 2 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา 1 สารบัญ 2 ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 3 รายการสื่อและอุปกรณ์ในชุดกิจกรรม 4 คู่มือครู 5 คาชี้แจงสาหรับครู 6 แผนการจัดการเรียนรู้ 7 คู่มือนักเรียน 15 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 16 บัตรคาสั่ง 17 บัตรเนื้อหา 18 บัตรกิจกรรม 21 บัตรสรุปความรู้ 23 เฉลยบัตรกิจกรรม 24 แบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 26 เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 30 สื่อประกอบการสอน 31 แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม 38 กระดาษคาตอบแบบทดสอบท้ายชุดกิจรรมที่ 1 40 บรรณานุกรม 41
  • 4. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 3 ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารได้ ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือดจุดหลอมเหลว ของสารนั้น
  • 5. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 4 รายการสื่อและอุปกรณ์ในชุดกิจกรรม ซองที่ 1 ประกอบด้วย ผลการเรียนรู้/ จุดประสงค์การเรียนรู้ จานวน 1 ชุด บัตรคาสั่ง เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชุด บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด บัตรสรุปความรู้ เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชุด แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 จานวน 8 ชุด ซองที่ 2 ประกอบด้วย แนวคาตอบบัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ชุด เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 จานวน 8 ชุด แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน จานวน 1 ชุด แบบบันทึกสรุปคะแนน จานวน 1 ชุด
  • 6. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 5 คู่มือครู
  • 7. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 6 คาชี้แจงสาหรับครู แนวปฏิบัติก่อนสอน 1. เตรียมเอกสารที่ต้องใช้ไว้ตามลาดับก่อน – หลัง ตามที่ระบุไว้ในคู่มือครู 2. ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมแต่ละชุด 3. ทดสอบการใช้สื่อ-อุปกรณ์ สาหรับการสอนอย่างครบถ้วน 4. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยให้สมาชิกภายในกลุ่มประกอบด้วย นักเรียนที่ได้คะแนนสอบวิชาเคมี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในระดับสูง ปานกลาง ต่า และจัดแบ่งหน้าที่และบทบาทของแต่ละคนดังนี้ 4.1 ประธาน ทาหน้าที่ ควบคุมการทางานของกลุ่ม 4.2 รองประธาน ทาหน้าที่แทนประธาน เมื่อประธานไม่อยู่ 4.3 เลขานุการ ทาหน้าที่ บันทึกข้อมูล ความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม 4.4 สมาชิก ทาหน้าที่ เสนอความคิดเห็นอย่างหลากหลาย จากข้อมูลที่ได้รับ 5. ครูชี้แจงวิธีการเรียน ถึงกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติตามบัตรกิจกรรม แนวปฏิบัติขณะสอน 1. ชี้แจงกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนทราบ 2. จัดกลุ่มตามที่เตรียมไว้ 3. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ 3.1 ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และลักษณะการทางานร่วมกัน 3.2 แจกเอกสาร เช่น คู่มือนักเรียน บัตรคาสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม บัตรสรุปความรู้ และแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม 3.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปของกลุ่ม เช่น การอภิปราย ซักถาม เสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
  • 8. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 7 4. เป็นผู้ให้คาแนะนา และเป็นที่ปรึกษาของนักเรียนในขณะที่นักเรียนทากิจกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วิชา เคมี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชั่วโมง ................................................................................................................................................................ สาระสาคัญ 1. สารแบ่งออกเป็น 3 สถานะ คือ แก๊ส ของเหลว ของแข็ง 2. การเปลี่ยนสถานะของสารเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ 3. สารแต่ละชนิดจะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวแตกต่างกัน จุดเดือดและจุดหลอมเหลว เป็น คุณสมบัติเฉพาะตัวของสาร สามารถใช้บอกชนิดของสารได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารได้ 2. ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารนั้น สาระการเรียนรู้ 1. การพิจารณาสถานะของสาร 2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร 3. ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาค กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นทดสอบก่อนสอน (ใช้เวลา 60 นาที) 1. ครูนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แก๊ส ของเหลว ของแข็ง จานวน 40 ข้อ มาทดสอบกับนักเรียนในคาบแรก ก่อนการเรียน โดยไม่ให้นักเรียนปรึกษากันหรือ เปิดตาราใด ๆ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (ใช้เวลา 5 นาที) 2. นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการยกตัวอย่างสารแต่ละชนิด ที่มีสถานะแตกต่างกัน โดยพิจารณา จากลักษณะภายนอก ที่อุณหภูมิเดียวกันสารที่มีสถานะแตกต่างกัน นอกจากนี้สารบางชนิดยังมี
  • 9. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 8 ลักษณะได้ถึง 3 สถานะ ครูยกตัวอย่าง เช่น น้า มีได้ 3 สถานะ คือแก๊ส ของเหลว ของแข็ง ครู อธิบายต่อไปว่าการที่สารสามารถเปลี่ยนสถานะได้เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ 3. ครูเสนอแนะบทบาทของการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยการเสนอแนะให้นักเรียน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม ขั้นสอน/ปฏิบัติกิจกรรม (ใช้เวลา 20 นาที) 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยในกลุ่มจะประกอบไปด้วย นักเรียนที่ได้คะแนนสอบวิชาเคมี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในระดับสูง ปานกลาง และต่า คละกันภายในกลุ่ม หลังจากนั้นให้นักเรียนในกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม เลขากลุ่ม และจัดแบ่ง หน้าที่โดยให้ทุกคนมีส่วนในการรับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน 2. ตัวแทนกลุ่มรับคู่มือนักเรียนเอกสารประกอบการเรียนและอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทา กิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย คู่มือนักเรียน บัตรคาสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม แบบทดสอบท้าย ชุดกิจกรรม 3. นักเรียนในแต่ละกลุ่มศึกษาคู่มือนักเรียนเนื้อหา วิธีการทากิจกรรมจากบัตรกิจกรรม และนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร โดยการศึกษาคุณสมบัติของ สาร ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม หาความสัมพันธ์ของสาร โดยการ ศึกษาจากบัตรเนื้อหา อภิปราย ซักถาม เสนอความคิดเห็น 4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงผลของการทากิจกรรมจากบัตรกิจกรรม เรื่องสถานะของสาร และที่ได้จากบัตรเนื้อหาและบัตรสรุปความรู้จากการทากิจกรรม ขั้นอภิปราย/สรุปบทเรียน (ใช้เวลา 15 นาที) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากิจกรรม เพื่อนาไปสู่การสรุปเกี่ยวกับเนื้อหา เรื่อง สถานะของสาร ตามเอกสารสรุปบทเรียนและแผ่นใสสรุปบทเรียน ขั้นทดสอบหลังเรียน (ใช้เวลา 10 นาที) 6. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องสถานะของสาร จานวน 10 ข้อ สื่อ/อุปกรณ์ 1. บัตรเนื้อหา 2. บัตรกิจกรรม 3. บัตรสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม
  • 10. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 9 4. แผ่นใสสรุปเนื้อหา เรื่อง สถานะของสาร กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อ การเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสารได้ ตรวจให้คะแนน บัตรกิจกรรมที่ 1 คะแนนเต็ม 15 คะแนน 12 คะแนนขึ้นไปผ่านเกณฑ์ 2. ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือด จุด หลอมเหลวของสารนั้น ตรวจให้คะแนน 3. ทดสอบท้าย ชุดกิจกรรมที่ 1 ตรวจให้คะแนน แบบทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม 10 คะแนน 8 คะแนน ขึ้นไปผ่านเกณฑ์ กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 11. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 10 ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................ (..................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.......................................................... (............................................................) ผู้อานวยการโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา"
  • 12. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 11 บันทึกผลหลังการสอน 1. ผลการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ปัญหา และอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ...............................................................ผู้สอน (นางสาวพรพิมล วงศ์น้อย) ครูชานาญการ
  • 13. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 12 บทบาทหน้าที่ของสมาชิก กลุ่มที่ ................................................... คนที่ ชื่อ—สกุล บทบาทหน้าที่ 1 ผู้นากลุ่ม มีหน้าที่ประสานงานและกากับ ควบคุมการทางาน แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกเพื่อให้กลุ่มทางานไปได้ด้วยดี 2 ผู้กระตุ้นหรือตั้งคาถาม มีหน้าที่คอยกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนแสดง ความคิดเห็น และอธิบายข้อมูลเพิ่มเติม แก่สมาชิก 3 ผู้บันทึกข้อมูล มีหน้าที่จดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการอภิปรายของ สมาชิกภายในกลุ่มและเขียนสรุปผลงานกลุ่ม 4 ผู้รวบรวมข้อมูล มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลจากสมาชิกในกลุ่มทุกคน อธิบายข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปของกลุ่ม 5 ผู้สนับสนุนและนาเสนอข้อมูล มีหน้าที่ควบคุมการอภิปรายให้เสร็จทันเวลา และ นาเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน
  • 14. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 13 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลุ่มที่ ................................................... ประเด็น เลขที่ ความกล้าแสดงออก (4 คะแนน) ความมีน้าใจและรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น (4 คะแนน) ความรับผิดชอบ (4 คะแนน) รวม (12 คะแนน) ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (.............................................) วันที่.........เดือน.........................พ.ศ.........
  • 15. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 14 ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 4 3 2 1 กล้าแสดงออก พูดแสดง ความคิดเห็นและ สามารถอภิปราย ข้อมูลได้ทุกครั้ง พูดแสดง ความคิดเห็น ได้ทุกครั้งแต่ อภิปรายข้อมูลได้ บางครั้ง พูดแสดง ความคิดเห็นได้ บางครั้งและ อภิปรายข้อมูลได้ บางครั้ง พูดแสดง ความคิดเห็นได้ บางครั้งแต่ ไม่สามารถ อภิปรายข้อมูลได้ มีน้าใจและ รับฟัง ความคิดเห็นของ ผู้อื่น มีน้าใจช่วยเหลือ สมาชิกในกลุ่ม และยอมรับมติ ของกลุ่มอย่างมี เหตุผล มีน้าใจช่วยเหลือ สมาชิกในกลุ่ม แต่บางครั้ง ไม่ยอมรับมติ ของกลุ่ม มีน้าใจเฉพาะเพื่อน ที่คุ้นเคย และบางครั้ง ไม่ยอมรับมติ ของกลุ่ม มีน้าใจเฉพาะ เพื่อนที่คุ้นเคย และไม่ค่อย ยอมรับ มติของกลุ่ม รับผิดชอบ รับผิดชอบงาน ที่ได้รับมอบหมาย ได้อย่างสม่าเสมอ รับผิดชอบงาน ที่ได้รับมอบหมาย ได้บ่อยครั้ง รับผิดชอบงาน ที่ได้รับมอบหมาย ได้บางครั้ง ขาดความ รับผิดชอบงาน ที่ได้รับมอบหมาย เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี 4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 - 3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง  นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์ระดับดี ขึ้นไป (7 คะแนน ขึ้นไป)
  • 16. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 15 คู่มือนักเรียน
  • 17. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 16 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. ชุดกิจกรรมนี้ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 2. ตัวแทนกลุ่มรับเอกสารใช้ในการเรียนและการทากิจกรรม 3. สารวจเอกสารที่ได้รับว่า ครบถ้วนหรือไม่ ซึ่งประกอบด้วย 3.1 บัตรคาสั่ง เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ฉบับ 3.2 บัตรเนื้อหา เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ฉบับ 3.3 บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 8 ฉบับ 3.4 บัตรสรุปความรู้ที่ได้จากกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ 3.5 แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ 3.6 แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม จานวน 8 ฉบับ 4. ตัวแทนกลุ่มแจกเอกสารที่ได้รับให้แก่สมาชิก 5. ศึกษาเอกสารให้เข้าใจอย่างชัดเจน 6. ขณะที่นักเรียนทากิจกรรม ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม 6.1 ช่วยกันทากิจกรรม ตามคาแนะนาในบัตรกิจกรรม 6.2 ร่วมกันอภิปราย ซักถาม เสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน แก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อสรุปผลการทากิจกรรม 6.3 สรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมและจากบัตรเนื้อหา 6.4 ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชั้น เพื่อหาข้อสรุปของนักเรียนทั้งหมด 6.5 ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุป เรื่อง สถานะของสาร กับสมาชิกใน ชั้นเรียนและครูผู้สอน 6.6 ทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร
  • 18. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 17 บัตรคาสั่ง คาสั่ง ประธานกลุ่มอ่านขั้นตอนการประกอบกิจกรรมให้สมาชิกทราบดังนี้ 1. ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 2. อ่านบัตรกิจกรรมชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร แล้วร่วมกัน ปฏิบัติกิจกรรม 3. ตรวจสอบผลงานกลุ่มจากบัตรเฉลยกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 4. ศึกษาบัตรสรุปความรู้ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 5. ทาแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร และบันทึกคะแนน
  • 19. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 18 บัตรเนื้อหา ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร สารต่าง ๆ ที่เราพบอยู่ทุกวันนี้ นอกจากจะแตกต่างกันในด้านรูปร่างและสีสันแล้ว ยังมี สถานะแตกต่างกันด้วย อากาศมีสถานะเป็นแก๊ส น้ามีสถานะเป็นของเหลวและแก๊ส หินมีสถานะเป็น ของแข็ง ดังนั้นถ้าใช้สถานะเป็นเกณฑ์ในการจาแนกสารจะสามารถแยกสารได้ 3 สถานะ คือ แก๊ส ของเหลว และของแข็ง ถ้าพิจารณาสถานะของสารโดยทั่วไปอาจพิจารณา จากรูป จากรูป แสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้าทั้ง 3 สถานะ คือ แก๊ส ของเหลว และของแข็ง จุดเดือด จุดหลอมเหลว แก๊ส ของเหลว ของแข็ง หมายความว่า ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดเดือด สารจะมีสถานะเป็น แก๊ส ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดหลอมเหลว และน้อยกว่าจุดเดือด สารจะมี สถานะเป็น ของเหลว ถ้าอุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมเหลว สารจะมีสถานะเป็น ของแข็ง
  • 20. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 19 การเปลี่ยนสถานะของสาร เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป สถานะของสารจะเปลี่ยนไป เช่น เมื่อเราต้มน้าจนกระทั่งอุณหภูมิ สูงขึ้นมากกว่า 100 C ก็จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส แต่ถ้าเรานาน้าไปใส่ในตู้เย็น จนกระทั่งอุณหภูมิลดต่าลงกว่า 0 C น้าก็จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นของแข็ง ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาคทั้ง 3 สถานะ สารประกอบทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็ก คือ อนุภาคจานวนมากอยู่รวมกันอยู่ใน สถานะต่าง ๆ กัน ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาคจะมี 3 ลักษณะ คือ 1. สารที่ดารงอยู่ในสถานะแก๊ส อนุภาคจะอยู่ห่างกันและ ไม่เป็นระเบียบ เคลื่อนที่ไปมา ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ จุดเดือด 0° C ไอน้า น้า น้าแข็ง หมายความว่า ถ้าอุณหภูมิมากกว่า น้าจะมีสถานะเป็น แก๊ส ถ้าอุณหภูมิมากกว่า และน้อยกว่า น้าจะมีสถานะเป็น ของเหลว ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า น้าจะมีสถานะเป็น ของแข็ง 100° C
  • 21. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 20 2. สารที่ดารงอยู่ในสถานะของเหลว อนุภาคของของเหลวจะอยู่ใกล้ชิด กันมากกว่าแก๊สเคลื่อนที่ได้บ้าง เล็กน้อยและอนุภาคเรียงตัวกัน อย่างไม่เป็นระเบียบ 3. สารที่ดารงอยู่ในสถานะของแข็ง อนุภาคของของแข็งจะอยู่ชิด กันมากเรียงตัวกันอย่าง มีระเบียบจึงทาให้มีรูปร่างคงที่ ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
  • 22. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 21 บัตรกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร วิธีทากิจกรรม ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร .................................................................................................................................................. 2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร .................................................................................................................................................. 3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด .................................................................................................................................................. ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne แก๊ส -249 -246 ออกซิเจน O2 แก๊ส -219 -182.8 คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34 น้า H2O ของเหลว 0 100 ปรอท Hg ของเหลว -39 357 โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80 กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327 แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
  • 23. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 22 4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง 5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ 60 จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ................................. 0 100 ปรอท Hg ................................. -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ............................... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327 แคลเซียม Ca ................................. 851 1482 ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ ......... จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ............................... 0 100 ปรอท Hg ............................... -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ............................... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ............................... 660 2327 แคลเซียม Ca ............................... 851 1482
  • 24. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 23 บัตรสรุปความรู้ ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร สารแต่ละชนิดจะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว แตกต่างกัน จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจึงจัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร ที่ใช้บอกชนิดของสารได้ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ก็อาจมีผลทาให้สารเปลี่ยนสถานะได้
  • 25. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 24 เฉลยบัตรกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร วิธีทากิจกรรม ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร แก๊ส 2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร ของเหลว 3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด ของแข็ง ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne แก๊ส -249 -246 ออกซิเจน O2 แก๊ส -219 -182.8 คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34 น้า H2O ของเหลว 0 100 ปรอท Hg ของเหลว -39 357 โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80 กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327 แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
  • 26. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 25 4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง 5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ 60 จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ..........แก๊ส............. -249 -246 ออกซิเจน O2 ..........แก๊ส............. -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ..........แก๊ส............. -100.8 -34 น้า H2O ........ของเหลว...... 0 100 ปรอท Hg ........ของเหลว...... -39 357 โบรมีน Br2 ..........แก๊ส............. -7.25 58.80 กามะถัน S ........ของแข็ง...... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ........ของแข็ง...... 660 2327 แคลเซียม Ca ........ของแข็ง...... 851 1482 ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ ......... จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ............................... 0 100 ปรอท Hg ............................... -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ........ของแข็ง...... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ........ของแข็ง...... 660 2327 แคลเซียม Ca ........ของแข็ง...... 851 1482
  • 27. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 26 แบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 วิชา เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สถานะของสาร จานวน 1 ชั่วโมง ................................................................................................................................................................ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วกาเครื่องหมาย กากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 1 อธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสารได้ 1. อุณหภูมิมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารตามข้อใด ก. เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปสารจะอยู่ในสถานะแก๊ส ข. ในอุณหภูมิหนึ่งสารจะดารงตัวอยู่ได้ในสถานะเดียว ค. ที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมเหลว สารอยู่ในสถานะของเหลว ง. ถ้าอุณหภูมิมากกว่าจุดเดือด สารจะมีสถานะเป็นแก๊ส 2. จากรูป หมายเลข 1, 2 และ 3 อยู่ในสถานะใด ตามลาดับ จุดเดือด จุดหลอมเหลว 1 2 3
  • 28. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 27 ก. ของแข็ง , ของเหลว และแก๊ส ข. ของเหลว , แก๊ส และของแข็ง ค. แก๊ส , ของเหลว และของแข็ง ง. ของแข็ง , แก๊ส และของเหลว จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 2 ระบุสถานะของสาร ณ อุณหภูมิที่กาหนด เมื่อทราบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารนั้นได้ ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตอบคาถาม ข้อ 3 – 4 ชื่อสาร สถานะของสารที่ 25 จุดหลอมเหลว จุดเดือด นีออน แก๊ส -249 -246 ออกซิเจน แก๊ส -219 -182.8 น้า ของเหลว 0 100 ปรอท ของเหลว -39 357 กามะถัน ของแข็ง 115.21 444.6 แคลเซียม ของแข็ง 851 1482 3. ที่อุณหภูมิ -5 ออกซิเจนและน้าอยู่ในสถานะใด ตามลาดับ ก. แก๊ส ของเหลว ข. แก๊ส ของแข็ง ค. ของเหลว แก๊ส ง. ของแข็ง ของเหลว 4. ที่อุณหภูมิ 105 สารในข้อใดบ้างอยู่ในสถานะของเหลว ก. ปรอท ข. นีออน ค. กามะถัน ง. ออกซิเจน
  • 29. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 28 5. ที่อุณหภูมิ 350 สารใดบ้างอยู่ในสถานะแก๊ส ก. น้า , ปรอท ข. นีออน , ปรอท ค. นีออน , ออกซิเจน ง. ออกซิเจน , กามะถัน ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตอบคาถาม ข้อ 6 – 7 สาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด A -100.8 -34 B -249 -246 C 98 885 D 0 100 E 660 2300 F -39 300 G -216 -100 6. ที่อุณหภูมิ 50 สารใดบ้างอยู่ในสถานะแก๊ส ก. A B G ข. B C D ค. D E F ง. E F G 7. ที่อุณหภูมิ 30 สารใดบ้างอยู่ในสถานะของเหลว ก. A C ข. C E ค. D F ง. E F
  • 30. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 29 ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการตออบคาถาม ข้อ 8 – 9 สาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด M -95 110 N 15.5 80.1 O 63.4 754 P 97.5 888 8. ผสมสาร N กับ P แล้วต้มจนถึงจุดเดือดของน้า สารดังกล่าวจะอยู่ในสถานะใดตามลาดับ ก. ของแข็ง แก๊ส ข. แก๊ส ของแข็ง ค. แก๊ส ของเหลว ง. ของเหลว ของเหลว 9. ถ้าผสมสาร M, N, O, และ P เข้าด้วยกัน แล้วนาไปทาการระเหยให้กลายเป็นไอ สารที่ระเหยออกมาก่อนและหลังสุด คือสารใด ก. M และ N ข. M และ O ค. N และ O ง. N และ P 10. ถ้ามีของเหลว A, B และ C ผสมกันอยู่ แล้วนามาให้ความร้อน พบว่า ของเหลว ที่ผสมกันอยู่ระเหยออกมาตามลาดับดังนี้ B, C, A จุดเดือดของ A, B และ C ควรเป็นไปตามข้อใด ตามลาดับ ก. 80, 105 และ 130 ข. 105, 130 และ 80 ค. 130, 80 และ 105 ง. 130, 105 และ 80
  • 31. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 30 เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมที่ 1 ข้อ ก. ข. ค. ง. ข้อ ก. ข. ค. ง. 1  6  2  7  3  8  4  9  5  10 
  • 32. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 31 สื่อประกอบการสอน เรื่อง สถานะของสาร
  • 33. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 32 สถานะของสาร
  • 34. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 33 การพิจารณาสถานะของน้า จุดเดือด 0° C ไอน้า น้า น้าแข็ง ถ้า T มากกว่า น้าจะมีสถานะเป็น แก๊ส ถ้า T มากกว่า และน้อยกว่า น้าจะมีสถานะเป็น ของเหลว ถ้า T ต่ากว่า น้าจะมีสถานะเป็น ของแข็ง 100° C
  • 35. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 34 การพิจารณาสถานะของสาร จุดเดือด จุดหลอมเหลว แก๊ส ของเหลว ของแข็ง ถ้า T ต่ากว่าจุดหลอมเหลว สถานะเป็น ของแข็ง ถ้า T มากกว่าจุดหลอมเหลว และต่ากว่าจุดเดือด สถานะเป็น ของเหลว ถ้า T มากกว่าจุดเดือด สถานะเป็น แก๊ส จุดเดือด
  • 36. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 35 การเปลี่ยนสถานะของสาร 1. สถานะแก๊ส อนุภาคอยู่ห่างกัน ไม่เป็นระเบียบเคลื่อนที่ ไปมา ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ 2. สถานะของเหลว อนุภาคชิดกันกว่าแก๊ส เรียงกันไม่เป็น ระเบียบ เคลื่อนที่ได้บ้างเล็กน้อย 3. สถานะของแข็ง อนุภาคอยู่ชิดกันมากเรียงตัวกันอย่าง เป็นระเบียบ ทาให้รูปร่างคงที่
  • 37. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 36 ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ 60 จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ................................. 0 100 ปรอท Hg ................................. -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ............................... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327 แคลเซียม Ca ................................. 851 1482
  • 38. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 37 สรุปความรู้ที่ได้จากกิจกรรม 1. สารแต่ละชนิด จะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว แตกต่างกัน จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร ใช้บอกชนิดของสารได้ 2. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีผลทาให้สารเปลี่ยนสถานะ
  • 39. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 38 แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร ชื่อ – สกุล…………………………………………….………….…….…………..ห้อง…………..…… เลขที่…….…… ให้นักเรียนใช้ตารางนี้ประกอบการทากิจกรรม เรื่อง สถานะของสาร วิธีทากิจกรรม ให้นักเรียนพิจารณาและหาความสัมพันธ์ของจุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสาร โดยยึดการเปลี่ยนแปลงสถานะเป็นเกณฑ์แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ที่อุณหภูมิ นีออน มีสถานะเป็นอะไร .................................................................................................................................................. 2. ที่อุณหภูมิ - 218 และ – 183 ออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร .................................................................................................................................................. 3. ที่อุณหภูมิ 100 กามะถันอยู่ในสถานะใด .................................................................................................................................................. ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne แก๊ส -249 -246 ออกซิเจน O2 แก๊ส -219 -182.8 คลอรีน Cl2 แก๊ส -100.8 -34 น้า H2O ของเหลว 0 100 ปรอท Hg ของเหลว -39 357 โบรมีน Br2 ของเหลว -7.25 58.80 กามะถัน S ของแข็ง 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ของแข็ง 660 2327 แคลเซียม Ca ของแข็ง 851 1482
  • 40. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 39 4. ที่อุณหภูมิ 60 สารแต่ละชนิดจะมีสถานะเป็นอย่างไร แล้วเติมคาตอบในช่องว่างในตาราง 5. สารใดบ้างมีสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของน้า ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ 60 จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ................................. 0 100 ปรอท Hg ................................. -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ............................... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ................................. 660 2327 แคลเซียม Ca ................................. 851 1482 ชื่อสาร สัญลักษณ์ สถานะของสาร ที่ ......... จุดหลอมเหลว ( ) จุดเดือด ( ) นีออน Ne ............................... -249 -246 ออกซิเจน O2 ............................... -219 -182.8 คลอรีน Cl2 ............................... -100.8 -34 น้า H2O ............................... 0 100 ปรอท Hg ............................... -39 357 โบรมีน Br2 ............................... -7.25 58.80 กามะถัน S ............................... 115.21 444.60 อะลูมิเนียม Al ............................... 660 2327 แคลเซียม Ca ............................... 851 1482
  • 41. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 40 กระดาษคาตอบ ชื่อ – สกุล…………………………………………….………….…….…………..ห้อง…………..…… เลขที่…….…… ข้อ ก. ข. ค. ง. ข้อ ก. ข. ค. ง. 1 6 2 7 3 8 4 9 5 10
  • 42. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สถานะของสาร 41 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และ ประดับ นาคแก้ว. (2553). หนังสือเรียน เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพมหานคร : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเนชั่น. ทิศนา แขมมณี.(2545). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญเกื้อ ครหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร : เอส อาร์ ปริ้นติ้ง. ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แนวทางสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี : สกายบุคส์. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). นวัตกรรมการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ลาดพร้าว. สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.