SlideShare a Scribd company logo
1.แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2
วิเคราะห์จานวนชั่วโมงกับความสอดคล้องของจานวนข้อสอบในแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เนื้อหา
จานวนคาบ
ที่สอน
จานวนข้อสอบที่
ใช้ทดลอง
จานวนข้อสอบ
ใช้จริง
1. แบบรูปและความสัมพันธ์
2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียว
3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว
4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว
3
2
5
4
9
6
18
12
6
4
12
8
รวม 14 45 30
วิเคราะห์พฤติกรรมที่ต้องการในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เนื้อหา
ระดับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ความรู้
ความจา
เข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ รวม
1. แบบรูปและความสัมพันธ์
2. คาตอบของสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว
3. การแก้สมการเชิงเส้น ตัว
แปรเดียว
4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-
-
1
-
-
3
2
3
2
1
7
1
4
-
2
4
6
4
12
8
รวม 1 8 11 10 30
3
วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่ต้องการวัด และพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ระดับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
จานวนข้อ จาแนกตาม
ความรู้
ความ
จา
ความ
เข้าใจ
การ
นาไปใช้
การ
วิเคราะห์
1.แบบรูปและ
ความสัมพันธ์
นักเรียนสามารถ :
1. หาแบบรูปในลาดับต่อไปได้
2. เขียนความสัมพันธ์จาก
แบบรูปที่กาหนดให้โดยใช้
ตัวแปรได้
2
(1, 3)
1
(6)
3
(2, 4, 5)
2. คาตอบของ
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
3. หาคาตอบของสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวโดยวิธีลองแทน
ค่าตัวแปรได้
3
(7, 8, 9)
1
(10)
3. การแก้
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
4. บอกสมบัติของการเท่ากันได้
5. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียวอย่างง่ายโดยใช้สมบัติการ
เท่ากันได้
1
(11)
1
(12)
1
(13)
7
(14, 15,
16, 17,
18, 19,
22)
2
(20, 21)
4. โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการ
เชิงเส้นตัวแปร
เดียว
6. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียวจากโจทย์สมการที่กาหนด
7. หาคาตอบของสมการจาก
โจทย์สมการได้
3
(23, 24,
25)
1
(27)
4
(26, 28,
29, 30)
รวม 1 8 11 10
4
1.1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ฉบับก่อนเรียน
5
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับก่อนเรียน
คาชี้แจง
1. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีทั้งหมด 30 ข้อ (ข้อละ 1 คะแนน)
ใช้เวลา 60 นาที
2. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน
3. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน
กระดาษคาตอบ
4. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
5. หากมีปัญหาใด ๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ
6. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
6
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับก่อนเรียน
และการตรวจให้คะแนน
ใช้ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้อ 1-3
พิจารณาความสัมพันธ์ของจานวนในตาราง
ลาดับที่ 1 2 3 4 5 … 44 … n
จานวน -2 -1 0 1 2
1. จานวนในลาดับที่ 125 คือจานวนใด
1) 120
2) 122
3) 124
4) 126
2. จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด
1) n-2
2) n-3
3) n-4
4) n-5
3. 75 เป็นจานวนอยู่ในลาดับที่เท่าไร
1) 72
2) 76
3) 77
4) 78
4. จากแบบรูป 7, 10, 13, 16, 19,… จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด
1) 3n + 4
2) 2n + 5
3) 2n + 6
4) 3n + 7
ใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 5-8
ครูให้นักเรียนบอกจานวนที่ชอบมาสองจานวน โดยจานวนจานวนแรกเป็นจานวนที่น้อยกว่า
และจานวนจานวนที่สองเป็นจานวนที่มากกว่า จากนั้นครูจึงนาข้อมูลมาเรียงได้ดังตารางต่อไปนี้
จานวนน้อย 1 2 3 4 5 … 15 … n
จานวนมาก 6 7 8 9 10
7
5. ถ้าจานวนน้อยคือ n จานวนมากจะตรงกับข้อใด
1) n+2
2) n+3
3) n+4
4) n+5
6. จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ ถ้าผลบวกของจานวนน้อยกับจานวนมากเท่ากับ 65 จานวน
มากเป็นเท่าใด
1) 25
2) 30
3) 35
4) 40
7. สมการในข้อใดที่มีจานวนทุกจานวนเป็นคาตอบ
1) y + 3 = -5
2) x 2
= 36
3) 2x + x = 3x
4) m + 6 = m
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1) 2.64 เป็นคาตอบของสมการ x + 0.64 = 2
2) -5 เป็นคาตอบของสมการ 5 – (-x) = 10
3) 3 เป็นคาตอบของสมการ 5x – 9 = 6
4) 5 เป็นคาตอบของสมการ 3
5
y
5
2

9. ถ้าให้ x = 4 สมการในข้อใดเป็นจริง
1) 8x – 23 = 19
2) 35 + 2x = 47
3) 5x – 6 = x + 14
4) 4x + 3x = 2x + 20
10. ถ้า x+2 = 6 แล้ว x 2
มีค่าเท่าไร
1) 4
2) 8
3) 16
4) 25
8
11. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1) ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนจริงใดๆ
2) ถ้า a = b แล้ว c – a = b – c เมื่อ a, b และ c แทนจานวนจริงใดๆ
3) ถ้า x = y และ y = z แล้ว x = z เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใดๆ
4) ถ้า x = y แล้ว
z
y
z
x
 เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใดๆ ที่ z ≠ 0
12. การแก้สมการในข้อใดใช้สมบัติของการเท่ากันของการบวก
1) ถ้า x + 2 = 5 แล้ว x = 3
2) ถ้า 3(x + 1) = 3 แล้ว x + 1 = 1
3) ถ้า
15
9
x
5
3
 แล้ว x = 1
4) ถ้า 5x = y - 1 แล้ว y - 1 = 5x
13. การหาคาตอบของสมการ 10
2
5x


ต้องดาเนินขั้นตอนตามข้อใด
1) นา 2 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ
2) นา
2
1
มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ
3) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 ทั้งสองข้างของสมการ
4) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย
2
1
ทั้งสองข้างของสมการ
14. คาตอบของสมการในข้อใดมีค่าน้อยที่สุด
1) 3x - 4 = 5(x - 2)
2) 3x + 15 = 27
3)
x3
20
9
6

4) 8x - 5 = 35
15. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากับคาตอบของสมการ 3x – 1 = 8
1) 5 - x = 8
2) 4
3
5
x 
3) 3(x + 1) = 12
4) 1x
3
4
3 
9
16. ถ้า 3x = y - 2 และ y - 2 = 18 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใด
1) 54
2) 18
3) 9
4) 6
17. ถ้า 14 + 6a = 8a แล้ว 3a + 2 มีค่าเท่าใด
1) 21
2) 22
3) 23
4) 24
18. ถ้า 51
2
x
 และ
2
5
2
1
y  แล้วค่าของ x - y ตรงกับข้อใด
1) 8
2) 10
3) 12
4) 14
19. ถ้า 3(x + 1) + 1 = 10 แล้ว 2x มีค่าเท่าใด
1) 4
2) 6
3) 8
4) 12
20. ถ้า 11x = y, y + 13 = z และ z - 21 = 14 แล้วค่าของ x + y + z ตรงกับข้อใด
1) 49
2) 59
3) 69
4) 79
21. ถ้าให้ x - 3 = 6a แล้ว 2x มีค่าเท่าใด
1) 6a + 3
2) 12a
3) 12a + 6
4) 12a + 3
10
22. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากัน
1) 3x – 15 = 31 และ x + 7 = 20
2) 4x + 14 = 58 และ 3x + 17 = 50
3) 7x – 16 = 19 และ 5x - 44 = 1
4) 3x + 9 = 60 และ 8x + 12 = 100
23. ข้อความในข้อใดเมื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปประโยคทางคณิตศาสตร์แล้วเป็นสมการ
1) ผลบวกของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับสามเท่าของจานวนนั้น
2) ผลต่างของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับห้า
3) ผลคูณของสี่กับเจ็ดเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับยี่สิบแปด
4) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง
24. เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 57 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้
ตามข้อใด
1)
5
3
x = 57
2)
5
3
x - 15 = 57
3)
5
3
x + 15 = 57
4)
5
3
x + 57 = 15
25. เมื่อกาหนดให้ x เป็นอายุปัจจุบันของกานดา ข้อใดเป็นประโยคสัญลักษณ์แทนข้อความ
“อีก 10 ปี กานดาจะมีอายุ 47 ปี”
1) x – 10 = 47
2) x - 10 = 57
3) x + 10 = 47
4) x + 10 = 57
26. “จานวนคี่สามจานวนเรียงกันมีผลรวมเป็น 141” จานวนที่มากที่สุดตรงกับข้อใด
1) 45
2) 47
3) 49
4) 51
11
27. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีเส้นรอบรูปยาว 1.8 เมตร จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร
1) 0.2025 ตารางเซนติเมตร
2) 90 ตารางเซนติเมตร
3) 360 ตารางเซนติเมตร
4) 2,025 ตารางเซนติเมตร
28. ปอนด์มีอายุมากกว่าแปูง 4 ปี อีก 3 ปีข้างหน้าอายุของปอนด์และแปูงจะรวมกันได้ 30 ปี
พอดี ปัจจุบันปอนด์และแปูงมีอายุคนละกี่ปีตามลาดับ
1) 14 ปี และ 10 ปี
2) 15 ปี และ 11 ปี
3) 16 ปี และ 12 ปี
4) 18 ปี และ 14 ปี
29. อรวรรณมีเหรียญสิบบาทและเหรียญห้าบาทรวมกันอยู่ 20 เหรียญ คิดเป็นเงินทั้งสิ้น
135 บาท อรวรรณมีเหรียญสิบบาททั้งหมดกี่เหรียญ
1) 18 เหรียญ
2) 15 เหรียญ
3) 13 เหรียญ
4) 7 เหรียญ
30. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ามีความยาวของแต่ละด้านเท่ากับความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ถ้าผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 91 นิ้ว
แล้วรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เท่ากับเท่าใด
1) 121 ตารางนิ้ว
2) 144 ตารางนิ้ว
3) 169 ตารางนิ้ว
4) 196 ตารางนิ้ว
12
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับก่อนเรียน
และการตรวจให้คะแนน
ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1 2 11 2 21 3
2 2 12 1 22 2
3 4 13 1 23 3
4 1 14 1 24 2
5 4 15 3 25 3
6 3 16 4 26 3
7 3 17 3 27 4
8 3 18 2 28 1
9 4 19 1 29 4
10 1 20 2 30 3
13
1.2 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ฉบับหลังเรียน
14
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน
คาชี้แจง
1. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีทั้งหมด 30 ข้อ (ข้อละ 1 คะแนน)
ใช้เวลา 60 นาที
2. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน
3. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน
กระดาษคาตอบ
4. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
5. หากมีปัญหาใดๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ
6. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
15
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน
และการตรวจให้คะแนน
ใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 1-4
ครูให้นักเรียนบอกจานวนที่ชอบมาสองจานวน โดยจานวนจานวนแรกเป็นจานวนที่น้อยกว่า
และจานวนจานวนที่สองเป็นจานวนที่มากกว่า จากนั้นครูจึงนาข้อมูลมาเรียงได้ดังตารางต่อไปนี้
จานวนน้อย 1 2 3 4 5 … 15 … n
จานวนมาก 6 7 8 9 10
1. ถ้าจานวนน้อยคือ n จานวนมากจะตรงกับข้อใด
1) n+2
2) n+3
3) n+4
4) n+5
2. จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ ถ้าผลบวกของจานวนน้อยกับจานวนมากเท่ากับ 65 จานวน
มากเป็นเท่าใด
1) 25
2) 30
3) 35
4) 40
3. สมการในข้อใดที่มีจานวนทุกจานวนเป็นคาตอบ
1) y + 3 = -5
2) x 2
= 36
3) 2x + x = 3x
4) m + 6 = m
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1) 2.64 เป็นคาตอบของสมการ x + 0.64 = 2
2) -5 เป็นคาตอบของสมการ 5 – (-x) = 10
3) 3 เป็นคาตอบของสมการ 5x – 9 = 6
4) 5 เป็นคาตอบของสมการ 3
5
y
5
2

16
ใช้ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้อ 5-8
พิจารณาความสัมพันธ์ของจานวนในตาราง
ลาดับที่ 1 2 3 4 5 … 44 … n
จานวน -2 -1 0 1 2
5. จานวนในลาดับที่ 125 คือจานวนใด
1) 120
2) 122
3) 124
4) 126
6. จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด
1) n-2
2) n-3
3) n-4
4) n-5
7. 75 เป็นจานวนอยู่ในลาดับที่เท่าไร
1) 72
2) 76
3) 77
4) 78
8. จากแบบรูป 7, 10, 13, 16, 19,… จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด
1) 3n + 4
2) 2n + 5
3) 2n + 6
4) 3n + 7
9. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1) ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนจริงใด ๆ
2) ถ้า a = b แล้ว c – a = b – c เมื่อ a, b และ c แทนจานวนจริงใด ๆ
3) ถ้า x = y และ y = z แล้ว x = z เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใด ๆ
4) ถ้า x = y แล้ว
z
y
z
x
 เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใด ๆ ที่ z ≠ 0
17
10. การแก้สมการในข้อใดใช้สมบัติของการเท่ากันของการบวก
1) ถ้า x + 2 = 5 แล้ว x = 3
2) ถ้า 3(x + 1) = 3 แล้ว x + 1 = 1
3) ถ้า
15
9
x
5
3
 แล้ว x = 1
4) ถ้า 5x = y - 1 แล้ว y - 1 = 5x
11. ถ้าให้ x = 4 สมการในข้อใดเป็นจริง
1) 8x – 23 = 19
2) 35 + 2x = 47
3) 5x – 6 = x + 14
4) 4x + 3x = 2x + 20
12. ถ้า x+2 = 6 แล้ว x 2
มีค่าเท่าไร
1) 4
2) 8
3) 16
4) 25
13. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากับคาตอบของสมการ 3x – 1 = 8
1) 5 - x = 8
2) 4
3
5
x 
3) 3(x + 1) = 12
4) 1x
3
4
3 
14. ถ้า 3x = y - 2 และ y - 2 = 18 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใด
1) 54
2) 18
3) 9
4) 6
18
15. การหาคาตอบของสมการ 10
2
5x


ต้องดาเนินขั้นตอนตามข้อใด
1) นา 2 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ
2) นา
2
1
มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ
3) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 ทั้งสองข้างของสมการ
4) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย
2
1
ทั้งสองข้างของสมการ
16. คาตอบของสมการในข้อใดมีค่าน้อยที่สุด
1) 3x - 4 = 5(x - 2)
2) 3x + 15 = 27
3)
x3
20
9
6

4) 8x - 5 = 35
17. ถ้า 3(x + 1) + 1 = 10 แล้ว 2x มีค่าเท่าใด
1) 4
2) 6
3) 8
4) 12
18. ถ้า 11x = y, y + 13 = z และ z - 21 = 14 แล้วค่าของ x + y + z ตรงกับข้อใด
1) 49
2) 59
3) 69
4) 79
19. ถ้า 14 + 6a = 8a แล้ว 3a + 2 มีค่าเท่าใด
1) 21
2) 22
3) 23
4) 24
19
20. ถ้า 51
2
x
 และ
2
5
2
1
y  แล้วค่าของ x - y ตรงกับข้อใด
1) 8
2) 10
3) 12
4) 14
21. ข้อความในข้อใดเมื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปประโยคทางคณิตศาสตร์แล้วเป็นสมการ
1) ผลบวกของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับสามเท่าของจานวนนั้น
2) ผลต่างของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับห้า
3) ผลคูณของสี่กับเจ็ดเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับยี่สิบแปด
4) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง
22. เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 57 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้
ตามข้อใด
1)
5
3
x = 57
2)
5
3
x - 15 = 57
3)
5
3
x + 15 = 57
4)
5
3
x + 57 = 15
23. ถ้าให้ x - 3 = 6a แล้ว 2x มีค่าเท่าใด
1) 6a + 3
2) 12a
3) 12a + 6
4) 12a + 3
24. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากัน
1) 3x – 15 = 31 และ x + 7 = 20
2) 4x + 14 = 58 และ 3x + 17 = 50
3) 7x – 16 = 19 และ 5x - 44 = 1
4) 3x + 9 = 60 และ 8x + 12 = 100
20
25. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีเส้นรอบรูปยาว 1.8 เมตร จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร
1) 0.2025 ตารางเซนติเมตร
2) 90 ตารางเซนติเมตร
3) 360 ตารางเซนติเมตร
4) 2,025 ตารางเซนติเมตร
26. ปอนด์มีอายุมากกว่าแปูง 4 ปี อีก 3 ปีข้างหน้าอายุของปอนด์และแปูงจะรวมกันได้
30 ปีพอดี ปัจจุบันปอนด์และแปูงมีอายุคนละกี่ปีตามลาดับ
1) 14 ปี และ 10 ปี
2) 15 ปี และ 11 ปี
3) 16 ปี และ 12 ปี
4) 18 ปี และ 14 ปี
27. เมื่อกาหนดให้ x เป็นอายุปัจจุบันของกานดา ข้อใดเป็นประโยคสัญลักษณ์แทนข้อความ
“อีก 10 ปี กานดาจะมีอายุ 47 ปี”
1) x – 10 = 47
2) x - 10 = 57
3) x + 10 = 47
4) x + 10 = 57
28. “จานวนคี่สามจานวนเรียงกันมีผลรวมเป็น 141” จานวนที่มากที่สุดตรงกับข้อใด
1) 45
2) 47
3) 49
4) 51
29. อรวรรณมีเหรียญสิบบาทและเหรียญห้าบาทรวมกันอยู่ 20 เหรียญ คิดเป็นเงินทั้งสิ้น
135 บาท อรวรรณมีเหรียญสิบบาททั้งหมดกี่เหรียญ
1) 18 เหรียญ
2) 15 เหรียญ
3) 13 เหรียญ
4) 7 เหรียญ
21
30. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ามีความยาวของแต่ละด้านเท่ากับความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ถ้าผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 91 นิ้ว
แล้วรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เท่ากับเท่าใด
1) 121 ตารางนิ้ว
2) 144 ตารางนิ้ว
3) 169 ตารางนิ้ว
4) 196 ตารางนิ้ว
22
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน
และการตรวจให้คะแนน
ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1 4 11 4 21 3
2 3 12 1 22 2
3 3 13 3 23 3
4 3 14 4 24 2
5 2 15 1 25 4
6 2 16 1 26 1
7 4 17 1 27 3
8 1 18 2 28 3
9 2 19 3 29 3
10 1 20 2 30 4
หมายเหตุ
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว(ฉบับหลังเรียน)
ใช้ข้อคาถามเดียวกับฉบับก่อนเรียน แต่มีการสลับข้อ
23
2. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
24
2.1 แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ระบบจานวนเต็ม
ฉบับก่อนเรียน
25
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ระบบจานวนเต็ม
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ฉบับนี้ผู้สอนสร้างขึ้น
โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ
1. ความคิดคล่อง
2. ความคิดยืดหยุ่น
3. ความคิดริเริ่ม
4. ความคิดละเอียดลออ
2. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ฉบับนี้ เป็นแบบทดสอบที่เน้นให้นักเรียนเขียน
คาตอบได้อย่างอิสระเท่าที่นักเรียนสามารถจะตอบได้
3 เวลาในการทาแบบทดสอบจานวน 5 ข้อ (ข้อละ 12 คะแนน) ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
4. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน
5. ถ้ากระดาษคาตอบไม่พอให้นักเรียนขอเพิ่มเติมได้อีก
6. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
7. หากมีปัญหาใด ๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ
8. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
26
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
ข้อที่ 1 จากจานวนเต็มที่กาหนดให้ต่อไปนี้
2 3 5 9
10 15 18 25 32 40 49 80
145 200 244 450 690 726 777 900
1533 2345 4500 4768 5900 7896 8888 9221
การดาเนินการ + -  
ให้นักเรียนใช้จานวนเต็ม และการดาเนินการที่กาหนด เพื่อให้ได้คาตอบเป็น 500
โดยมีเงื่อนไขดังนี้
1) ในแต่ละคาตอบสามารถใช้จานวนเต็มจานวนนั้นๆได้เพียงครั้งเดียว
2) ถ้าได้คาตอบเป็น 500 พอดี ได้คะแนน 50 คะแนน
3) ถ้าได้คาตอบต่างจาก 500 อยู่ไม่เกิน 25 ได้คะแนน 20 คะแนน
4) ถ้าได้คาตอบต่างจาก 500 อยู่ไม่เกิน 50 ได้คะแนน 10 คะแนน
5) นักเรียนที่ผ่านข้อนี้ต้องได้คะแนนรวม 300 คะแนนขึ้นไป
ตัวอย่างที่ 1
90278968888 
4512902 
 49451 500
ตัวอย่างที่ 2
4002200 
545145400 
40545 505
ตัวอย่างที่ 3
244777 533
ได้ 50 คะแนน
ได้ 20 คะแนน
ได้ 10 คะแนน
27
ตอบ
วิธีคิดและคาตอบ คะแนนที่ได้
รวม
28
เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 1
1. ด้านความคิดคล่อง
เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ
ที่ยังไม่สมบูรณ์
หรือยังไม่สามารถ
นาไปใช้งานได้
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 1 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถาม (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของ
แต่ละสถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 2 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถามเป็นอย่างดี
(หรือจานวนตาม
เหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
หลายคาตอบหรือได้
ความสัมพันธ์ใหม่ของ
คาตอบ (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ
ที่ยังไม่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน หรือ
ไม่สามารถคิดหาคาตอบ
ได้เลย หรือได้คะแนน
รวม 0-50 คะแนน
ได้คะแนนรวม
60-150 คะแนน
ได้คะแนนรวม
160-250 คะแนน
ได้คะแนนรวม
260-300 คะแนน
29
2. ด้านความคิดยืดหยุ่น
เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถหา
วิธีคิดตาม
สถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย
หรือวิธีคิดที่หา
มายังไม่ถูกต้อง
ไม่สามารถใช้ได้
จริง หรือไม่
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม
ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลองความคิด
หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด
ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี
เช่น ใช้วิธีการนับต่อ
ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต
การแทนค่า การเขียน
แบบจาลองความคิด หรือ
วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ
จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้
2 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยใช้วิธี
หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลอง
ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม
แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ
เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถคิด
หาคาตอบ
ที่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน
ได้เลย
คิดหาคาตอบ
ที่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน
โดยมีรูปแบบใน
การคิด 1
รูปแบบ เช่น
หาวิธีคานวณให้ได้
คาตอบที่อยู่ใน
เกณฑ์ที่จะได้
คะแนน แล้วจึง
เปลี่ยนจานวน
เพียงหนึ่งจานวนใน
ชุดจานวนนั้นโดย
ใช้การดาเนินการ
ชุดเดิมให้ได้คาตอบ
ใหม่ซึ่งยังคงอยู่
ในช่วงที่จะได้
คะแนน
คิดหาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่
จะได้คะแนน โดยมีรูปแบบใน
การคิด 2 รูปแบบ เช่น
รูปแบบที่ 1 หาวิธีคานวณให้
ได้คาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้
คะแนน แล้วจึงเปลี่ยนจานวน
เพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวน
นั้นโดยใช้การดาเนินการ
ชุดเดิมให้ได้คาตอบใหม่
ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้
คะแนน รูปแบบที่ 2 หาวิธี
คานวณให้ได้คาตอบที่อยู่ใน
เกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึง
เพิ่มจานวนบางจานวนโดยใช้
การบวกหรือลบเพื่อให้ได้
คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วง
ที่จะได้คะแนน
คิดหาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน
โดยมีรูปแบบในการคิดหลากหลายรูปแบบ
คือ ตั้งแต่ 3 รูปแบบขึ้นไป เช่น
รูปแบบที่ 1 หาวิธีคานวณให้ได้คาตอบที่
อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึงเปลี่ยน
จานวนเพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวนนั้น
โดยใช้การดาเนินการชุดเดิมให้ได้คาตอบ
ใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน
รูปแบบที่ 2 หาวิธีคานวณให้ได้คาตอบ
ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึงเพิ่ม
จานวนบางจานวนโดยใช้การบวกหรือลบ
เพื่อให้ได้คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะ
ได้คะแนน รูปแบบที่ 3 หาวิธีคานวณให้
ได้คาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน
แล้วจึงเปลี่ยนการดาเนินการย่อยในชุด
ของการดาเนินซึ่งยังคงได้คาตอบเท่าเดิม
หรือแต่ละคาตอบใช้รูปแบบที่แตกต่างกัน
ทั้งหมด
30
หมายเหตุ ตัวอย่างการคิด เช่น
รูปแบบที่ 1
200777 577
244777 533
รูปแบบที่ 2
   20021015 500
   320021015 503
รูปแบบที่ 3
   

5004010
10
52 

   

5004010
10
1015 

เปลี่ยนจานวนเพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวนนั้นโดยใช้การดาเนินการชุด
เดิมให้ได้คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน
เพิ่มจานวนบางจานวนโดยใช้การบวกหรือลบเพื่อให้ได้
คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน
เปลี่ยนการดาเนินการย่อยในชุดของการดาเนินซึ่งยังคงได้
คาตอบเท่าเดิม
31
3. ด้านความคิดริเริ่ม
เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี
หาคาตอบที่แตกต่าง
จากวิธีคิดทั่วไปตาม
สถานการณ์ที่กาหนด
ให้ได้ หรือมีร่องรอย
ในการหาวิธีคิดที่
แตกต่างจากวิธีคิดทั่วไป
แต่ไม่สามารถใช้หา
คาตอบได้
คิดวิธีที่จะนาไปหา
คาตอบในสถานการณ์
ที่กาหนดได้ แต่เป็นวิธี
ที่ค่อนข้างธรรมดา คือ
มีนักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป
คิดวิธีหาคาตอบได้ ซึ่ง
เป็นวิธีที่น่าสนใจ และ
เลือกใช้หลักการทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
โดยอาจซ้ากับนักเรียน
คนอื่นบ้างเล็กน้อย คือ
10-19 % ของนักเรียน
ในห้อง
คิดวิธีหาคาตอบได้
ถูกต้อง โดยเลือกใช้
หลักการทาง
คณิตศาสตร์ได้อย่าง
เหมาะสม โดดเด่น
ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็น
วิธีที่ใช้ความรอบรู้ใน
การคิดและมีนักเรียน
เพียง 1-2 คนที่ใช้วิธีนี้
หรือน้อยกว่า 10%
ของนักเรียนในห้อง
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดหาคาตอบ
ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้
คะแนนได้เลย
คิดหาคาตอบที่อยู่ใน
เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้
แต่เป็นแนวคิด
ในการหาคาตอบที่
ค่อนข้างธรรมดา คือ
มีนักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 6% ขึ้นไป เช่น
นาจานวนสองจานวนมา
บวกกัน
คิดหาคาตอบที่อยู่ใน
เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้
ซึ่งไม่ค่อยมีคนนา
แนวคิดในการหา
คาตอบนั้นมาใช้ หรือ
ถ้ามีคนใช้ก็เป็นส่วน
น้อย คือ 3-5% ของ
นักเรียนในห้อง
คิดหาคาตอบที่อยู่ใน
เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้
โดดเด่น แปลกแตกต่าง
จากคนอื่นมาใช้ในการ
คิดหาคาตอบ ซึ่งเป็น
วิธีที่ใช้ ความรอบรู้
ในการคิดและมีนักเรียน
เพียง 1 หรือ 2 คนที่
ใช้วิธีนี้ หรือ 1-2%
ของนักเรียนในห้อง
32
4. ด้านความคิดละเอียดลออ
เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์
และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถแก้ปัญหา
จากสถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย หรือ
อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา
โดยใช้ความสัมพันธ์
แบบรูป กฎ หลักการ
หรือสมการไม่เหมาะสม
กับเงื่อนไขของแบบรูป
อธิบายวิธีคิดในการหา
กฎ หลักการของ
แบบรูป หรือสมการ
ในการแก้ปัญหาได้บ้าง
เล็กน้อย แต่ยังไม่
ชัดเจนในบางประเด็น
อธิบายวิธีคิด
ในการแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยใช้กฎ หลักการ
ของแบบรูป หรือ
สมการได้อย่างชัดเจน
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยกล่าวถึงวิธีคิด
ในการหาความสัมพันธ์
กฎหลักการของ แบบ
รูปได้อย่างชัดเจน
กระชับ ถ้วนถี่ และวิธี
นั้น ๆ ใช้การได้ดี
หรือสามารถอธิบายเป็น
กราฟ แบบจาลอง
ความคิด หรือสมการได้
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอน
ปรับเกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถคิดหาคาตอบ
ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้
คะแนนได้เลย
หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน
แต่คะแนนรวม
ยังไม่ผ่าน ซึ่งเกิดจาก
ระบบการคิด เช่น
หาคาตอบเฉพาะที่ได้
คะแนนสูงสุด คือ 50
คะแนน
หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน โดย
จัดระบบการคิดได้
ค่อนข้างเป็นระบบ
และใช้การดาเนินการ
ทางคณิตศาสตร์
ที่เหมาะสม
หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์
ที่จะได้คะแนน
โดยจัดระบบการคิด
ได้อย่างเป็นระบบ
แสดงถึง การวางแผน
ในการคิดอธิบายชัดเจน
กระชับ ถ้วนถี่ และ
ใช้การดาเนินการทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
33
ข้อที่ 2. นักเรียนได้รับมอบหมายให้ออกแบบกิจกรรมเส้นทางวิบาก ซึ่งเป็นกิจกรรมในค่ายคณิตศาสตร์
ของโรงเรียน ระยะทางทั้งหมดที่ใช้ในกิจกรรมเส้นทางวิบากนี้ต้องอยู่ระหว่าง 100 เมตร
และ 150 เมตร แต่ละกิจกรรมฐานย่อยจะอยู่ติดกัน กิจกรรมฐานย่อยที่คณะกรรมการ
จัดค่ายคณิตศาสตร์ประชุมพิจารณาในขั้นเบื้องต้นเพื่อบรรจุในกิจกรรมเส้นทางวิบาก แสดงเป็นตาราง
สรุปกิจกรรมฐานย่อยและระยะทางที่ใช้มีดังนี้
ตัวอย่าง
จุดเริ่มต้น
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ
จุดสิ้นสุด
รายการกิจกรรมฐานย่อยมีดังนี้
กิจกรรมฐานย่อย ระยะทางที่ใช้
1. กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง 8 เมตร
2. ปีนกาแพง 7 เมตร
3. กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม 12 เมตร
4. คลานลอดตาข่ายเชือก 23 เมตร
5. ไต่เชือก 31 เมตร
6. วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง 17 เมตร
7. วิ่งลุยโคลน 22 เมตร
8. ปีนล้อยางรถ 24 เมตร
9. ปาบอลเข้าห่วง 18 เมตร
10. เดินถอยหลัง 25 เมตร
ให้นักเรียนใช้กิจกรรมฐานย่อยในตารางเขียนเป็นกิจกรรมเส้นทางวิบากตามระยะทางที่
กาหนดพร้อมอธิบายแนวคิด ให้ได้หลายวิธีมากที่สุด (เส้นทางวิบากที่มีกิจกรรมฐานย่อยเหมือนกันแต่
สลับลาดับก่อนหลังของกิจกรรมจัดว่าเป็นเส้นทางวิบากเดียวกัน)
34
วิธีคิด
กิจกรรมฐานย่อยที่เลือกพร้อมอธิบายแนวคิด ระยะทางรวมที่ใช้
35
เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 2.
1. ด้านความคิดคล่อง
เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ
ที่ยังไม่สมบูรณ์
หรือยังไม่สามารถ
นาไปใช้งานได้
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 1 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถาม (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของ
แต่ละสถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 2 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถามเป็นอย่างดี
(หรือจานวนตาม
เหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
หลายคาตอบหรือได้
ความสัมพันธ์ใหม่ของ
คาตอบ (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง ได้เส้นทางวิบาก 1
เส้นทางที่ระยะทาง
ยังไม่อยู่ในช่วงที่กาหนด
หรือไม่สามารถ
จัดเส้นทางวิบากได้เลย
ได้เส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนด 1-2 เส้นทาง
ได้เส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนด 3-5 เส้นทาง
ได้เส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนดหลายเส้นทาง
คือ ตั้งแต่ 6 เส้นทาง
ขึ้นไป
36
2. ด้านความคิดยืดหยุ่น
เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถหา
วิธีคิดตาม
สถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย
หรือวิธีคิดที่หา
มายังไม่ถูกต้อง
ไม่สามารถใช้ได้
จริง หรือไม่
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม
ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลองความคิด
หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด
ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี
เช่น ใช้วิธีการนับต่อ
ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต
การแทนค่า การเขียน
แบบจาลองความคิด หรือ
วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ
จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้
2 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยใช้วิธี
หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลอง
ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม
แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ
เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถเขียน
เส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่
ในช่วงที่กาหนด
ได้เลย
เขียนเส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนดได้ โดยสามารถ
จัดเป็นระบบการคิดได้ 1
ระบบ เช่น คิดเส้นทาง
วิบากได้ 1 เส้นทางที่
ระยะทางพอดี 100
เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรม
ฐานย่อยอีกครั้งละ 1
ฐาน เพื่อใช้เป็นเส้นทาง
ใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน
150 เมตร
เขียนเส้นทางวิบากที่ระยะทาง
อยู่ในช่วงที่กาหนดได้ โดย
สามารถจัดเป็นระบบการคิด
ได้ 2 ระบบ เช่น ระบบ
ที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้
1 เส้นทางที่ระยะทางพอดี
100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรม
ฐานย่อยอีกครั้งละ 1 ฐาน
เพื่อใช้เป็นเส้นทางใหม่ที่
ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร
ระบบที่ 2 จับกลุ่มกิจกรรม
เป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวก
สับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้
ระยะทางรวมเป็น 100-150
เมตร
เขียนเส้นทางวิบากที่ระยะทางอยู่
ในช่วงที่กาหนดได้ โดยสามารถ
จัดเป็นระบบการคิดได้
หลากหลายระบบ คือ ตั้งแต่
3 ระบบขึ้นไป เช่น ระบบ
ที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้ 1
เส้นทางที่ระยะทางพอดี 100
เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรมฐานย่อย
อีก ครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็น
เส้นทางใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน
150 เมตร ระบบที่ 2 จับกลุ่ม
กิจกรรมเป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวก
สับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้
ระยะทางรวมเป็น 100-150
เมตร ระบบที่ 3 หาเส้นทาง
วิบากมาหนึ่งเส้นทางแล้วเปลี่ยน
กิจกรรมฐานย่อย 1 กิจกรรมให้
เป็นเส้นทางใหม่
37
หมายเหตุ ตัวอย่างระบบการคิด
ระบบที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้ 1 เส้นทางที่ระยะทางพอดี 100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรมฐานย่อย
อีกครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็นเส้นทางใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร เช่น
1) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก
หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน และปาบอลเข้าห่วง
ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 = 100 เมตร
2) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก
หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกำแพง
ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 +7 = 107 เมตร
3) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก
หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง ปีนกำแพง และไต่เชือก
ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 +7+31 = 138 เมตร
ระบบที่ 2 จับกลุ่มกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวกสับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้ระยะทางรวมเป็น
100-150 เมตร เช่น
กลุ่มย่อยที่ 1
คลานลอดตาข่ายเชือก และวิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง ระยะทางรวม 40 เมตร
กลุ่มย่อยที่ 2
วิ่งลุยโคลน และปาบอลเข้าห่วง ระยะทางรวม 40 เมตร
กลุ่มย่อยที่ 3
ปีนกาแพง และไต่เชือก ระยะทางรวม 38 เมตร
กลุ่มย่อยที่ 4
ปีนล้อยางรถ และกลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม ระยะทางรวม 36 เมตร
กลุ่มย่อยที่ 5
กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง และเดินถอยหลัง ระยะทางรวม 33 เมตร
จากนั้นเลือกกลุ่มย่อยมาครั้งละ 3 กลุ่มย่อยทาเป็นเส้นทางวิบาก
ระบบที่ 3 หาเส้นทางวิบากมาหนึ่งเส้นทางแล้วเปลี่ยนกิจกรรมฐานย่อย 1 กิจกรรม เช่น
1) คลานลอดตาข่ายเชือก กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซก
หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง
ระยะทางรวมเป็น 23 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 107 เมตร
2) เดินถอยหลัง กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง
วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง
ระยะทางรวมเป็น 25 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 109 เมตร
3) ไต่เชือก กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง
วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง
ระยะทางรวมเป็น 31 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 115 เมตร
38
3. ด้านความคิดริเริ่ม
เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี
หาคาตอบที่แตกต่าง
จากวิธีคิดทั่วไปตาม
สถานการณ์ที่กาหนด
ให้ได้ หรือมีร่องรอย
ในการหาวิธีคิดที่
แตกต่างจากวิธีคิดทั่วไป
แต่ไม่สามารถใช้หา
คาตอบได้
คิดวิธีที่จะนาไปหา
คาตอบในสถานการณ์
ที่กาหนดได้ แต่เป็นวิธี
ที่ค่อนข้างธรรมดา คือ
มีนักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป
คิดวิธีหาคาตอบได้ ซึ่ง
เป็นวิธีที่น่าสนใจ และ
เลือกใช้หลักการทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
โดยอาจซ้ากับนักเรียน
คนอื่นบ้างเล็กน้อย คือ
10-19 % ของนักเรียน
ในห้อง
คิดวิธีหาคาตอบได้
ถูกต้อง โดยเลือกใช้
หลักการทาง
คณิตศาสตร์ได้อย่าง
เหมาะสม โดดเด่น
ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็น
วิธีที่ใช้ความรอบรู้ใน
การคิดและมีนักเรียน
เพียง 1-2 คนที่ใช้วิธีนี้
หรือน้อยกว่า 10%
ของนักเรียนในห้อง
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถเขียนเส้นทาง
วิบากที่ระยะทางอยู่
ในช่วงที่กาหนดได้เลย
เขียนเส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วง
ที่กาหนดได้ แต่เป็น
แนวคิดในการเขียน
เส้นทางที่ค่อนข้าง
ธรรมดา คือ
มีนักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป
เขียนเส้นทางวิบากที่
ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนดได้ ซึ่งไม่ค่อยมี
คนนาแนวคิดใน
การเขียนเส้นทางวิบาก
นั้นมาใช้ หรือถ้ามีคน
ใช้ก็เป็นส่วนน้อย คือ
10-19 % ของนักเรียน
ในห้อง
เขียนเส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วง
ที่กาหนดได้โดดเด่น
แปลกแตกต่างจาก
คนอื่นมาใช้ใน
การเขียนเส้นทางวิบาก
ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้
ความรอบรู้ในการคิด
และมีนักเรียนเพียง
1-2 คน ที่ใช้วิธีนี้
หรือ 1-2% ของ
นักเรียนในห้อง
39
4. ด้านความคิดละเอียดลออ
เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์
และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถแก้ปัญหา
จากสถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย หรือ
อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา
โดยใช้ความสัมพันธ์
แบบรูป กฎ หลักการ
หรือสมการไม่เหมาะสม
กับเงื่อนไขของแบบรูป
อธิบายวิธีคิดในการหา
กฎ หลักการของ
แบบรูป หรือสมการ
ในการแก้ปัญหาได้บ้าง
เล็กน้อย แต่ยังไม่
ชัดเจนในบางประเด็น
อธิบายวิธีคิด
ในการแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยใช้กฎ หลักการ
ของแบบรูป หรือ
สมการได้อย่างชัดเจน
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยกล่าวถึงวิธีคิด
ในการหาความสัมพันธ์
กฎหลักการของ แบบ
รูปได้อย่างชัดเจน
กระชับ ถ้วนถี่ และวิธี
นั้น ๆ ใช้การได้ดี
หรือสามารถอธิบายเป็น
กราฟ แบบจาลอง
ความคิด หรือสมการได้
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถเขียนเส้นทาง
วิบากที่ระยะทางอยู่
ในช่วงที่กาหนดได้เลย
หรือเขียนเส้นทางวิบาก
ได้แต่ระยะทางไม่อยู่
ในช่วงที่กาหนด
อธิบายระบบแนวคิด
ในการเขียนเส้นทาง
วิบากที่ระยะทางอยู่
ในช่วงที่กาหนดได้บาง
ระบบแนวคิด และยัง
ไม่ชัดเจนในบางประเด็น
หรือเขียนเส้นทางวิบาก
อย่างไม่เป็นระบบ
อธิบายระบบแนวคิดใน
การเขียนเส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่
กาหนดได้อย่างชัดเจน
โดยใช้เนื้อหา และ
แนวคิดทางคณิตศาสตร์
ที่เหมาะสม
อธิบายระบบแนวคิดใน
การเขียนเส้นทางวิบาก
ที่ระยะทางอยู่ในช่วง
ที่กาหนดได้อย่างชัดเจน
กระชับ ถ้วนถี่ หรือ
สามารถอธิบายเป็น
กราฟ แบบจาลอง
ความคิด หรือสมการได้
โดยใช้เนื้อหาและ
แนวคิดทางคณิตศาสตร์
ที่เหมาะสม
40
ข้อที่ 3. ให้นักเรียนหาจานวนมาเติมลงในตาราง แล้วทาให้ผลลัพธ์ในแนวตั้ง แนวนอน และ
แนวทแยงมุมมีค่าเท่ากันมาให้ได้หลายรูปแบบมากที่สุด พร้อมทั้งอธิบายแนวคิด
ตัวอย่าง
หมายเหตุ ตารางที่สลับแถวกับคอลัมน์ ตารางที่สลับแถวบนสุดกับแถวล่างสุด และตารางที่สลับซ้าย
กับขวาจัดเป็นตารางรูปแบบเดียวกัน
ตอบ
รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3
รูปแบบที่ 4 รูปแบบที่ 5 รูปแบบที่ 6
รูปแบบที่ 7 รูปแบบที่ 8 รูปแบบที่ 9
อธิบายแนวคิด
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
9 1 6
5 6 7
4 11 13
41
เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 3.
1. ด้านความคิดคล่อง
เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ
ที่ยังไม่สมบูรณ์
หรือยังไม่สามารถ
นาไปใช้งานได้
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 1 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถาม (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของ
แต่ละสถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
อย่างน้อย 2 คาตอบ
หรือได้ความสัมพันธ์
ของคาถามเป็นอย่างดี
(หรือจานวนตาม
เหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
ได้คาตอบที่เหมาะสม
หลายคาตอบหรือได้
ความสัมพันธ์ใหม่ของ
คาตอบ (หรือจานวน
ตามเหมาะสมของแต่ละ
สถานการณ์)
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดคล่อง สร้างตารางได้ 1
รูปแบบที่ยังไม่สมบูรณ์
เช่น เมื่อคานวณ
ผลรวมมีบางแถว
ที่ไม่เท่ากับแถวอื่น
หรือไม่สามารถสร้าง
ตารางได้
สร้างตารางได้ถูกต้อง
1-3 รูปแบบ
สร้างตารางได้ถูกต้อง
4-6 รูปแบบ
สร้างตาราง
ได้หลายรูปแบบ คือ
ตั้งแต่ 7 รูปแบบขึ้นไป
42
2. ด้านความคิดยืดหยุ่น
เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถหา
วิธีคิดตาม
สถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย
หรือวิธีคิดที่หา
มายังไม่ถูกต้อง
ไม่สามารถใช้ได้
จริง หรือไม่
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม
ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลองความคิด
หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด
ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี
เช่น ใช้วิธีการนับต่อ
ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต
การแทนค่า การเขียน
แบบจาลองความคิด หรือ
วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ
จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้
2 กลุ่มแนวคิด
หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่
กาหนดได้ โดยใช้วิธี
หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ
นับต่อ ตาราง การวาดผัง
การพิจารณาจากกราฟ
สมการพีชคณิต การแทนค่า
การเขียนแบบจาลอง
ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น
ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม
แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ
เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ยืดหยุ่น
ไม่สามารถ
สร้างตาราง
ได้เลย
สร้างตารางได้ถูกต้อง
ซึ่งทุกตารางใช้
แนวคิดเดียวกัน เช่น
การลองผิดลองถูก
หาวิธีคานวณให้ได้
ตารางมา 1 รูปแบบ
แล้วจึงนาค่าคงที่
ตัวหนึ่งมาคูณ
หรือหารจานวน
ทุกจานวน
ในตารางนั้น
สร้างตารางได้ถูกต้อง
โดยมีแนวคิดในการสร้างตาราง
2 แนวคิด เช่น การลองผิด
ลองถูกหาวิธีคานวณให้ได้
ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึง
นาค่าคงที่ตัวหนึ่งมาคูณหรือ
หารจานวนทุกจานวนในตาราง
นั้น แนวคิดในการกาหนด
ผลรวมแล้วแจกแจงจานวน
ในตาราง แนวคิด
การให้ทุกจานวนในตาราง
มีค่าเท่ากัน
สร้างตารางได้ถูกต้องโดยมีแนวคิด
ในการสร้างตารางหลากหลายแนวคิด
คือ ตั้งแต่ 3 แนวคิดขึ้นไป เช่น
การลองผิดลองถูกหาวิธีคานวณให้ได้
ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึงนา
ค่าคงที่ตัวหนึ่งมาคูณหรือหาร
จานวนทุกจานวนในตารางนั้น
แนวคิดในการหาวิธีการคานวณให้ได้
ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึงนา
ค่าคงที่ตัวหนึ่งมาบวกหรือลบจานวน
ทุกจานวนในตารางนั้น แนวคิด
ในการกาหนดผลรวมแล้วแจกแจง
จานวนในตาราง การใช้ทศนิยมหรือ
เศษส่วน แนวคิดการให้ทุกจานวน
ในตารางมีค่าเท่ากัน
43
3. ด้านความคิดริเริ่ม
เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์
สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์
ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี
หาคาตอบที่
แตกต่างจากวิธีคิด
ทั่วไปตาม
สถานการณ์ที่
กาหนด ให้ได้
หรือมีร่องรอย ใน
การหาวิธีคิดที่
แตกต่างจากวิธีคิด
ทั่วไป แต่ไม่
สามารถใช้หา
คาตอบได้
คิดวิธีที่จะนาไปหา
คาตอบใน
สถานการณ์ ที่
กาหนดได้ แต่เป็น
วิธีที่ค่อนข้าง
ธรรมดา คือ มี
นักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 20 % ขึ้น
ไป
คิดวิธีหาคาตอบได้
ซึ่งเป็นวิธีที่น่าสนใจ
และเลือกใช้
หลักการทาง
คณิตศาสตร์ที่
เหมาะสม โดยอาจ
ซ้ากับนักเรียนคน
อื่นบ้างเล็กน้อย
คือ 10-19 %
ของนักเรียน ใน
ห้อง
คิดวิธีหาคาตอบได้ถูกต้อง โดยเลือกใช้
หลักการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
โดดเด่น ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็นวิธีที่
ใช้ความรอบรู้ในการคิดและมีนักเรียนเพียง
1-2 คนที่ใช้วิธีนี้ หรือน้อยกว่า 10% ของ
นักเรียนในห้อง
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิดริเริ่ม สร้างตารางได้
แตกต่างจากวิธีทั่วไป
แต่มีบางแถว
มีผลรวมไม่เท่ากับ
แถวอื่น
สร้างตารางได้
แต่แนวคิดค่อน
ข้างธรรมดา คือ
มีนักเรียนในห้องใช้
ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป
เช่น การลองผิด
ลองถูก
สร้างตารางได้
ซึ่งไม่ค่อยมีคนนา
แนวคิดนั้นมาใช้หรือ
ถ้ามีคนใช้ก็เป็น
ส่วนน้อย คือ
10-19 % ของนักเรียน
ในห้อง เช่น การใช้
ทศนิยมหรือเศษส่วน
การให้ทุกจานวน
ในตารางมีค่าเท่ากัน
หาตารางได้โดยใช้แนวคิด
ที่โดดเด่น แปลกแตกต่าง
จากคนอื่น ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้
ความรอบรู้ในการคิดและ
มีนักเรียนเพียง 1 หรือ 2
คนที่ใช้วิธีนี้ หรือ น้อยกว่า
10 % ของนักเรียนในห้อง
เช่น การกาหนดผลรวมแล้ว
แจกแจงจานวนในตาราง
การใช้จานวนเต็มและ
เศษส่วน การใช้เลขฐานสอง
การใช้เลขยกกาลัง
การให้ทุกจานวนในตาราง
มีค่าเท่ากัน
44
4. ด้านความคิดละเอียดลออ
เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์
และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถแก้ปัญหา
จากสถานการณ์
ที่กาหนดได้เลย หรือ
อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา
โดยใช้ความสัมพันธ์
แบบรูป กฎ หลักการ
หรือสมการไม่เหมาะสม
กับเงื่อนไขของแบบรูป
อธิบายวิธีคิดในการหา
กฎ หลักการของ
แบบรูป หรือสมการ
ในการแก้ปัญหาได้บ้าง
เล็กน้อย แต่ยังไม่
ชัดเจนในบางประเด็น
อธิบายวิธีคิด
ในการแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยใช้กฎ หลักการ
ของแบบรูป หรือ
สมการได้อย่างชัดเจน
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ที่กาหนด
โดยกล่าวถึงวิธีคิด
ในการหาความสัมพันธ์
กฎหลักการของ
แบบรูปได้อย่างชัดเจน
กระชับ ถ้วนถี่ และ
วิธีนั้น ๆ ใช้การได้ดี
หรือสามารถอธิบายเป็น
กราฟ แบบจาลอง
ความคิด หรือสมการได้
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ
เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน
0 1 2 3
ความคิด
ละเอียดลออ
ไม่สามารถสร้างตาราง
ได้เลย หรือตารางที่ได้
ไม่ถูกต้อง หรือ
การอธิบายแนวคิดมี
ความสับสน
อธิบายแนวคิดใน
การสร้างตารางได้
บางตาราง และยังไม่
ชัดเจนในบางประเด็น
อธิบายแนวคิดใน
การสร้างตารางได้
อย่างชัดเจน
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
อธิบายแนวคิดใน
การสร้างตารางได้อย่าง
ชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่
และแนวคิดที่ใช้เป็น
แนวคิดที่ใช้การได้ดี
หรือสามารถอธิบายเป็น
แบบจาลองความคิด
แผนผัง หรือสมการได้
โดยใช้เนื้อหาทาง
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
45
ข้อที่ 4. ในการเปิดภาคเรียนวันแรกคุณแม่ให้เงินพิเศษนักเรียนมา 100 บาท สาหรับซื้ออุปกรณ์
การเรียนและสิ่งของที่นักเรียนต้องการ ซึ่งในสหกรณ์ร้านค้ามีสินค้าดังต่อไปนี้
ให้นักเรียนวางแผนและคานวณราคาสิ่งของที่นักเรียนต้องการซื้อมาให้ได้หลากหลายวิธีมาก
ที่สุดพร้อมอธิบายแนวคิด
ดินสอ 5 บาท
ปากกา 10 บาท
แผ่นซีดี 15 บาทชุดรวมเครื่องเขียน 30 บาท
สีน้า 42 บาท กระดาษโน้ต 8 บาทสีไม้ 20 บาท
หนังสืออ่านนอกเวลา 75 บาท
สมุดปกแข็ง 22 บาท
สมุดปกอ่อนชุดละ 25 บาท
แฟูมใส่เอกสาร 14 บาทแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ 36 บาท แบบฝึกหัดภาษาไทย 85 บาท
เกมคณิตศาสตร์ 95 บาท เกมภาษาอังกฤษ 90 บาท สมุดไดอะรี่ 60 บาท
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sawed kodnara
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
Looktan Kp
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โสภาพรรณ ชื่นทองคำ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
SAM RANGSAM
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 

Viewers also liked

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
จตุรพล ชานันโท
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Jirathorn Buenglee
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Jintana Kujapan
 
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21wannisa2529
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
niralai
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
Padvee Academy
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
Wichai Likitponrak
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
ศุภกร หาญกุล
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 

Viewers also liked (14)

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21
สังคมและวัฒนธรรมแห่งทศตวรรษที่ 21
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 

Similar to รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม

ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
SudtaweeThepsuponkul
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
rattapoomKruawang2
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
kwang1234
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556ครู กรุณา
 
Onet57 04
Onet57 04Onet57 04
Pat1 55-03+key
Pat1 55-03+keyPat1 55-03+key
Pat1 55-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
9GATPAT1
 
Pat1 58-10+key
Pat1 58-10+keyPat1 58-10+key
Pat1 58-10+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat15703
Pat15703Pat15703
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Kasemsan Saensin
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
Sutthi Kunwatananon
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
benjalakpitayaschool
 

Similar to รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม (20)

ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
 
Pre 7-วิชา 2
Pre  7-วิชา 2Pre  7-วิชา 2
Pre 7-วิชา 2
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2556
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
Onet57 04
Onet57 04Onet57 04
Onet57 04
 
ม.3
ม.3ม.3
ม.3
 
Pat1 55-03+key
Pat1 55-03+keyPat1 55-03+key
Pat1 55-03+key
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Pat1 58-10+key
Pat1 58-10+keyPat1 58-10+key
Pat1 58-10+key
 
008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)
 
Pat15703
Pat15703Pat15703
Pat15703
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
Jirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
Jirathorn Buenglee
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม

  • 2. 2 วิเคราะห์จานวนชั่วโมงกับความสอดคล้องของจานวนข้อสอบในแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื้อหา จานวนคาบ ที่สอน จานวนข้อสอบที่ ใช้ทดลอง จานวนข้อสอบ ใช้จริง 1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัว แปรเดียว 3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว 4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียว 3 2 5 4 9 6 18 12 6 4 12 8 รวม 14 45 30 วิเคราะห์พฤติกรรมที่ต้องการในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื้อหา ระดับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ความรู้ ความจา เข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ รวม 1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 2. คาตอบของสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียว 3. การแก้สมการเชิงเส้น ตัว แปรเดียว 4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - - 1 - - 3 2 3 2 1 7 1 4 - 2 4 6 4 12 8 รวม 1 8 11 10 30
  • 3. 3 วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่ต้องการวัด และพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระดับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย จานวนข้อ จาแนกตาม ความรู้ ความ จา ความ เข้าใจ การ นาไปใช้ การ วิเคราะห์ 1.แบบรูปและ ความสัมพันธ์ นักเรียนสามารถ : 1. หาแบบรูปในลาดับต่อไปได้ 2. เขียนความสัมพันธ์จาก แบบรูปที่กาหนดให้โดยใช้ ตัวแปรได้ 2 (1, 3) 1 (6) 3 (2, 4, 5) 2. คาตอบของ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3. หาคาตอบของสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวโดยวิธีลองแทน ค่าตัวแปรได้ 3 (7, 8, 9) 1 (10) 3. การแก้ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 4. บอกสมบัติของการเท่ากันได้ 5. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวอย่างง่ายโดยใช้สมบัติการ เท่ากันได้ 1 (11) 1 (12) 1 (13) 7 (14, 15, 16, 17, 18, 19, 22) 2 (20, 21) 4. โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการ เชิงเส้นตัวแปร เดียว 6. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวจากโจทย์สมการที่กาหนด 7. หาคาตอบของสมการจาก โจทย์สมการได้ 3 (23, 24, 25) 1 (27) 4 (26, 28, 29, 30) รวม 1 8 11 10
  • 5. 5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับก่อนเรียน คาชี้แจง 1. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีทั้งหมด 30 ข้อ (ข้อละ 1 คะแนน) ใช้เวลา 60 นาที 2. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน 3. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน กระดาษคาตอบ 4. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ 5. หากมีปัญหาใด ๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ 6. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
  • 6. 6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับก่อนเรียน และการตรวจให้คะแนน ใช้ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้อ 1-3 พิจารณาความสัมพันธ์ของจานวนในตาราง ลาดับที่ 1 2 3 4 5 … 44 … n จานวน -2 -1 0 1 2 1. จานวนในลาดับที่ 125 คือจานวนใด 1) 120 2) 122 3) 124 4) 126 2. จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด 1) n-2 2) n-3 3) n-4 4) n-5 3. 75 เป็นจานวนอยู่ในลาดับที่เท่าไร 1) 72 2) 76 3) 77 4) 78 4. จากแบบรูป 7, 10, 13, 16, 19,… จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด 1) 3n + 4 2) 2n + 5 3) 2n + 6 4) 3n + 7 ใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 5-8 ครูให้นักเรียนบอกจานวนที่ชอบมาสองจานวน โดยจานวนจานวนแรกเป็นจานวนที่น้อยกว่า และจานวนจานวนที่สองเป็นจานวนที่มากกว่า จากนั้นครูจึงนาข้อมูลมาเรียงได้ดังตารางต่อไปนี้ จานวนน้อย 1 2 3 4 5 … 15 … n จานวนมาก 6 7 8 9 10
  • 7. 7 5. ถ้าจานวนน้อยคือ n จานวนมากจะตรงกับข้อใด 1) n+2 2) n+3 3) n+4 4) n+5 6. จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ ถ้าผลบวกของจานวนน้อยกับจานวนมากเท่ากับ 65 จานวน มากเป็นเท่าใด 1) 25 2) 30 3) 35 4) 40 7. สมการในข้อใดที่มีจานวนทุกจานวนเป็นคาตอบ 1) y + 3 = -5 2) x 2 = 36 3) 2x + x = 3x 4) m + 6 = m 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง 1) 2.64 เป็นคาตอบของสมการ x + 0.64 = 2 2) -5 เป็นคาตอบของสมการ 5 – (-x) = 10 3) 3 เป็นคาตอบของสมการ 5x – 9 = 6 4) 5 เป็นคาตอบของสมการ 3 5 y 5 2  9. ถ้าให้ x = 4 สมการในข้อใดเป็นจริง 1) 8x – 23 = 19 2) 35 + 2x = 47 3) 5x – 6 = x + 14 4) 4x + 3x = 2x + 20 10. ถ้า x+2 = 6 แล้ว x 2 มีค่าเท่าไร 1) 4 2) 8 3) 16 4) 25
  • 8. 8 11. ข้อใดต่อไปนี้ผิด 1) ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนจริงใดๆ 2) ถ้า a = b แล้ว c – a = b – c เมื่อ a, b และ c แทนจานวนจริงใดๆ 3) ถ้า x = y และ y = z แล้ว x = z เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใดๆ 4) ถ้า x = y แล้ว z y z x  เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใดๆ ที่ z ≠ 0 12. การแก้สมการในข้อใดใช้สมบัติของการเท่ากันของการบวก 1) ถ้า x + 2 = 5 แล้ว x = 3 2) ถ้า 3(x + 1) = 3 แล้ว x + 1 = 1 3) ถ้า 15 9 x 5 3  แล้ว x = 1 4) ถ้า 5x = y - 1 แล้ว y - 1 = 5x 13. การหาคาตอบของสมการ 10 2 5x   ต้องดาเนินขั้นตอนตามข้อใด 1) นา 2 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ 2) นา 2 1 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ 3) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 ทั้งสองข้างของสมการ 4) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 1 ทั้งสองข้างของสมการ 14. คาตอบของสมการในข้อใดมีค่าน้อยที่สุด 1) 3x - 4 = 5(x - 2) 2) 3x + 15 = 27 3) x3 20 9 6  4) 8x - 5 = 35 15. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากับคาตอบของสมการ 3x – 1 = 8 1) 5 - x = 8 2) 4 3 5 x  3) 3(x + 1) = 12 4) 1x 3 4 3 
  • 9. 9 16. ถ้า 3x = y - 2 และ y - 2 = 18 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใด 1) 54 2) 18 3) 9 4) 6 17. ถ้า 14 + 6a = 8a แล้ว 3a + 2 มีค่าเท่าใด 1) 21 2) 22 3) 23 4) 24 18. ถ้า 51 2 x  และ 2 5 2 1 y  แล้วค่าของ x - y ตรงกับข้อใด 1) 8 2) 10 3) 12 4) 14 19. ถ้า 3(x + 1) + 1 = 10 แล้ว 2x มีค่าเท่าใด 1) 4 2) 6 3) 8 4) 12 20. ถ้า 11x = y, y + 13 = z และ z - 21 = 14 แล้วค่าของ x + y + z ตรงกับข้อใด 1) 49 2) 59 3) 69 4) 79 21. ถ้าให้ x - 3 = 6a แล้ว 2x มีค่าเท่าใด 1) 6a + 3 2) 12a 3) 12a + 6 4) 12a + 3
  • 10. 10 22. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากัน 1) 3x – 15 = 31 และ x + 7 = 20 2) 4x + 14 = 58 และ 3x + 17 = 50 3) 7x – 16 = 19 และ 5x - 44 = 1 4) 3x + 9 = 60 และ 8x + 12 = 100 23. ข้อความในข้อใดเมื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปประโยคทางคณิตศาสตร์แล้วเป็นสมการ 1) ผลบวกของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับสามเท่าของจานวนนั้น 2) ผลต่างของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับห้า 3) ผลคูณของสี่กับเจ็ดเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับยี่สิบแปด 4) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 24. เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 57 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ตามข้อใด 1) 5 3 x = 57 2) 5 3 x - 15 = 57 3) 5 3 x + 15 = 57 4) 5 3 x + 57 = 15 25. เมื่อกาหนดให้ x เป็นอายุปัจจุบันของกานดา ข้อใดเป็นประโยคสัญลักษณ์แทนข้อความ “อีก 10 ปี กานดาจะมีอายุ 47 ปี” 1) x – 10 = 47 2) x - 10 = 57 3) x + 10 = 47 4) x + 10 = 57 26. “จานวนคี่สามจานวนเรียงกันมีผลรวมเป็น 141” จานวนที่มากที่สุดตรงกับข้อใด 1) 45 2) 47 3) 49 4) 51
  • 11. 11 27. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีเส้นรอบรูปยาว 1.8 เมตร จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร 1) 0.2025 ตารางเซนติเมตร 2) 90 ตารางเซนติเมตร 3) 360 ตารางเซนติเมตร 4) 2,025 ตารางเซนติเมตร 28. ปอนด์มีอายุมากกว่าแปูง 4 ปี อีก 3 ปีข้างหน้าอายุของปอนด์และแปูงจะรวมกันได้ 30 ปี พอดี ปัจจุบันปอนด์และแปูงมีอายุคนละกี่ปีตามลาดับ 1) 14 ปี และ 10 ปี 2) 15 ปี และ 11 ปี 3) 16 ปี และ 12 ปี 4) 18 ปี และ 14 ปี 29. อรวรรณมีเหรียญสิบบาทและเหรียญห้าบาทรวมกันอยู่ 20 เหรียญ คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 135 บาท อรวรรณมีเหรียญสิบบาททั้งหมดกี่เหรียญ 1) 18 เหรียญ 2) 15 เหรียญ 3) 13 เหรียญ 4) 7 เหรียญ 30. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ามีความยาวของแต่ละด้านเท่ากับความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ถ้าผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 91 นิ้ว แล้วรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เท่ากับเท่าใด 1) 121 ตารางนิ้ว 2) 144 ตารางนิ้ว 3) 169 ตารางนิ้ว 4) 196 ตารางนิ้ว
  • 14. 14 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน คาชี้แจง 1. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีทั้งหมด 30 ข้อ (ข้อละ 1 คะแนน) ใช้เวลา 60 นาที 2. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน 3. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว และทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน กระดาษคาตอบ 4. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ 5. หากมีปัญหาใดๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ 6. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
  • 15. 15 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน และการตรวจให้คะแนน ใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 1-4 ครูให้นักเรียนบอกจานวนที่ชอบมาสองจานวน โดยจานวนจานวนแรกเป็นจานวนที่น้อยกว่า และจานวนจานวนที่สองเป็นจานวนที่มากกว่า จากนั้นครูจึงนาข้อมูลมาเรียงได้ดังตารางต่อไปนี้ จานวนน้อย 1 2 3 4 5 … 15 … n จานวนมาก 6 7 8 9 10 1. ถ้าจานวนน้อยคือ n จานวนมากจะตรงกับข้อใด 1) n+2 2) n+3 3) n+4 4) n+5 2. จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ ถ้าผลบวกของจานวนน้อยกับจานวนมากเท่ากับ 65 จานวน มากเป็นเท่าใด 1) 25 2) 30 3) 35 4) 40 3. สมการในข้อใดที่มีจานวนทุกจานวนเป็นคาตอบ 1) y + 3 = -5 2) x 2 = 36 3) 2x + x = 3x 4) m + 6 = m 4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง 1) 2.64 เป็นคาตอบของสมการ x + 0.64 = 2 2) -5 เป็นคาตอบของสมการ 5 – (-x) = 10 3) 3 เป็นคาตอบของสมการ 5x – 9 = 6 4) 5 เป็นคาตอบของสมการ 3 5 y 5 2 
  • 16. 16 ใช้ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้อ 5-8 พิจารณาความสัมพันธ์ของจานวนในตาราง ลาดับที่ 1 2 3 4 5 … 44 … n จานวน -2 -1 0 1 2 5. จานวนในลาดับที่ 125 คือจานวนใด 1) 120 2) 122 3) 124 4) 126 6. จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด 1) n-2 2) n-3 3) n-4 4) n-5 7. 75 เป็นจานวนอยู่ในลาดับที่เท่าไร 1) 72 2) 76 3) 77 4) 78 8. จากแบบรูป 7, 10, 13, 16, 19,… จานวนในลาดับที่ n ตรงกับข้อใด 1) 3n + 4 2) 2n + 5 3) 2n + 6 4) 3n + 7 9. ข้อใดต่อไปนี้ผิด 1) ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนจริงใด ๆ 2) ถ้า a = b แล้ว c – a = b – c เมื่อ a, b และ c แทนจานวนจริงใด ๆ 3) ถ้า x = y และ y = z แล้ว x = z เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใด ๆ 4) ถ้า x = y แล้ว z y z x  เมื่อ x, y และ z แทนจานวนจริงใด ๆ ที่ z ≠ 0
  • 17. 17 10. การแก้สมการในข้อใดใช้สมบัติของการเท่ากันของการบวก 1) ถ้า x + 2 = 5 แล้ว x = 3 2) ถ้า 3(x + 1) = 3 แล้ว x + 1 = 1 3) ถ้า 15 9 x 5 3  แล้ว x = 1 4) ถ้า 5x = y - 1 แล้ว y - 1 = 5x 11. ถ้าให้ x = 4 สมการในข้อใดเป็นจริง 1) 8x – 23 = 19 2) 35 + 2x = 47 3) 5x – 6 = x + 14 4) 4x + 3x = 2x + 20 12. ถ้า x+2 = 6 แล้ว x 2 มีค่าเท่าไร 1) 4 2) 8 3) 16 4) 25 13. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากับคาตอบของสมการ 3x – 1 = 8 1) 5 - x = 8 2) 4 3 5 x  3) 3(x + 1) = 12 4) 1x 3 4 3  14. ถ้า 3x = y - 2 และ y - 2 = 18 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใด 1) 54 2) 18 3) 9 4) 6
  • 18. 18 15. การหาคาตอบของสมการ 10 2 5x   ต้องดาเนินขั้นตอนตามข้อใด 1) นา 2 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ 2) นา 2 1 มาคูณทั้งสองข้างแล้วบวกด้วย 5 ทั้งสองข้างของสมการ 3) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 ทั้งสองข้างของสมการ 4) นา 5 มาบวกทั้งสองข้างแล้วคูณด้วย 2 1 ทั้งสองข้างของสมการ 16. คาตอบของสมการในข้อใดมีค่าน้อยที่สุด 1) 3x - 4 = 5(x - 2) 2) 3x + 15 = 27 3) x3 20 9 6  4) 8x - 5 = 35 17. ถ้า 3(x + 1) + 1 = 10 แล้ว 2x มีค่าเท่าใด 1) 4 2) 6 3) 8 4) 12 18. ถ้า 11x = y, y + 13 = z และ z - 21 = 14 แล้วค่าของ x + y + z ตรงกับข้อใด 1) 49 2) 59 3) 69 4) 79 19. ถ้า 14 + 6a = 8a แล้ว 3a + 2 มีค่าเท่าใด 1) 21 2) 22 3) 23 4) 24
  • 19. 19 20. ถ้า 51 2 x  และ 2 5 2 1 y  แล้วค่าของ x - y ตรงกับข้อใด 1) 8 2) 10 3) 12 4) 14 21. ข้อความในข้อใดเมื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปประโยคทางคณิตศาสตร์แล้วเป็นสมการ 1) ผลบวกของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับสามเท่าของจานวนนั้น 2) ผลต่างของสองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งกับห้า 3) ผลคูณของสี่กับเจ็ดเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับยี่สิบแปด 4) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 22. เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 57 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ ตามข้อใด 1) 5 3 x = 57 2) 5 3 x - 15 = 57 3) 5 3 x + 15 = 57 4) 5 3 x + 57 = 15 23. ถ้าให้ x - 3 = 6a แล้ว 2x มีค่าเท่าใด 1) 6a + 3 2) 12a 3) 12a + 6 4) 12a + 3 24. สมการในข้อใดมีคาตอบเท่ากัน 1) 3x – 15 = 31 และ x + 7 = 20 2) 4x + 14 = 58 และ 3x + 17 = 50 3) 7x – 16 = 19 และ 5x - 44 = 1 4) 3x + 9 = 60 และ 8x + 12 = 100
  • 20. 20 25. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีเส้นรอบรูปยาว 1.8 เมตร จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร 1) 0.2025 ตารางเซนติเมตร 2) 90 ตารางเซนติเมตร 3) 360 ตารางเซนติเมตร 4) 2,025 ตารางเซนติเมตร 26. ปอนด์มีอายุมากกว่าแปูง 4 ปี อีก 3 ปีข้างหน้าอายุของปอนด์และแปูงจะรวมกันได้ 30 ปีพอดี ปัจจุบันปอนด์และแปูงมีอายุคนละกี่ปีตามลาดับ 1) 14 ปี และ 10 ปี 2) 15 ปี และ 11 ปี 3) 16 ปี และ 12 ปี 4) 18 ปี และ 14 ปี 27. เมื่อกาหนดให้ x เป็นอายุปัจจุบันของกานดา ข้อใดเป็นประโยคสัญลักษณ์แทนข้อความ “อีก 10 ปี กานดาจะมีอายุ 47 ปี” 1) x – 10 = 47 2) x - 10 = 57 3) x + 10 = 47 4) x + 10 = 57 28. “จานวนคี่สามจานวนเรียงกันมีผลรวมเป็น 141” จานวนที่มากที่สุดตรงกับข้อใด 1) 45 2) 47 3) 49 4) 51 29. อรวรรณมีเหรียญสิบบาทและเหรียญห้าบาทรวมกันอยู่ 20 เหรียญ คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 135 บาท อรวรรณมีเหรียญสิบบาททั้งหมดกี่เหรียญ 1) 18 เหรียญ 2) 15 เหรียญ 3) 13 เหรียญ 4) 7 เหรียญ
  • 22. 22 เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ฉบับหลังเรียน และการตรวจให้คะแนน ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ 1 4 11 4 21 3 2 3 12 1 22 2 3 3 13 3 23 3 4 3 14 4 24 2 5 2 15 1 25 4 6 2 16 1 26 1 7 4 17 1 27 3 8 1 18 2 28 3 9 2 19 3 29 3 10 1 20 2 30 4 หมายเหตุ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว(ฉบับหลังเรียน) ใช้ข้อคาถามเดียวกับฉบับก่อนเรียน แต่มีการสลับข้อ
  • 25. 25 แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจานวนเต็ม คาชี้แจง 1. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ฉบับนี้ผู้สอนสร้างขึ้น โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ 1. ความคิดคล่อง 2. ความคิดยืดหยุ่น 3. ความคิดริเริ่ม 4. ความคิดละเอียดลออ 2. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ฉบับนี้ เป็นแบบทดสอบที่เน้นให้นักเรียนเขียน คาตอบได้อย่างอิสระเท่าที่นักเรียนสามารถจะตอบได้ 3 เวลาในการทาแบบทดสอบจานวน 5 ข้อ (ข้อละ 12 คะแนน) ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 4. ให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และห้องลงในกระดาษคาตอบให้ชัดเจน 5. ถ้ากระดาษคาตอบไม่พอให้นักเรียนขอเพิ่มเติมได้อีก 6. ขอให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ 7. หากมีปัญหาใด ๆ โปรดสอบถามอาจารย์คุมสอบ 8. ขอขอบคุณในความร่วมมือ
  • 26. 26 แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ข้อที่ 1 จากจานวนเต็มที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 2 3 5 9 10 15 18 25 32 40 49 80 145 200 244 450 690 726 777 900 1533 2345 4500 4768 5900 7896 8888 9221 การดาเนินการ + -   ให้นักเรียนใช้จานวนเต็ม และการดาเนินการที่กาหนด เพื่อให้ได้คาตอบเป็น 500 โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1) ในแต่ละคาตอบสามารถใช้จานวนเต็มจานวนนั้นๆได้เพียงครั้งเดียว 2) ถ้าได้คาตอบเป็น 500 พอดี ได้คะแนน 50 คะแนน 3) ถ้าได้คาตอบต่างจาก 500 อยู่ไม่เกิน 25 ได้คะแนน 20 คะแนน 4) ถ้าได้คาตอบต่างจาก 500 อยู่ไม่เกิน 50 ได้คะแนน 10 คะแนน 5) นักเรียนที่ผ่านข้อนี้ต้องได้คะแนนรวม 300 คะแนนขึ้นไป ตัวอย่างที่ 1 90278968888  4512902   49451 500 ตัวอย่างที่ 2 4002200  545145400  40545 505 ตัวอย่างที่ 3 244777 533 ได้ 50 คะแนน ได้ 20 คะแนน ได้ 10 คะแนน
  • 28. 28 เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 1 1. ด้านความคิดคล่อง เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ ที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือยังไม่สามารถ นาไปใช้งานได้ ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 1 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถาม (หรือจานวน ตามเหมาะสมของ แต่ละสถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 2 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถามเป็นอย่างดี (หรือจานวนตาม เหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม หลายคาตอบหรือได้ ความสัมพันธ์ใหม่ของ คาตอบ (หรือจานวน ตามเหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ ที่ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน หรือ ไม่สามารถคิดหาคาตอบ ได้เลย หรือได้คะแนน รวม 0-50 คะแนน ได้คะแนนรวม 60-150 คะแนน ได้คะแนนรวม 160-250 คะแนน ได้คะแนนรวม 260-300 คะแนน
  • 29. 29 2. ด้านความคิดยืดหยุ่น เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถหา วิธีคิดตาม สถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือวิธีคิดที่หา มายังไม่ถูกต้อง ไม่สามารถใช้ได้ จริง หรือไม่ เหมาะสมกับ สถานการณ์ หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลองความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี เช่น ใช้วิธีการนับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียน แบบจาลองความคิด หรือ วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้ 2 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยใช้วิธี หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลอง ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถคิด หาคาตอบ ที่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน ได้เลย คิดหาคาตอบ ที่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน โดยมีรูปแบบใน การคิด 1 รูปแบบ เช่น หาวิธีคานวณให้ได้ คาตอบที่อยู่ใน เกณฑ์ที่จะได้ คะแนน แล้วจึง เปลี่ยนจานวน เพียงหนึ่งจานวนใน ชุดจานวนนั้นโดย ใช้การดาเนินการ ชุดเดิมให้ได้คาตอบ ใหม่ซึ่งยังคงอยู่ ในช่วงที่จะได้ คะแนน คิดหาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่ จะได้คะแนน โดยมีรูปแบบใน การคิด 2 รูปแบบ เช่น รูปแบบที่ 1 หาวิธีคานวณให้ ได้คาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้ คะแนน แล้วจึงเปลี่ยนจานวน เพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวน นั้นโดยใช้การดาเนินการ ชุดเดิมให้ได้คาตอบใหม่ ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้ คะแนน รูปแบบที่ 2 หาวิธี คานวณให้ได้คาตอบที่อยู่ใน เกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึง เพิ่มจานวนบางจานวนโดยใช้ การบวกหรือลบเพื่อให้ได้ คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วง ที่จะได้คะแนน คิดหาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน โดยมีรูปแบบในการคิดหลากหลายรูปแบบ คือ ตั้งแต่ 3 รูปแบบขึ้นไป เช่น รูปแบบที่ 1 หาวิธีคานวณให้ได้คาตอบที่ อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึงเปลี่ยน จานวนเพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวนนั้น โดยใช้การดาเนินการชุดเดิมให้ได้คาตอบ ใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน รูปแบบที่ 2 หาวิธีคานวณให้ได้คาตอบ ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึงเพิ่ม จานวนบางจานวนโดยใช้การบวกหรือลบ เพื่อให้ได้คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะ ได้คะแนน รูปแบบที่ 3 หาวิธีคานวณให้ ได้คาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนน แล้วจึงเปลี่ยนการดาเนินการย่อยในชุด ของการดาเนินซึ่งยังคงได้คาตอบเท่าเดิม หรือแต่ละคาตอบใช้รูปแบบที่แตกต่างกัน ทั้งหมด
  • 30. 30 หมายเหตุ ตัวอย่างการคิด เช่น รูปแบบที่ 1 200777 577 244777 533 รูปแบบที่ 2    20021015 500    320021015 503 รูปแบบที่ 3      5004010 10 52        5004010 10 1015   เปลี่ยนจานวนเพียงหนึ่งจานวนในชุดจานวนนั้นโดยใช้การดาเนินการชุด เดิมให้ได้คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน เพิ่มจานวนบางจานวนโดยใช้การบวกหรือลบเพื่อให้ได้ คาตอบใหม่ซึ่งยังคงอยู่ในช่วงที่จะได้คะแนน เปลี่ยนการดาเนินการย่อยในชุดของการดาเนินซึ่งยังคงได้ คาตอบเท่าเดิม
  • 31. 31 3. ด้านความคิดริเริ่ม เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี หาคาตอบที่แตกต่าง จากวิธีคิดทั่วไปตาม สถานการณ์ที่กาหนด ให้ได้ หรือมีร่องรอย ในการหาวิธีคิดที่ แตกต่างจากวิธีคิดทั่วไป แต่ไม่สามารถใช้หา คาตอบได้ คิดวิธีที่จะนาไปหา คาตอบในสถานการณ์ ที่กาหนดได้ แต่เป็นวิธี ที่ค่อนข้างธรรมดา คือ มีนักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป คิดวิธีหาคาตอบได้ ซึ่ง เป็นวิธีที่น่าสนใจ และ เลือกใช้หลักการทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม โดยอาจซ้ากับนักเรียน คนอื่นบ้างเล็กน้อย คือ 10-19 % ของนักเรียน ในห้อง คิดวิธีหาคาตอบได้ ถูกต้อง โดยเลือกใช้ หลักการทาง คณิตศาสตร์ได้อย่าง เหมาะสม โดดเด่น ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็น วิธีที่ใช้ความรอบรู้ใน การคิดและมีนักเรียน เพียง 1-2 คนที่ใช้วิธีนี้ หรือน้อยกว่า 10% ของนักเรียนในห้อง จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดหาคาตอบ ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้ คะแนนได้เลย คิดหาคาตอบที่อยู่ใน เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้ แต่เป็นแนวคิด ในการหาคาตอบที่ ค่อนข้างธรรมดา คือ มีนักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 6% ขึ้นไป เช่น นาจานวนสองจานวนมา บวกกัน คิดหาคาตอบที่อยู่ใน เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้ ซึ่งไม่ค่อยมีคนนา แนวคิดในการหา คาตอบนั้นมาใช้ หรือ ถ้ามีคนใช้ก็เป็นส่วน น้อย คือ 3-5% ของ นักเรียนในห้อง คิดหาคาตอบที่อยู่ใน เกณฑ์ที่จะได้คะแนนได้ โดดเด่น แปลกแตกต่าง จากคนอื่นมาใช้ในการ คิดหาคาตอบ ซึ่งเป็น วิธีที่ใช้ ความรอบรู้ ในการคิดและมีนักเรียน เพียง 1 หรือ 2 คนที่ ใช้วิธีนี้ หรือ 1-2% ของนักเรียนในห้อง
  • 32. 32 4. ด้านความคิดละเอียดลออ เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์ และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถแก้ปัญหา จากสถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือ อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา โดยใช้ความสัมพันธ์ แบบรูป กฎ หลักการ หรือสมการไม่เหมาะสม กับเงื่อนไขของแบบรูป อธิบายวิธีคิดในการหา กฎ หลักการของ แบบรูป หรือสมการ ในการแก้ปัญหาได้บ้าง เล็กน้อย แต่ยังไม่ ชัดเจนในบางประเด็น อธิบายวิธีคิด ในการแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยใช้กฎ หลักการ ของแบบรูป หรือ สมการได้อย่างชัดเจน โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยกล่าวถึงวิธีคิด ในการหาความสัมพันธ์ กฎหลักการของ แบบ รูปได้อย่างชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ และวิธี นั้น ๆ ใช้การได้ดี หรือสามารถอธิบายเป็น กราฟ แบบจาลอง ความคิด หรือสมการได้ โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอน ปรับเกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถคิดหาคาตอบ ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้ คะแนนได้เลย หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน แต่คะแนนรวม ยังไม่ผ่าน ซึ่งเกิดจาก ระบบการคิด เช่น หาคาตอบเฉพาะที่ได้ คะแนนสูงสุด คือ 50 คะแนน หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน โดย จัดระบบการคิดได้ ค่อนข้างเป็นระบบ และใช้การดาเนินการ ทางคณิตศาสตร์ ที่เหมาะสม หาคาตอบที่อยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้คะแนน โดยจัดระบบการคิด ได้อย่างเป็นระบบ แสดงถึง การวางแผน ในการคิดอธิบายชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ และ ใช้การดาเนินการทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
  • 33. 33 ข้อที่ 2. นักเรียนได้รับมอบหมายให้ออกแบบกิจกรรมเส้นทางวิบาก ซึ่งเป็นกิจกรรมในค่ายคณิตศาสตร์ ของโรงเรียน ระยะทางทั้งหมดที่ใช้ในกิจกรรมเส้นทางวิบากนี้ต้องอยู่ระหว่าง 100 เมตร และ 150 เมตร แต่ละกิจกรรมฐานย่อยจะอยู่ติดกัน กิจกรรมฐานย่อยที่คณะกรรมการ จัดค่ายคณิตศาสตร์ประชุมพิจารณาในขั้นเบื้องต้นเพื่อบรรจุในกิจกรรมเส้นทางวิบาก แสดงเป็นตาราง สรุปกิจกรรมฐานย่อยและระยะทางที่ใช้มีดังนี้ ตัวอย่าง จุดเริ่มต้น กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ จุดสิ้นสุด รายการกิจกรรมฐานย่อยมีดังนี้ กิจกรรมฐานย่อย ระยะทางที่ใช้ 1. กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง 8 เมตร 2. ปีนกาแพง 7 เมตร 3. กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม 12 เมตร 4. คลานลอดตาข่ายเชือก 23 เมตร 5. ไต่เชือก 31 เมตร 6. วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง 17 เมตร 7. วิ่งลุยโคลน 22 เมตร 8. ปีนล้อยางรถ 24 เมตร 9. ปาบอลเข้าห่วง 18 เมตร 10. เดินถอยหลัง 25 เมตร ให้นักเรียนใช้กิจกรรมฐานย่อยในตารางเขียนเป็นกิจกรรมเส้นทางวิบากตามระยะทางที่ กาหนดพร้อมอธิบายแนวคิด ให้ได้หลายวิธีมากที่สุด (เส้นทางวิบากที่มีกิจกรรมฐานย่อยเหมือนกันแต่ สลับลาดับก่อนหลังของกิจกรรมจัดว่าเป็นเส้นทางวิบากเดียวกัน)
  • 35. 35 เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 2. 1. ด้านความคิดคล่อง เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ ที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือยังไม่สามารถ นาไปใช้งานได้ ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 1 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถาม (หรือจานวน ตามเหมาะสมของ แต่ละสถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 2 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถามเป็นอย่างดี (หรือจานวนตาม เหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม หลายคาตอบหรือได้ ความสัมพันธ์ใหม่ของ คาตอบ (หรือจานวน ตามเหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง ได้เส้นทางวิบาก 1 เส้นทางที่ระยะทาง ยังไม่อยู่ในช่วงที่กาหนด หรือไม่สามารถ จัดเส้นทางวิบากได้เลย ได้เส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนด 1-2 เส้นทาง ได้เส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนด 3-5 เส้นทาง ได้เส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนดหลายเส้นทาง คือ ตั้งแต่ 6 เส้นทาง ขึ้นไป
  • 36. 36 2. ด้านความคิดยืดหยุ่น เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถหา วิธีคิดตาม สถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือวิธีคิดที่หา มายังไม่ถูกต้อง ไม่สามารถใช้ได้ จริง หรือไม่ เหมาะสมกับ สถานการณ์ หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลองความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี เช่น ใช้วิธีการนับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียน แบบจาลองความคิด หรือ วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้ 2 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยใช้วิธี หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลอง ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถเขียน เส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ ในช่วงที่กาหนด ได้เลย เขียนเส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนดได้ โดยสามารถ จัดเป็นระบบการคิดได้ 1 ระบบ เช่น คิดเส้นทาง วิบากได้ 1 เส้นทางที่ ระยะทางพอดี 100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรม ฐานย่อยอีกครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็นเส้นทาง ใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร เขียนเส้นทางวิบากที่ระยะทาง อยู่ในช่วงที่กาหนดได้ โดย สามารถจัดเป็นระบบการคิด ได้ 2 ระบบ เช่น ระบบ ที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้ 1 เส้นทางที่ระยะทางพอดี 100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรม ฐานย่อยอีกครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็นเส้นทางใหม่ที่ ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร ระบบที่ 2 จับกลุ่มกิจกรรม เป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวก สับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้ ระยะทางรวมเป็น 100-150 เมตร เขียนเส้นทางวิบากที่ระยะทางอยู่ ในช่วงที่กาหนดได้ โดยสามารถ จัดเป็นระบบการคิดได้ หลากหลายระบบ คือ ตั้งแต่ 3 ระบบขึ้นไป เช่น ระบบ ที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้ 1 เส้นทางที่ระยะทางพอดี 100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรมฐานย่อย อีก ครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็น เส้นทางใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร ระบบที่ 2 จับกลุ่ม กิจกรรมเป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวก สับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้ ระยะทางรวมเป็น 100-150 เมตร ระบบที่ 3 หาเส้นทาง วิบากมาหนึ่งเส้นทางแล้วเปลี่ยน กิจกรรมฐานย่อย 1 กิจกรรมให้ เป็นเส้นทางใหม่
  • 37. 37 หมายเหตุ ตัวอย่างระบบการคิด ระบบที่ 1 คิดเส้นทางวิบากได้ 1 เส้นทางที่ระยะทางพอดี 100 เมตร แล้วเพิ่มกิจกรรมฐานย่อย อีกครั้งละ 1 ฐาน เพื่อใช้เป็นเส้นทางใหม่ที่ระยะทางไม่เกิน 150 เมตร เช่น 1) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน และปาบอลเข้าห่วง ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 = 100 เมตร 2) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกำแพง ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 +7 = 107 เมตร 3) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม คลานลอดตาข่ายเชือก วิ่งซิกแซก หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง ปีนกำแพง และไต่เชือก ระยะทางรวมเป็น 8 + 12 + 23 + 17 + 33 + 18 +7+31 = 138 เมตร ระบบที่ 2 จับกลุ่มกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อย ๆ แล้วบวกสับเปลี่ยนกลุ่มกัน เพื่อให้ระยะทางรวมเป็น 100-150 เมตร เช่น กลุ่มย่อยที่ 1 คลานลอดตาข่ายเชือก และวิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง ระยะทางรวม 40 เมตร กลุ่มย่อยที่ 2 วิ่งลุยโคลน และปาบอลเข้าห่วง ระยะทางรวม 40 เมตร กลุ่มย่อยที่ 3 ปีนกาแพง และไต่เชือก ระยะทางรวม 38 เมตร กลุ่มย่อยที่ 4 ปีนล้อยางรถ และกลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม ระยะทางรวม 36 เมตร กลุ่มย่อยที่ 5 กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง และเดินถอยหลัง ระยะทางรวม 33 เมตร จากนั้นเลือกกลุ่มย่อยมาครั้งละ 3 กลุ่มย่อยทาเป็นเส้นทางวิบาก ระบบที่ 3 หาเส้นทางวิบากมาหนึ่งเส้นทางแล้วเปลี่ยนกิจกรรมฐานย่อย 1 กิจกรรม เช่น 1) คลานลอดตาข่ายเชือก กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซก หลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง ระยะทางรวมเป็น 23 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 107 เมตร 2) เดินถอยหลัง กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง ระยะทางรวมเป็น 25 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 109 เมตร 3) ไต่เชือก กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง กลิ้งลูกกอล์ฟลงหลุม วิ่งซิกแซกหลบสิ่งกีดขวาง วิ่งลุยโคลน ปาบอลเข้าห่วง และปีนกาแพง ระยะทางรวมเป็น 31 + 8 + 12 + 17 + 33 + 18 +7 = 115 เมตร
  • 38. 38 3. ด้านความคิดริเริ่ม เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี หาคาตอบที่แตกต่าง จากวิธีคิดทั่วไปตาม สถานการณ์ที่กาหนด ให้ได้ หรือมีร่องรอย ในการหาวิธีคิดที่ แตกต่างจากวิธีคิดทั่วไป แต่ไม่สามารถใช้หา คาตอบได้ คิดวิธีที่จะนาไปหา คาตอบในสถานการณ์ ที่กาหนดได้ แต่เป็นวิธี ที่ค่อนข้างธรรมดา คือ มีนักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป คิดวิธีหาคาตอบได้ ซึ่ง เป็นวิธีที่น่าสนใจ และ เลือกใช้หลักการทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม โดยอาจซ้ากับนักเรียน คนอื่นบ้างเล็กน้อย คือ 10-19 % ของนักเรียน ในห้อง คิดวิธีหาคาตอบได้ ถูกต้อง โดยเลือกใช้ หลักการทาง คณิตศาสตร์ได้อย่าง เหมาะสม โดดเด่น ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็น วิธีที่ใช้ความรอบรู้ใน การคิดและมีนักเรียน เพียง 1-2 คนที่ใช้วิธีนี้ หรือน้อยกว่า 10% ของนักเรียนในห้อง จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถเขียนเส้นทาง วิบากที่ระยะทางอยู่ ในช่วงที่กาหนดได้เลย เขียนเส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วง ที่กาหนดได้ แต่เป็น แนวคิดในการเขียน เส้นทางที่ค่อนข้าง ธรรมดา คือ มีนักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป เขียนเส้นทางวิบากที่ ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนดได้ ซึ่งไม่ค่อยมี คนนาแนวคิดใน การเขียนเส้นทางวิบาก นั้นมาใช้ หรือถ้ามีคน ใช้ก็เป็นส่วนน้อย คือ 10-19 % ของนักเรียน ในห้อง เขียนเส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วง ที่กาหนดได้โดดเด่น แปลกแตกต่างจาก คนอื่นมาใช้ใน การเขียนเส้นทางวิบาก ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ ความรอบรู้ในการคิด และมีนักเรียนเพียง 1-2 คน ที่ใช้วิธีนี้ หรือ 1-2% ของ นักเรียนในห้อง
  • 39. 39 4. ด้านความคิดละเอียดลออ เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์ และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถแก้ปัญหา จากสถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือ อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา โดยใช้ความสัมพันธ์ แบบรูป กฎ หลักการ หรือสมการไม่เหมาะสม กับเงื่อนไขของแบบรูป อธิบายวิธีคิดในการหา กฎ หลักการของ แบบรูป หรือสมการ ในการแก้ปัญหาได้บ้าง เล็กน้อย แต่ยังไม่ ชัดเจนในบางประเด็น อธิบายวิธีคิด ในการแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยใช้กฎ หลักการ ของแบบรูป หรือ สมการได้อย่างชัดเจน โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยกล่าวถึงวิธีคิด ในการหาความสัมพันธ์ กฎหลักการของ แบบ รูปได้อย่างชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ และวิธี นั้น ๆ ใช้การได้ดี หรือสามารถอธิบายเป็น กราฟ แบบจาลอง ความคิด หรือสมการได้ โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถเขียนเส้นทาง วิบากที่ระยะทางอยู่ ในช่วงที่กาหนดได้เลย หรือเขียนเส้นทางวิบาก ได้แต่ระยะทางไม่อยู่ ในช่วงที่กาหนด อธิบายระบบแนวคิด ในการเขียนเส้นทาง วิบากที่ระยะทางอยู่ ในช่วงที่กาหนดได้บาง ระบบแนวคิด และยัง ไม่ชัดเจนในบางประเด็น หรือเขียนเส้นทางวิบาก อย่างไม่เป็นระบบ อธิบายระบบแนวคิดใน การเขียนเส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วงที่ กาหนดได้อย่างชัดเจน โดยใช้เนื้อหา และ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ ที่เหมาะสม อธิบายระบบแนวคิดใน การเขียนเส้นทางวิบาก ที่ระยะทางอยู่ในช่วง ที่กาหนดได้อย่างชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ หรือ สามารถอธิบายเป็น กราฟ แบบจาลอง ความคิด หรือสมการได้ โดยใช้เนื้อหาและ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ ที่เหมาะสม
  • 40. 40 ข้อที่ 3. ให้นักเรียนหาจานวนมาเติมลงในตาราง แล้วทาให้ผลลัพธ์ในแนวตั้ง แนวนอน และ แนวทแยงมุมมีค่าเท่ากันมาให้ได้หลายรูปแบบมากที่สุด พร้อมทั้งอธิบายแนวคิด ตัวอย่าง หมายเหตุ ตารางที่สลับแถวกับคอลัมน์ ตารางที่สลับแถวบนสุดกับแถวล่างสุด และตารางที่สลับซ้าย กับขวาจัดเป็นตารางรูปแบบเดียวกัน ตอบ รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3 รูปแบบที่ 4 รูปแบบที่ 5 รูปแบบที่ 6 รูปแบบที่ 7 รูปแบบที่ 8 รูปแบบที่ 9 อธิบายแนวคิด ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 9 1 6 5 6 7 4 11 13
  • 41. 41 เกณฑ์การประเมินความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สาหรับข้อที่ 3. 1. ด้านความคิดคล่อง เกณฑ์การประเมินความคิดคล่องที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง ได้คาตอบ 1 คาตอบ ที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือยังไม่สามารถ นาไปใช้งานได้ ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 1 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถาม (หรือจานวน ตามเหมาะสมของ แต่ละสถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม อย่างน้อย 2 คาตอบ หรือได้ความสัมพันธ์ ของคาถามเป็นอย่างดี (หรือจานวนตาม เหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) ได้คาตอบที่เหมาะสม หลายคาตอบหรือได้ ความสัมพันธ์ใหม่ของ คาตอบ (หรือจานวน ตามเหมาะสมของแต่ละ สถานการณ์) จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดคล่อง สร้างตารางได้ 1 รูปแบบที่ยังไม่สมบูรณ์ เช่น เมื่อคานวณ ผลรวมมีบางแถว ที่ไม่เท่ากับแถวอื่น หรือไม่สามารถสร้าง ตารางได้ สร้างตารางได้ถูกต้อง 1-3 รูปแบบ สร้างตารางได้ถูกต้อง 4-6 รูปแบบ สร้างตาราง ได้หลายรูปแบบ คือ ตั้งแต่ 7 รูปแบบขึ้นไป
  • 42. 42 2. ด้านความคิดยืดหยุ่น เกณฑ์การประเมินความคิดยืดหยุ่นที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถหา วิธีคิดตาม สถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือวิธีคิดที่หา มายังไม่ถูกต้อง ไม่สามารถใช้ได้ จริง หรือไม่ เหมาะสมกับ สถานการณ์ หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยทุกข้อคาถาม ใช้วิธีเดียวกัน เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลองความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มแนวคิด ได้เพียง 1 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้อย่างน้อย 2 วิธี เช่น ใช้วิธีการนับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียน แบบจาลองความคิด หรือ วิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถ จัดเป็นกลุ่มแนวคิดได้ 2 กลุ่มแนวคิด หาวิธีคิดตามสถานการณ์ที่ กาหนดได้ โดยใช้วิธี หลากหลาย เช่น ใช้วิธีการ นับต่อ ตาราง การวาดผัง การพิจารณาจากกราฟ สมการพีชคณิต การแทนค่า การเขียนแบบจาลอง ความคิด หรือวิธีคิดแบบอื่น ซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่ม แนวคิดได้หลายกลุ่ม และ เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ยืดหยุ่น ไม่สามารถ สร้างตาราง ได้เลย สร้างตารางได้ถูกต้อง ซึ่งทุกตารางใช้ แนวคิดเดียวกัน เช่น การลองผิดลองถูก หาวิธีคานวณให้ได้ ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึงนาค่าคงที่ ตัวหนึ่งมาคูณ หรือหารจานวน ทุกจานวน ในตารางนั้น สร้างตารางได้ถูกต้อง โดยมีแนวคิดในการสร้างตาราง 2 แนวคิด เช่น การลองผิด ลองถูกหาวิธีคานวณให้ได้ ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึง นาค่าคงที่ตัวหนึ่งมาคูณหรือ หารจานวนทุกจานวนในตาราง นั้น แนวคิดในการกาหนด ผลรวมแล้วแจกแจงจานวน ในตาราง แนวคิด การให้ทุกจานวนในตาราง มีค่าเท่ากัน สร้างตารางได้ถูกต้องโดยมีแนวคิด ในการสร้างตารางหลากหลายแนวคิด คือ ตั้งแต่ 3 แนวคิดขึ้นไป เช่น การลองผิดลองถูกหาวิธีคานวณให้ได้ ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึงนา ค่าคงที่ตัวหนึ่งมาคูณหรือหาร จานวนทุกจานวนในตารางนั้น แนวคิดในการหาวิธีการคานวณให้ได้ ตารางมา 1 รูปแบบ แล้วจึงนา ค่าคงที่ตัวหนึ่งมาบวกหรือลบจานวน ทุกจานวนในตารางนั้น แนวคิด ในการกาหนดผลรวมแล้วแจกแจง จานวนในตาราง การใช้ทศนิยมหรือ เศษส่วน แนวคิดการให้ทุกจานวน ในตารางมีค่าเท่ากัน
  • 43. 43 3. ด้านความคิดริเริ่ม เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม ไม่สามารถคิดวิธี หาคาตอบที่ แตกต่างจากวิธีคิด ทั่วไปตาม สถานการณ์ที่ กาหนด ให้ได้ หรือมีร่องรอย ใน การหาวิธีคิดที่ แตกต่างจากวิธีคิด ทั่วไป แต่ไม่ สามารถใช้หา คาตอบได้ คิดวิธีที่จะนาไปหา คาตอบใน สถานการณ์ ที่ กาหนดได้ แต่เป็น วิธีที่ค่อนข้าง ธรรมดา คือ มี นักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 20 % ขึ้น ไป คิดวิธีหาคาตอบได้ ซึ่งเป็นวิธีที่น่าสนใจ และเลือกใช้ หลักการทาง คณิตศาสตร์ที่ เหมาะสม โดยอาจ ซ้ากับนักเรียนคน อื่นบ้างเล็กน้อย คือ 10-19 % ของนักเรียน ใน ห้อง คิดวิธีหาคาตอบได้ถูกต้อง โดยเลือกใช้ หลักการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม โดดเด่น ไม่เหมือนใคร ซึ่งเป็นวิธีที่ ใช้ความรอบรู้ในการคิดและมีนักเรียนเพียง 1-2 คนที่ใช้วิธีนี้ หรือน้อยกว่า 10% ของ นักเรียนในห้อง จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิดริเริ่ม สร้างตารางได้ แตกต่างจากวิธีทั่วไป แต่มีบางแถว มีผลรวมไม่เท่ากับ แถวอื่น สร้างตารางได้ แต่แนวคิดค่อน ข้างธรรมดา คือ มีนักเรียนในห้องใช้ ตั้งแต่ 20 % ขึ้นไป เช่น การลองผิด ลองถูก สร้างตารางได้ ซึ่งไม่ค่อยมีคนนา แนวคิดนั้นมาใช้หรือ ถ้ามีคนใช้ก็เป็น ส่วนน้อย คือ 10-19 % ของนักเรียน ในห้อง เช่น การใช้ ทศนิยมหรือเศษส่วน การให้ทุกจานวน ในตารางมีค่าเท่ากัน หาตารางได้โดยใช้แนวคิด ที่โดดเด่น แปลกแตกต่าง จากคนอื่น ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ ความรอบรู้ในการคิดและ มีนักเรียนเพียง 1 หรือ 2 คนที่ใช้วิธีนี้ หรือ น้อยกว่า 10 % ของนักเรียนในห้อง เช่น การกาหนดผลรวมแล้ว แจกแจงจานวนในตาราง การใช้จานวนเต็มและ เศษส่วน การใช้เลขฐานสอง การใช้เลขยกกาลัง การให้ทุกจานวนในตาราง มีค่าเท่ากัน
  • 44. 44 4. ด้านความคิดละเอียดลออ เกณฑ์การประเมินความคิดละเอียดลออที่ผู้สอนประยุกต์ตามแนวคิดของทอแรนซ์ และเชฟฟิวด์ สาหรับกรณีทั่วไป คือ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถแก้ปัญหา จากสถานการณ์ ที่กาหนดได้เลย หรือ อธิบายวิธีคิดแก้ปัญหา โดยใช้ความสัมพันธ์ แบบรูป กฎ หลักการ หรือสมการไม่เหมาะสม กับเงื่อนไขของแบบรูป อธิบายวิธีคิดในการหา กฎ หลักการของ แบบรูป หรือสมการ ในการแก้ปัญหาได้บ้าง เล็กน้อย แต่ยังไม่ ชัดเจนในบางประเด็น อธิบายวิธีคิด ในการแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยใช้กฎ หลักการ ของแบบรูป หรือ สมการได้อย่างชัดเจน โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม อธิบายวิธีแก้ปัญหาจาก สถานการณ์ที่กาหนด โดยกล่าวถึงวิธีคิด ในการหาความสัมพันธ์ กฎหลักการของ แบบรูปได้อย่างชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ และ วิธีนั้น ๆ ใช้การได้ดี หรือสามารถอธิบายเป็น กราฟ แบบจาลอง ความคิด หรือสมการได้ โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม จากแนวคิดของทอแรนซ์และเชฟฟิวด์ และบริบทของสถานการณ์ในโจทย์ข้อนี้ ผู้สอนปรับ เกณฑ์โดยถอดความ และขยายความ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน 0 1 2 3 ความคิด ละเอียดลออ ไม่สามารถสร้างตาราง ได้เลย หรือตารางที่ได้ ไม่ถูกต้อง หรือ การอธิบายแนวคิดมี ความสับสน อธิบายแนวคิดใน การสร้างตารางได้ บางตาราง และยังไม่ ชัดเจนในบางประเด็น อธิบายแนวคิดใน การสร้างตารางได้ อย่างชัดเจน โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม อธิบายแนวคิดใน การสร้างตารางได้อย่าง ชัดเจน กระชับ ถ้วนถี่ และแนวคิดที่ใช้เป็น แนวคิดที่ใช้การได้ดี หรือสามารถอธิบายเป็น แบบจาลองความคิด แผนผัง หรือสมการได้ โดยใช้เนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
  • 45. 45 ข้อที่ 4. ในการเปิดภาคเรียนวันแรกคุณแม่ให้เงินพิเศษนักเรียนมา 100 บาท สาหรับซื้ออุปกรณ์ การเรียนและสิ่งของที่นักเรียนต้องการ ซึ่งในสหกรณ์ร้านค้ามีสินค้าดังต่อไปนี้ ให้นักเรียนวางแผนและคานวณราคาสิ่งของที่นักเรียนต้องการซื้อมาให้ได้หลากหลายวิธีมาก ที่สุดพร้อมอธิบายแนวคิด ดินสอ 5 บาท ปากกา 10 บาท แผ่นซีดี 15 บาทชุดรวมเครื่องเขียน 30 บาท สีน้า 42 บาท กระดาษโน้ต 8 บาทสีไม้ 20 บาท หนังสืออ่านนอกเวลา 75 บาท สมุดปกแข็ง 22 บาท สมุดปกอ่อนชุดละ 25 บาท แฟูมใส่เอกสาร 14 บาทแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ 36 บาท แบบฝึกหัดภาษาไทย 85 บาท เกมคณิตศาสตร์ 95 บาท เกมภาษาอังกฤษ 90 บาท สมุดไดอะรี่ 60 บาท