SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
28/08/57 1
• เกิดจากการติดเชื้อ Influenza virus
• สายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ในคนมีหลายสายพันธุ์ แต่ที่พบกันบ่อยๆ คือ
–H1N1
–H3N2
• เป็นการติดเชื้อทางเดินระบบหายใจ เชื้ออาจจะลามเข้าปอดทาให้เกิด
ปอดบวม มีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดตามตัวและปวดกล้ามเนื้อ
• ในเด็กจะพบมากเป็นพิเศษ แต่อัตราการเสียชีวิตมักจะพบมาก
ในผู้ที่มีอายุมากกว่า60 ปี หรือผู้ที่มีโรคประจาตัว
28/08/57 2
• การฉีดวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่เป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุด
28/08/57 3
สามารถลดอัตราการติดเชื้อ
ลดอัตราการนอนโรงพยาบาล
ลดโรคแทรกซ้อน
ลดการหยุดงานหรือหยุดเรียน
• เป็นการติดเชื้อของจมูกและคอ บางครั้งเรียกupper respiratory tract
infection (URI)
• เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งรวมเรียกว่า Coryza viruses ประกอบด้วย
–Rhino-viruses เป็นสาคัญ
–เชื้อชนิดอื่น ๆ มี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus
28/08/57 4
• เมื่อเชื้อเข้าสู่จมูกและคอ จะทาให้เยื่อจมูกบวมและแดง มีการหลั่งของ
เมือกออกมา ผู้ป่วยจะมีอาการน้ามูกไหล ไข้ไม่สูงมาก
• แม้ว่าจะเป็นโรคที่หายเองใน 1 สัปดาห์ แต่เป็นโรคที่นาผู้ป่วยไปพบ
แพทย์มากที่สุดโดยเฉลี่ยเด็กจะเป็นไข้หวัด 6-12 ครั้ง/ ปี ผู้ใหญ่จะเป็น
2-4 ครั้ง/ ปี
• ผู้หญิงเป็นบ่อยกว่าผู้ชายเนื่องจากใกล้ชิดกับเด็ก คนสูงอายุอาจจะเป็น
ปีละครั้ง
28/08/57 5
28/08/57 6
• เชื้อนี้ติดต่อได้ง่ายโดยทางเดินหายใจ
• วิธีการติดต่อ ได้แก่
–ติดต่อโดยการไอหรือจาม เชื้อจะเข้าทางเยื่อบุตาและปาก
–สัมผัสเสมหะของผู้ป่ วยทางแก้วน้า
–สัมผัสทางมือที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
28/08/57 7
• ระยะฟักตัว: ประมาณ 1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน
–ไข้สูง 39-40 องศา เจ็บคอคอแดง มีน้ามูกไหล ไอแห้งๆ ตาแดง
–อาการไข้คลื่นไส้อาเจียนจะหายใน 2 วัน แต่อาการน้ามูกไหลคัด
จมูกอาจจะอยู่ได้1 สัปดาห์
28/08/57 8
• ระยะฟักตัว: ประมาณ 1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน (ต่อ)
–มีอาการอ่อนเพลียอย่างเฉียบพลัน
–เบื่ออาหาร คลื่นไส้
–ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบกระบอกตา
28/08/57 9
สาหรับผู้ที่มีอาการรุนแรงมักจะเกิดในผู้สูงอายุ หรือมีโรคประจาตัว
 อาจจะพบว่ามีการอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ จะมีอาการเจ็บหน้าอก
เหนื่อยหอบ
 อาจจะมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จะมีอาการปวดศีรษะ ซึมลง หมดสติ
 ระบบหายใจ อาจจะมีอาการของโรคปอดบวม จะหอบหายใจเหนื่อย
จนถึงหายใจวาย
 โดยทั่วไปไข้หวัดใหญ่จะหายในไม่กี่วัน แต่ก็มีบางรายซึ่งอาจจะมี
อาการปวดข้อและไอได้ถึง 2 สัปดาห์
28/08/57 10
• ระยะติดต่อ หมายถึง ระยะเวลาที่เชื้อสามารถติดต่อไปยังผู้อื่น
• ระยะเวลาที่ติดต่อคนอื่นคือ 1 วันก่อนเกิดอาการ 5 วันหลังจากมี
อาการ
• ในเด็กอาจจะแพร่เชื้อ 6 วันก่อนมีอาการ และแพร่เชื้อได้ นาน 10
วัน
28/08/57 11
• การวินิจฉัยว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ จะอาศัยระบาดวิทยาโดยเฉพาะช่วงที่มี
การระบาด และอาการของผู้ป่วย
• การวินิจฉัยที่แน่นอนต้องทาการตรวจ ดังนี้
–นาเอาเสมหะจากจมูก หรือคอไปเพาะเชื้อไวรัส
–เจาะเลือดผู้ป่ วยหาภูมิ 2 ครั้งโดยครั้งที่สองห่างจากครั้งแรก14 วัน
–การตรวจหา Antigen การตรวจโดยวิธี PCR, Imunofluorescent
28/08/57 12
• ผู้ป่วยอาจจะมีอาการกาเริบของโรคที่เป็นอยู่ เช่น
–หัวใจวาย หรือหายใจวาย
–มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้า เช่น ปอดบวม
ฝีในปอด
–เชื้ออาจจะทาให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
28/08/57 13
• ให้นอนพักไม่ควรจะออกกาลังกาย
• ให้ดื่มน้าเกลือแร่หรือดื่มน้าผลไม้
• ไม่ควรดื่มน้าเปล่ามากเกินไป เพราะอาจจะขาดเกลือแร่
• หากมีไข้ให้ใช้ผ้าชุมน้าเช็ดตัว หากไข้ไม่ลงให้รับประทาน
paracetamol
28/08/57 14
• เป็นกลุ่มที่แพ้ยาแอสไพรินหรือเรียกว่า Reye syndrome
• เป็นกลุ่มอาการที่มักเกิดในเด็ก โดยเฉพาะอายุต่ากว่า12 ปี
• เป็นกลุ่มอาการที่มีผลกระทบต่อทุกอวัยวะในร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สมองและตับ
• อาการสาคัญที่พบบ่อย ได้แก่ ผู้ป่ วยอาเจียนอย่างรุนแรง และต่อมามี
อาการทางสมอง เช่น สับสน มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป ซึมและหมดสติ
และผู้ป่ วยเสียชีวิตได้
28/08/57 15
• มักได้รับยาแอสไพริน เพื่อรักษาโรคติดเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัดใหญ่
อีสุกอีใส หรือโรคติดเชื้อไวรัสทางเดินหายใจอื่น ๆ
• อาการของกลุ่ม Reye’s syndrome มักเกิดขึ้นระหว่างหรือภายหลังการ
ป่ วยด้วยโรคดังกล่าวประมาณ1 สัปดาห์
• การรักษา เป็นการรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น ให้ออกซิเจน
ใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้ยาต้านการอักเสบในกลุ่มสเตียรอยด์
และให้น้า/ อาหารทางน้าเกลือ
28/08/57 16
• ถ้าไอมากก็รับประทานยาแก้ไอแต่ในเด็กเล็กไม่ควรซื้อยารับประทาน
เอง
• สาหรับผู้ที่เจ็บคอ อาจจะใช้น้า 1 แก้วผสมเกลือ 1 ช้อนกรวกคอ
• อย่าสั่งน้ามูกแรง ๆ เพราะอาจจะทาให้เชื้อลุกลาม
• ในช่วงที่มีการระบาดให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์สาธารณะ ลูกบิด
ประตู เวลาไอหรือจามต้องใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปากและจมูกช่วงที่มีการ
ระบาดให้หลีกเลี่ยงสถานที่สาธารณะ
28/08/57 17
• หากมีอาการเหล่านี้ควรพบแพทย์ ผู้ป่ วยเด็กควรปรึกษาแพทย์เมื่อมี
อาการดังต่อไปนี้
–ไข้สูง และเป็นมานาน ให้ยาลดไข้แล้วไข้ยังเกิน 38.5 องศา
–หายใจหอบหรือหายใจลาบาก มีอาการมากกว่า 7 วัน ผิวสีม่วง
–เด็กดื่มน้าหรือรับประทานอาหารไม่พอ เด็กซึม หรือไม่เล่น
–เด็กไข้ลด แต่อาการไม่ดีขึ้น
28/08/57 18
• สาหรับผู้ใหญ่ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้พบแพทย์
–ไข้สูงและเป็นมานาน
–หายใจลาบาก หรือหายใจหอบ
–เจ็บหรือแน่นหน้าอก
–หน้ามืดเป็นลม
–อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้
28/08/57 19
• กลุ่มผู้ป่ วยเหล่านี้ถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน ควรจะพบ
แพทย์เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่
–ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจาตัว เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคไต โรคปอด
–คนท้อง
–คนที่มีอายุมากกว่า 65 ปี
–ผู้ป่วยโรคเอดส์
–ผู้ที่พักในสถานเลี้ยงคนชรา
28/08/57 20
• ผู้ป่ วยไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการเหล่านี้ควรจะรักษาในโรงพยาบาล
–มีอาการขาดน้าไม่สามารถดื่มน้าได้อย่างเพียงพอ
–เสมหะมีเลือดปน
–หายใจลาบาก หายใจหอบ
–ริมฝีปากเปลี่ยนเป็นสีม่วงเขียว
–ไข้สูงมากเพ้อ
–มีอาการไข้และไอหลังจากไข้หวัดหายแล้ว
28/08/57 21
• ให้น้าเกลือสาหรับผู้ที่ดื่มน้าไม่พอ
• ให้ยา Amantadine หรือ rimantidine เพื่อให้หายเร็วและลดความ
รุนแรงของโรค ควรจะให้ใน 48 ชม.หลังจากมีไข้และให้ต่อ 5-7 วัน
ยานี้ไม่ได้ลดโรคแทรกซ้อน
• ให้ยาลดน้ามูก หากมีน้ามูก
• ถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่ควรให้ยาปฎิชีวนะ
• ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะหายใน 2-3 วันไข้จะหายใน 7 วัน
อาการอ่อนเพลียอาจจะอยู่ได้ 1-2 สัปดาห์
28/08/57 22
• ล้างมือบ่อย ๆ
• อย่าเอามือเข้าปากหรือขยี้ตา
• อย่าใช้ของส่วนตัวเช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้า ร่วมกับผู้อื่น
• หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่ วย
• ให้พักที่บ้านเมื่อเวลาป่วย
• เวลาไอจามใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก
28/08/57 23
• การป้ องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุด คือ การฉีดวัคซีนซึ่งทาจากเชื้อที่ตาย
แล้วโดยฉีดทีแขนปีละครั้ง หลังฉีด 2 สัปดาห์ภูมิจึงขึ้นสูงพอที่จะ
ป้องกันการติดเชื้อ แต่การฉีดจะต้องเลือกผู้ป่วยดังต่อไปนี้
–ผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
–ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจาตัวเช่น โรคไต โรคหัวใจ โรคตับ
–ผู้ป่ วยโรคเบาหวาน
–ผู้ป่ วยโรคเอดส์
28/08/57 24
• การฉีดจะต้องเลือกผู้ป่วยดังต่อไปนี้ (ต่อ)
–หญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป และมีการระบาดของไข้หวัดใหญ่
–ผู้ที่อาศัยในสถานเลี้ยงคนชรา
–เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่ วยเรื้อรัง
–นักเรียนที่อยู่รวมกัน
–ผู้ที่จะไปเที่ยวยังที่ระบาดของไข้หวัดใหญ่
–ผู้ที่ต้องการลดการติดเชื้อ
28/08/57 25
• Amantadine and Ramantadine เป็นยาที่ใช้ในการป้องกันและรักษา
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A ไม่ครอบคลุมชนิด B
• Zanamivir Oseltamivir เป็นยาที่รักษาได้ทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้งชนิด
A, B การให้ยาภายใน 2 วันหลังเกิดอาการจะลดระยะเวลาเป็นโรค
28/08/57 26
“จะใช้ยารักษาไข้หวัดกับคนกลุ่มใด จะใช้ยากับคนกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค
แทรกซ้อนจากไข้หวัดใหญ่ และยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน
และอยู่ในช่วงที่มีการระบาดของโรค”
• กลุ่มที่ควรจะได้รับยารักษา ได้แก่
–คนที่อายุมากกว่า 65 ปี
–เด็กอายุ 6-23 เดือน
–คนท้อง
–คนที่มีโรคประจาตัว เช่น โรคไต โรคตับ โรคหัวใจ
28/08/57 27
• ยาที่ได้รับการรับรองว่าใช้ป้องกันไข้หวัดใหญ่ได้แก่ Amantadine
Ramantadine, Oseltamivir
• วิธีการป้ องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุด คือ การฉีดวัคซีน แต่ก็มีบางกรณีที่
จาเป็นต้องให้ยาเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่
28/08/57 28
• ผู้ป่ วยกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับวัคซีนไม่ทันทาให้ต้องได้รับยาในช่วงที่มีการ
ระบาดของโรค
• ผู้ที่ดูแลกลุ่มเสี่ยงและไม่ได้รับการฉีดวัคซีนควรจะได้รับยาใน
ช่วงที่มีการระบาดของโรค
• ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดีเช่น โรคเอดส์ กลุ่มคนที่ไม่ได้ฉีดวัคซีนและไม่อยาก
เป็นโรค
28/08/57 29
28/08/57 30

More Related Content

What's hot

Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 

Viewers also liked

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกFaii Manassanan
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดvalharnvarkiat
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนก
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Heat stroke in Thai Army
Heat stroke in Thai ArmyHeat stroke in Thai Army
Heat stroke in Thai Army
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Ppt.office syndrome
Ppt.office syndromePpt.office syndrome
Ppt.office syndrome
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
Ppt. heat stroke
Ppt. heat strokePpt. heat stroke
Ppt. heat stroke
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 

Similar to Ppt. influenza (25.8.57)

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 

Similar to Ppt. influenza (25.8.57) (20)

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 

Ppt. influenza (25.8.57)