SlideShare a Scribd company logo
ตัวหารรวมมาก และ ตัวคูณรวมนอย

1. ตัวหารรวมมาก ( ห.ร.ม. )

       ตัวหารรวม หรือ ตัวประกอบรวม คือ จํานวนที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวทุก
จํานวน เชน
               15 มีตวหารคือ 1 , 3 , 5 , 15
                      ั
               45 มีตวหารคือ 1 , 3 , 5 , 9 , 15 , 45
                        ั
    เราจะเรียก 1 , 3 , 5 , 15 เปนตัวหารรวมของ 15 และ 45 เพราะวา 1 , 3 , 5 , 15
ตางก็หาร 15 และ 45 ไดลงตัว


       ตัวหารรวมมากที่สุด ( ห.ร.ม.) คือ ตัวหารรวมที่มีคามากที่สุดในตัวหารรวมทั้งหมด ซึ่ง
หารทุกจํานวนในกลุมจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวเชน

               25 มีตวหาร คือ 1 , 5 , 25
                       ั
               40 มีตวหาร คือ 1 , 2 , 4 , 5 , 8 , 10 , 20 , 40
                     ั

       ตัวหารรวม ของ 25 และ 40 คือ 1 , 5 แตตัวหารรวมที่มากที่สุด คือ 5
       ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 25 และ 40 คือ 5




               เราสามารถหา ห.ร.ม. ได 2 วิธี คือ
          1. โดยวิธีแยกตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดให
              ขั้นที่ 1. แยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดให
              ขั้นที่ 2. หาตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด โดยการนําตัวประกอบที่ซ้ํามาคูณกัน ผลคูณที่ไดจะ
                         เปน ห.ร.ม.
ตัวอยางเชน จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 36

  วิธีทํา           24 =        2   x     2   x        2   x   3
                    36 =        2   x     2   x        3   x   3

       ดังนัน ห.ร.ม. ของ 24 และ 36 คือ 2 x 2 x 3
            ้                                                             = 12

     2. โดยวิธีตั้งหารสั้น มีหลักดังนี้
            ขั้นที่ 1. ใหจํานวนทุกจํานวนทีกําหนดใหเปนตัวตั้ง
                                               ่
            ขั้นที่ 2. นําจํานวนที่สามารถหารทุกจํานวนในขั้นที่ 1. ลงตัว มาเปนตัวหาร และทําการ
                       หารแบบหารสั้น
            ขั้นที่ 3. ทําแบบขั้นที่ 2. ไปเรื่อยๆ จนกระทังไมมีจํานวนใดหารทุกจํานวนลงตัว ผลคูณ
                                                         ่
                       ของตัวหารทุกตัว คือ ห.ร.ม.

              วิธีนนิยมใชหา ห.ร.ม. เมื่อกําหนดจํานวนมาใหหลายจํานวน
                   ี้

    ตัวอยาง เชน จงหา ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270
วิธีทํา
                     2 ) 234        288        270

                    3 ) 117         144        135

                     3 ) 39          48           45

                           13        16           15               บรรทัดนี้ไมมีจํานวนใดหาร
                                                                   ลงตัว นอกจาก 1

     ดังนั้น ตัวหารทั้งหมด คือ 2 , 3 , 3
             ผลคูณของตัวหารทั้งหมด คือ 2 x 3 x 3 = 18
             ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270 คือ 18
เทคนิคและการแกโจทยปญหา เรือง ห.ร.ม.
                                       ่

การนํา ห.ร.ม. ไปใชในการแกโจทยปญหา
โจทยปญหาที่ใช ห.ร.ม.
             การแบงกลุมคน หรือ สิ่งของใหเทาๆกัน แตไดจํานวนมากที่สุด
             การแบงเชือก หลายๆ เสน ออกเปนทอนๆ ที่ยาวเทากัน และมีความยาว
ที่สุด เชน...
ตัวอยางที่ 1
      โรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียนชั้น ม.1 = 240 คน
                   “            ม.2 = 225 คน
                   “            ม.3 = 210 คน
      ถาจะแบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ที่มีจํานวนนักเรียนมากที่สุด จะไดกี่กลุม แตละ
                                     
กลุมมีนักเรียนกี่คน
      240 = 3 x 5 x 2 x 2 x 2 x 2
      225 = 3 x 5 x 3 x 5
      210 = 3 x 5 x 7 x 2

ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 3 x 5 = 15
      ม.1 = 240 = 16 กลุม
             15
      ม.2 = 225 = 15 กลุม
             15
      ม.3 = 210 = 14 กลุม
             15
                   รวม = 45 กลุม
นั่นคือ แบงนักเรียนเปนกลุมใหญที่สุดได 45 กลุม แตละกลุมมีนักเรียน 15 คน
                                                            
ตัวอยางที่ 2
        หองหนึ่งกวาง 7.50 เมตร ยาว 12.5 เมตร ถาขีดเสนใตเปนตารางที่ใหญที่สุด จะ
 ไดกี่ตาราง แตละตารางมีขนาดเทาไร
        ก. = 7.50 ม.. = 750 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 3
        ข. = 12.50 ม. = 1250 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 5

 ดังนั้น ห.ร.ม. = 5 x 5 x 5 x 2 = 250
       ก. = 750 cm = 750 = 3
                       250
       ข. = 1250 cm = 1250 = 5
                        250
                  รวม 15
นั่นคือ แบงออกเปนตารางใหญที่สุดได 15 ตาราง
       แตละตาราง มีขนาดดานละ 250 cm หรือดานละ 2.5m

ตัวอยางที่ 3
       นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน
       นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน
       นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน
       นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน
จะแบงเปนหมูลูกเสือ ไดกี่หมู ถาใหแตละหมู มีจํานวนลูกเสือ มากที่สดและแตละหมูมี
                                                                        ุ
ลูกเสือกี่นาย
       นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน = 2 x 2 x 2 x 7
       นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
       นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน = 2 x 2 x 2 x 5
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 2 = 8

      ดังนั้น       ม.1/1 = 56 = 7 หมู
                                8
                    ม.1/2 = 48 = 6 หมู
                              8
                    ม.1/3 = 48 = 6 หมู
                                8
                    ม.1/4 = 40 = 5 หมู
                                8
                               รวม 24 หมู
นั่นคือ แบงหมูลูกเสือได 24 หมู
       แตละหมูมีลูกเสือ 8 นาย
                 

ตัวอยางที่ 4 มีเชือก 4 เสน ยาว 132,84,180 และ 240 ซม. ถาตองการแบงเชือกทั้ง 4
เสน ออกเปนทอนๆ ใหแตละทอนยาวเทากัน และใหยาวที่สุด จะไดกี่ทอน และแตละ
ทอนยาวเทาไร
      132 = 12 x 11
      84 = 12 x 7
      180 = 12 x 15
      240 = 12 x 20

ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 12
จํานวนทอน = 11 + 7 +15 + 20 = 53 ทอน
นั่นคือ แบงเชือกได 53 ทอน แตละทอนยาว 12 ซม.
ตัวอยางที่ 5 จงหาจํานวนที่มากที่สุด เมือนําไปหาร 545 เหลือเศษ 1 แตเมื่อนําไปหาร
                                         ่
436 เหลือเศษ 11
       นําไปหาร 545 เศษ = 1 ดังนั้น 545 – 1 = 544
       นําไปหาร 436 เศษ = 11 ดังนั้น 436 – 11 = 425
             544 = 17 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2
             425 = 17 x 5 x 5
       ห.ร.ม. = 17
นั่นคือ จํานวนที่มากที่สุดจํานวนนี้คือ 17

ตัวอยางที่ 6
       ที่แปลงหนึ่งกวาง 50 m ยาว 150 m ถาลอมลวดหนามโดยรอบแลวจะตองปก
เสาอยาง
นอยกี่ตน
              กวาง               50 m = 50 x 1
              ยาว         150 m = 50 x 3
                       ดังนั้น ห.ร.ม. = 50 *
                         เสนรอบรูป = 2 ( ก + ย )
                                    = 2( 50 + 150 )
                                    = 40 m*
            นั่นคือ จํานวนเสาที่นอยที่สุด = 4005
                              = 8 ตน
2. ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น.)
        ตัวคูณรวมนอย หมายถึง จํานวนที่มีคานอยที่สุด เมื่อนําจํานวนที่กําหนดใหทั้งหมดมาหารจํานวน
นั้นไดลงตัว เชน
        จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6 , 12 , 18 , 24 , 30 , 36 …
        จํานวนที่มี 9 เปนตัวประกอบ คือ 9 , 18 , 27 , 36 , 45 …
จะเห็นวา ตัวคูณรวมของ 6 และ 9 ไดแก 18 , 36 และจํานวนอื่นๆ อีกหลายจํานวน
        เนื่องจาก 18 เปนจํานวนที่นอยที่สุดทีนํา 6 , 9 ไปหารแลวลงตัว ดังนั้น ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. )
                                              ่
ของ 6 , 9 คือ 18

วิธีหาตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. )
        1. วิธีแยกตัวประกอบ มีหลักดังนี้
                 1.1 ใหแยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กาหนดให
                                                            ํ
                 1.2 ตัวประกอบใดที่ซ้ํากับตัวประกอบของจํานวนอื่นๆ ใหนํามาใชเพียงตัวเดียว และตัว
ประกอบใดที่ไมซ้ํากันใหนํามาใชใหหมด
                 1.3 ค.ร.น. เทากับผลคูณของทุกๆ จํานวนทีนํามาใช
                                                        ่
ตัวอยางที่ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84
วิธีทํา                  18 = 3 x 3 x 2
                         45 = 3 x 3 x 5
                         84 = 3 x 2 x 2 x 7
ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84 คือ 3 x 3 x 2 x 2 x 5 x 7 = 1,260

ตัวอยางที่ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 24
วิธีทํา              12 = 2 x 2 x 3
                     24 = 2 x 2 x 2 x 3
ค.ร.น. ของ 12 , 24 คือ 2 x 2 x 2 x 3 = 24

               ถาจํานวนที่กําหนดใหทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ การหา ค.ร.น. ใหนําจํานวนที่
ขอสังเกต
               กําหนดใหทั้งหมดมาคูณกับ ผลคูณที่ได คือ ค.ร.น. เชน
                   - ค.ร.น. ของ 2 กับ 7 คือ 2 x 7 = 14
                   - ค.ร.น. ของ 5 กับ 19 คือ 5 x 19 = 95
2. วิธีตั้งหาร มีหลักดังนี้
                  2.1 ใหจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดใหเปนตัวตั้ง
                  2.2 นําจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหอยางนอย 1 จํานวนลงตัวมาเปน
ตัวหารและทําการหารแบบหารสั้น
                  2.3 จํานวนที่หารไมลงตัวใหคงไวตามเดิม และใหนําลงมาเปนตัวตั้งของการหารครั้งตอไป
                  2.4 ทําไปเรือยๆ จนไดผลหารของทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะที่ไมเหมือนกันหรือเปน 1
                              ่
                  2.5 ค.ร.น. คือ ผลคูณของจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารทุกตัวกับผลหารที่ไดในบรรทัดสุดทาย
ทุกตัว

ตัวอยางที่ 3 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24
วิธีทํา               2) 12 20               24
                      2)       6 10          12
                      3)       3      5       6
                               1      5       2
        ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24 = 2 x 2      x 3 x 1 x 5 x 2 = 120



       การนํา ค.ร.น. ไปใชในการแกโจทยปญหา

       โจทยปญหา ที่ใช ค.ร.น.
                                           การหาวา ระฆังจะกลับมาตีพรอมกัน
                                    การหาวา นาฬิกาจะเดินมาพรอมกัน
                               การหาวา นักกีฬา จะวิ่งกลับมาพรอมกันอีก ที่จุดๆ หนึ่ง
ตัวอยางที่ 1. จงหาจํานวนที่นอยที่สุด เมื่อหารดวย 25 และ 35 แลว
                เหลือเศษ 2 เทากัน
     วิธีทํา       25 = 5x5
                    35 = 5x7
                    ดังนั้น ค.ร.น. = 5x5x7 =175
                    นั่นคือ จํานวนๆ นัน คือ 175+2 = 177
                                      ้

ตัวอยางที่ 2. มีระฆัง 3 ใบ ใบที่ 1 ตีทุกๆ 5 นาที ใบที่2 ตีทกๆ 9 นาที
                                                                ุ
                ใบที่ 3 ตีทุกๆ 15 นาที เมื่อเริ่มตีพรอมกัน อีกนานเทาไร
                จึงจะกลับมาตีพรอมกันอีก
วิธีทํา                5       =      5
                       9        =     3x3
                      15        =     5x3
        ดังนั้น ค.ร.น. คือ 5x3x3 = 45
        นันคือ อีก 45 นาที จะกลับมาตีพรอมกันอีก
          ่



         ความสัมพันธ ของจํานวนสองจํานวน กับ ค.ร.น. , ห.ร.ม.
     ผลคูณของจํานวนสองจํานวน จะเทากับ ผลคูณของ ค.ร.น. และ ห.ร.ม.
     ของสองจํานวนนั้น หรือ AB = HO
     ถา A และ B คือ จํานวนสองจํานวน , H คือ ห.ร.ม. , O คือ ค.ร.น.

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
sawed kodnara
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 

Viewers also liked

แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
kru_ann
 
โจทย์ปัญหาเศษส่วน
โจทย์ปัญหาเศษส่วนโจทย์ปัญหาเศษส่วน
โจทย์ปัญหาเศษส่วน
ทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
kanjana2536
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
Aon Narinchoti
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ
warijung2012
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
ทับทิม เจริญตา
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 
ตัวหารร่วมมาก
ตัวหารร่วมมากตัวหารร่วมมาก
ตัวหารร่วมมาก
kruphongphak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

Viewers also liked (20)

แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
โจทย์ปัญหาเศษส่วน
โจทย์ปัญหาเศษส่วนโจทย์ปัญหาเศษส่วน
โจทย์ปัญหาเศษส่วน
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 
ตัวหารร่วมมาก
ตัวหารร่วมมากตัวหารร่วมมาก
ตัวหารร่วมมาก
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 

Similar to ค.ร.น.และห.ร.ม

Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
Thanuphong Ngoapm
 
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.guestcf3942
 
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.guestcf3942
 
เฉลย.pdf
เฉลย.pdfเฉลย.pdf
เฉลย.pdf
ssuser0f0b6e
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1pumtuy3758
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
Tutor Ferry
 
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
Marr Ps
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
KruAm Maths
 
Learning management plan 1
Learning management plan 1Learning management plan 1
Learning management plan 1
SucheraSupapimonwan
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตMashmallow Korn
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2AreeyaNualjon
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2sarwsw
 

Similar to ค.ร.น.และห.ร.ม (20)

Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
 
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
 
เฉลย.pdf
เฉลย.pdfเฉลย.pdf
เฉลย.pdf
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
ใบงานบทที่
ใบงานบทที่ใบงานบทที่
ใบงานบทที่
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
 
Learning management plan 1
Learning management plan 1Learning management plan 1
Learning management plan 1
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
สูตรคณิต
สูตรคณิตสูตรคณิต
สูตรคณิต
 

ค.ร.น.และห.ร.ม

  • 1. ตัวหารรวมมาก และ ตัวคูณรวมนอย 1. ตัวหารรวมมาก ( ห.ร.ม. ) ตัวหารรวม หรือ ตัวประกอบรวม คือ จํานวนที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวทุก จํานวน เชน 15 มีตวหารคือ 1 , 3 , 5 , 15 ั 45 มีตวหารคือ 1 , 3 , 5 , 9 , 15 , 45 ั เราจะเรียก 1 , 3 , 5 , 15 เปนตัวหารรวมของ 15 และ 45 เพราะวา 1 , 3 , 5 , 15 ตางก็หาร 15 และ 45 ไดลงตัว ตัวหารรวมมากที่สุด ( ห.ร.ม.) คือ ตัวหารรวมที่มีคามากที่สุดในตัวหารรวมทั้งหมด ซึ่ง หารทุกจํานวนในกลุมจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวเชน 25 มีตวหาร คือ 1 , 5 , 25 ั 40 มีตวหาร คือ 1 , 2 , 4 , 5 , 8 , 10 , 20 , 40 ั ตัวหารรวม ของ 25 และ 40 คือ 1 , 5 แตตัวหารรวมที่มากที่สุด คือ 5 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 25 และ 40 คือ 5 เราสามารถหา ห.ร.ม. ได 2 วิธี คือ 1. โดยวิธีแยกตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดให ขั้นที่ 1. แยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดให ขั้นที่ 2. หาตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด โดยการนําตัวประกอบที่ซ้ํามาคูณกัน ผลคูณที่ไดจะ เปน ห.ร.ม.
  • 2. ตัวอยางเชน จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 36 วิธีทํา 24 = 2 x 2 x 2 x 3 36 = 2 x 2 x 3 x 3 ดังนัน ห.ร.ม. ของ 24 และ 36 คือ 2 x 2 x 3 ้ = 12 2. โดยวิธีตั้งหารสั้น มีหลักดังนี้ ขั้นที่ 1. ใหจํานวนทุกจํานวนทีกําหนดใหเปนตัวตั้ง ่ ขั้นที่ 2. นําจํานวนที่สามารถหารทุกจํานวนในขั้นที่ 1. ลงตัว มาเปนตัวหาร และทําการ หารแบบหารสั้น ขั้นที่ 3. ทําแบบขั้นที่ 2. ไปเรื่อยๆ จนกระทังไมมีจํานวนใดหารทุกจํานวนลงตัว ผลคูณ ่ ของตัวหารทุกตัว คือ ห.ร.ม. วิธีนนิยมใชหา ห.ร.ม. เมื่อกําหนดจํานวนมาใหหลายจํานวน ี้ ตัวอยาง เชน จงหา ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270 วิธีทํา 2 ) 234 288 270 3 ) 117 144 135 3 ) 39 48 45 13 16 15 บรรทัดนี้ไมมีจํานวนใดหาร ลงตัว นอกจาก 1 ดังนั้น ตัวหารทั้งหมด คือ 2 , 3 , 3 ผลคูณของตัวหารทั้งหมด คือ 2 x 3 x 3 = 18 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270 คือ 18
  • 3. เทคนิคและการแกโจทยปญหา เรือง ห.ร.ม.  ่ การนํา ห.ร.ม. ไปใชในการแกโจทยปญหา โจทยปญหาที่ใช ห.ร.ม. การแบงกลุมคน หรือ สิ่งของใหเทาๆกัน แตไดจํานวนมากที่สุด การแบงเชือก หลายๆ เสน ออกเปนทอนๆ ที่ยาวเทากัน และมีความยาว ที่สุด เชน... ตัวอยางที่ 1 โรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียนชั้น ม.1 = 240 คน “ ม.2 = 225 คน “ ม.3 = 210 คน ถาจะแบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ที่มีจํานวนนักเรียนมากที่สุด จะไดกี่กลุม แตละ  กลุมมีนักเรียนกี่คน 240 = 3 x 5 x 2 x 2 x 2 x 2 225 = 3 x 5 x 3 x 5 210 = 3 x 5 x 7 x 2 ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 3 x 5 = 15 ม.1 = 240 = 16 กลุม 15 ม.2 = 225 = 15 กลุม 15 ม.3 = 210 = 14 กลุม 15 รวม = 45 กลุม นั่นคือ แบงนักเรียนเปนกลุมใหญที่สุดได 45 กลุม แตละกลุมมีนักเรียน 15 คน 
  • 4. ตัวอยางที่ 2 หองหนึ่งกวาง 7.50 เมตร ยาว 12.5 เมตร ถาขีดเสนใตเปนตารางที่ใหญที่สุด จะ ไดกี่ตาราง แตละตารางมีขนาดเทาไร ก. = 7.50 ม.. = 750 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 3 ข. = 12.50 ม. = 1250 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 5 ดังนั้น ห.ร.ม. = 5 x 5 x 5 x 2 = 250 ก. = 750 cm = 750 = 3 250 ข. = 1250 cm = 1250 = 5 250 รวม 15 นั่นคือ แบงออกเปนตารางใหญที่สุดได 15 ตาราง แตละตาราง มีขนาดดานละ 250 cm หรือดานละ 2.5m ตัวอยางที่ 3 นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน จะแบงเปนหมูลูกเสือ ไดกี่หมู ถาใหแตละหมู มีจํานวนลูกเสือ มากที่สดและแตละหมูมี ุ ลูกเสือกี่นาย นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน = 2 x 2 x 2 x 7 นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3 นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
  • 5. นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน = 2 x 2 x 2 x 5 ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 2 = 8 ดังนั้น ม.1/1 = 56 = 7 หมู 8 ม.1/2 = 48 = 6 หมู 8 ม.1/3 = 48 = 6 หมู 8 ม.1/4 = 40 = 5 หมู 8 รวม 24 หมู นั่นคือ แบงหมูลูกเสือได 24 หมู แตละหมูมีลูกเสือ 8 นาย  ตัวอยางที่ 4 มีเชือก 4 เสน ยาว 132,84,180 และ 240 ซม. ถาตองการแบงเชือกทั้ง 4 เสน ออกเปนทอนๆ ใหแตละทอนยาวเทากัน และใหยาวที่สุด จะไดกี่ทอน และแตละ ทอนยาวเทาไร 132 = 12 x 11 84 = 12 x 7 180 = 12 x 15 240 = 12 x 20 ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 12 จํานวนทอน = 11 + 7 +15 + 20 = 53 ทอน นั่นคือ แบงเชือกได 53 ทอน แตละทอนยาว 12 ซม.
  • 6. ตัวอยางที่ 5 จงหาจํานวนที่มากที่สุด เมือนําไปหาร 545 เหลือเศษ 1 แตเมื่อนําไปหาร ่ 436 เหลือเศษ 11 นําไปหาร 545 เศษ = 1 ดังนั้น 545 – 1 = 544 นําไปหาร 436 เศษ = 11 ดังนั้น 436 – 11 = 425 544 = 17 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 425 = 17 x 5 x 5 ห.ร.ม. = 17 นั่นคือ จํานวนที่มากที่สุดจํานวนนี้คือ 17 ตัวอยางที่ 6 ที่แปลงหนึ่งกวาง 50 m ยาว 150 m ถาลอมลวดหนามโดยรอบแลวจะตองปก เสาอยาง นอยกี่ตน กวาง 50 m = 50 x 1 ยาว 150 m = 50 x 3 ดังนั้น ห.ร.ม. = 50 * เสนรอบรูป = 2 ( ก + ย ) = 2( 50 + 150 ) = 40 m* นั่นคือ จํานวนเสาที่นอยที่สุด = 4005 = 8 ตน
  • 7. 2. ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น.) ตัวคูณรวมนอย หมายถึง จํานวนที่มีคานอยที่สุด เมื่อนําจํานวนที่กําหนดใหทั้งหมดมาหารจํานวน นั้นไดลงตัว เชน จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6 , 12 , 18 , 24 , 30 , 36 … จํานวนที่มี 9 เปนตัวประกอบ คือ 9 , 18 , 27 , 36 , 45 … จะเห็นวา ตัวคูณรวมของ 6 และ 9 ไดแก 18 , 36 และจํานวนอื่นๆ อีกหลายจํานวน เนื่องจาก 18 เปนจํานวนที่นอยที่สุดทีนํา 6 , 9 ไปหารแลวลงตัว ดังนั้น ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. ) ่ ของ 6 , 9 คือ 18 วิธีหาตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. ) 1. วิธีแยกตัวประกอบ มีหลักดังนี้ 1.1 ใหแยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กาหนดให ํ 1.2 ตัวประกอบใดที่ซ้ํากับตัวประกอบของจํานวนอื่นๆ ใหนํามาใชเพียงตัวเดียว และตัว ประกอบใดที่ไมซ้ํากันใหนํามาใชใหหมด 1.3 ค.ร.น. เทากับผลคูณของทุกๆ จํานวนทีนํามาใช ่ ตัวอยางที่ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84 วิธีทํา 18 = 3 x 3 x 2 45 = 3 x 3 x 5 84 = 3 x 2 x 2 x 7 ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84 คือ 3 x 3 x 2 x 2 x 5 x 7 = 1,260 ตัวอยางที่ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 24 วิธีทํา 12 = 2 x 2 x 3 24 = 2 x 2 x 2 x 3 ค.ร.น. ของ 12 , 24 คือ 2 x 2 x 2 x 3 = 24 ถาจํานวนที่กําหนดใหทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ การหา ค.ร.น. ใหนําจํานวนที่ ขอสังเกต กําหนดใหทั้งหมดมาคูณกับ ผลคูณที่ได คือ ค.ร.น. เชน - ค.ร.น. ของ 2 กับ 7 คือ 2 x 7 = 14 - ค.ร.น. ของ 5 กับ 19 คือ 5 x 19 = 95
  • 8. 2. วิธีตั้งหาร มีหลักดังนี้ 2.1 ใหจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดใหเปนตัวตั้ง 2.2 นําจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหอยางนอย 1 จํานวนลงตัวมาเปน ตัวหารและทําการหารแบบหารสั้น 2.3 จํานวนที่หารไมลงตัวใหคงไวตามเดิม และใหนําลงมาเปนตัวตั้งของการหารครั้งตอไป 2.4 ทําไปเรือยๆ จนไดผลหารของทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะที่ไมเหมือนกันหรือเปน 1 ่ 2.5 ค.ร.น. คือ ผลคูณของจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารทุกตัวกับผลหารที่ไดในบรรทัดสุดทาย ทุกตัว ตัวอยางที่ 3 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24 วิธีทํา 2) 12 20 24 2) 6 10 12 3) 3 5 6 1 5 2 ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24 = 2 x 2 x 3 x 1 x 5 x 2 = 120 การนํา ค.ร.น. ไปใชในการแกโจทยปญหา โจทยปญหา ที่ใช ค.ร.น. การหาวา ระฆังจะกลับมาตีพรอมกัน การหาวา นาฬิกาจะเดินมาพรอมกัน การหาวา นักกีฬา จะวิ่งกลับมาพรอมกันอีก ที่จุดๆ หนึ่ง
  • 9. ตัวอยางที่ 1. จงหาจํานวนที่นอยที่สุด เมื่อหารดวย 25 และ 35 แลว เหลือเศษ 2 เทากัน วิธีทํา 25 = 5x5 35 = 5x7 ดังนั้น ค.ร.น. = 5x5x7 =175 นั่นคือ จํานวนๆ นัน คือ 175+2 = 177 ้ ตัวอยางที่ 2. มีระฆัง 3 ใบ ใบที่ 1 ตีทุกๆ 5 นาที ใบที่2 ตีทกๆ 9 นาที ุ ใบที่ 3 ตีทุกๆ 15 นาที เมื่อเริ่มตีพรอมกัน อีกนานเทาไร จึงจะกลับมาตีพรอมกันอีก วิธีทํา 5 = 5 9 = 3x3 15 = 5x3 ดังนั้น ค.ร.น. คือ 5x3x3 = 45 นันคือ อีก 45 นาที จะกลับมาตีพรอมกันอีก ่ ความสัมพันธ ของจํานวนสองจํานวน กับ ค.ร.น. , ห.ร.ม. ผลคูณของจํานวนสองจํานวน จะเทากับ ผลคูณของ ค.ร.น. และ ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้น หรือ AB = HO ถา A และ B คือ จํานวนสองจํานวน , H คือ ห.ร.ม. , O คือ ค.ร.น.