SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
รพ.ธนบุรี1
21/07/57 1
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
• องค์การอนามัยโลก
ได้กาหนดให้วันที่ 24 มีนาคมของทุกปีเป็นวันวัณโรค
สากล เป็นการราลึกถึงวันที่นายแพทย์ Robert Koch
ค้นพบเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็นสาเหตุ
ของการป่ วยเป็นวัณโรค
21/07/57 2
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
• สาหรับวันวัณโรคสากลปี พ.ศ.2556 ประเทศไทยใช้
คาขวัญในการรณรงค์ คือ
Stop TB in my lifetime : We want “Thailand Free
TB” “เมืองไทย ปลอดวัณโรค”
21/07/57 3
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
• องค์การอนามัยโลก จัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 22 ประเทศ ที่มี
จานวนผู้ป่ วยวัณโรคมากติดอันดับโลก
• ปัจจุบันมีคนไทยป่ วยเป็นวัณโรครายใหม่ปีละไม่น้อยกว่า
86,000 ราย และเมื่อรวมกับรายเก่าที่เป็นอยู่แล้วคาดว่ามีคนไทย
ป่ วยเป็นวัณโรคถึง 110,000 ราย ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วประชาชนไทย
1 ใน 3 ราย มีการติดเชื้อวัณโรคแล้ว
21/07/57 4
แนวโน้มปัญหาวัณโรคของไทย
• แนวโน้มปัญหาวัณโรคของไทย อาจรุนแรงขึ้นกว่าเดิมอีกมาจาก2
สาเหตุ คือ
1. การแพร่ระบาดของเชื้อ HIV ซึ่งทาให้ผู้ติดเชื้อมีภูมิต้านทานต่ามี
โอกาสติดเชื้อวัณโรคได้สูงกว่าคนปกติถึง37 เท่า ที่ผ่านมาพบได้ร้อยละ
16
2. จากปัญหาเชื้อดื้อยาเพราะผู้ป่ วยขาดยา กินยาไม่ต่อเนื่อง ทาให้เชื้อดื้อ
ยาเพิ่มขึ้น คาดว่าขณะนี้ผู้ป่ วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน1,920 ราย
21/07/57 5
แนวโน้มปัญหาวัณโรคของไทย
• ในปี 2553 พบผู้ป่ วยวัณโรครายใหม่ที่อยู่ในระยะแพร่เชื้อสูง เข้ารักษาได้
ร้อยละ 76 ซึ่งสูงกว่าที่องค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ที่ร้อยละ 70
• โดยมีผู้ป่ วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษามากกว่า64,000 ราย ได้รับการรักษา
จนหายขาดร้อยละ 86 เสียชีวิตร้อยละ 8 และมีอัตราการขาดยา กินยาไม่
ครบสูตรเดิม 6 เดือน ร้อยละ 5
• ทาให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยา โดยหากเชื้อชนิดดื้อยาแพร่กระจายออกไปจะ
ทาให้การรักษายุ่งยาก มีโอกาสเสียชีวิตสูง
21/07/57 6
1. เร่งรัดการค้นหาผู้ป่ วยในกลุ่มเสี่ยง เช่นผู้ติดเชื้อเอดส์ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน
ผู้ป่ วยเบาหวาน ผู้ต้องขัง และพัฒนาการวินิจฉัยที่รวดเร็ว
2. พัฒนาคุณภาพการรักษาด้วยระบบยาระยะสั้น โดยมีพี่เลี้ยงกากับการกินยา
ทุกวัน เพื่อป้ องกันไม่ให้มีปัญหาเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
3. พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น วัคซีนป้ องกันวัณโรคที่มีประสิทธิภาพมากกว่า
BCG ตั้งเป้ าในปี 2555 ลดอัตราการตายจากเดิมร้อยละ 8 ของผู้ป่ วยปี 2553
เหลือร้อยละ 5 หรือไม่เกิน 6,000 ราย และลดอัตราการขาดยาเหลือไม่เกิน
ร้อยละ 3
21/07/57 7
กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้ 3 มาตรการหลัก เพื่อเร่งรัดให้เมืองไทย
ปลอดวัณโรค (Thailand free TB) เน้นการค้นหาผู้ป่ วยเชิงรุก มารับ
การรักษาโดยเร็วและกินยาครบสูตรจนหายขาด
กรอบการดาเนินงานป้ องกันควบคุมโรควัณโรคในปี
2556
21/07/57 8
การเร่งค้นหา รีบรักษาอย่าง
ถูกต้อง ป้ องกันวัณโรคดื้อยา
และมีจุดเน้นคือ
“ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตาย
น้อยกว่า 5 ขาดยาเป็ น 0”
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
• เป็นโรคติดต่อเป็นได้กับ
อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย
• แต่โดยมากมักเป็นที่ปอด
มักจะจับที่ปอดข้างหนึ่งก่อน
แล้วลามไปอีกข้างหนึ่ง
21/07/57 9
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
21/07/57 10
สาเหตุของวัณโรค
• วัณโรค ( Tuberculosis หรือ TB ) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อ
แบคทีเรีย ชนิด Mycobacterium หลายชนิดที่พบบ่อยที่สุดและ
เป็นปัญหาในประเทศไทย คือ M. Tuberculosis
• สาหรับ M.afaricanum พบได้ในแถบอาฟริกา
• ส่วน M.bovis นั้นมักก่อให้เกิดโรคในสัตว์ ซึ่งอาจติดต่อมาถึงคน
ได้โดยการบริโภคนมที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
21/07/57 11
This is an acid fast stain of Mycobacterium tuberculosis (MTB).
Note the red rods - hence the terminology for MTB in histological
sections or smears: acid fast bacilli.
21/07/57 12
วัณโรค แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
1. วัณโรคปอด ( Pulmonary TB )
1.1 วัณโรคปอดย้อมเสมหะพบเชื้อ (Pulmonary TB.smear
positive ) คือ
- ตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์พบเชื้ออย่างน้อย 2 ครั้ง
- ตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์พบเชื้อ1ครั้ง ร่วมกับผล
ภาพรังสีทรวงอกบ่งชี้ว่าเป็นวัณโรค
- ตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์พบเชื้อ 1 ครั้ง ร่วมกับการเพาะ
เชื้อวัณโรคให้ผลบวก
21/07/57 13
วัณโรค แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
1.2 วัณโรคย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ(Pulmonary TB.smear negative )
- ผู้ป่ วยที่มีอาการสงสัยเป็นวัณโรคและตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์
อย่างน้อย 3 ครั้ง
- ไม่พบเชื้อ แต่มีผลภาพรังสีทรวงอกเข้าได้กับวัณโรคและแพทย์
ตัดสินใจรักษาวัณโรค
- ผู้ป่ วยมีผลเพาะเชื้อวัณโรคให้ผลบวก แต่ตรวจเสมหะด้วยกล้อง
จุลทรรศน์ไม่พบเชื้อ
21/07/57 14
วัณโรค แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
2. วัณโรคนอกปอด ( Extrapulmonary TB )
- แพทย์ตัดสินใจรักษาวัณโรคพึงระลึกอยู่เสมอว่าวัณโรคปอดย้อม
เสมหะพบเชื้อมีโอกาสแพร่เชื้อโรคมากกว่าวัณโรคย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ
ถึง 10 เท่า
- ในขณะที่วัณโรคนอกปอดแทบจะไม่มีโอกาสแพร่เชื้อเลยผู้ป่ วยวัณโรค
ปอดและวัณโรคนอกปอดรวมกัน ให้วินิจฉัยผู้ป่ วยรายนั้นว่าเป็นวัณโรค
ปอด
21/07/57 15
อาการของวัณโรค
1. ไอ ระยะแรกๆ ไอแห้งๆ ไอนานกว่า 3 อาทิตย์ ต่อมามีเสมหะ เจ็บชาย
โครงขณะไอ บางรายเป็นมากเสมหะจะเหนียวมีสีเขียวกลิ่นเหม็น ถ้า
ไอมากๆ บางครั้งมีเลือดปนเสมหะออกมาด้วย
2. ไข้ มักมีไข้ตอนบ่าย แต่ถ้าได้พักผ่อนมากๆ ไข้จะหายไปเอง ลักษณะ
ของไข้จะขึ้นลงเปลี่ยนแปลงไปแต่ละวัน มีไข้ต่าๆ
21/07/57 16
อาการของวัณโรค
3. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรงเล็กน้อย
4. น้าหนักตัวลดลง โดยเฉพาะในรายที่โรคกาลังเป็นมากขึ้น หรือรุนแรง
มักจะผอมซีด
5. มีเหงื่อออกผิดปกติในตอนกลางคืน อาจจะมีตั้งแต่ระยะเริ่มเป็นวัณโรค
โดยเฉพาะระยะที่มีไข้
21/07/57 17
อาการของวัณโรค
6. เบื่ออาหาร บางรายพบว่า การย่อยอาหารไม่ปกติ โดยผู้ป่ วยจะให้ประวัติ
ว่ามีท้องเสียบ่อยๆ หรือมีคลื่นไส้อาเจียน
7. ไอมีเลือดปน ( Hemoptysis ) เลือดมักออกเวลาไอ อาจออกเพียงเล็กน้อย
บางครั้งออกเป็นเลือดสดๆ
21/07/57 18
วัณโรคติดต่อได้อย่างไร
• วัณโรค สามารถแพร่ไปสู่คนข้างเคียงได้ด้วยการไอ
• การไอทาให้เกิดละอองฝอยที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (Droplet
nuclei) ลอยในอากาศมีการสูดดมเข้าสู่หลอดลมฝอยสวนปลาย
• หลังจากนั้นเชื้อวัณโรคจะเข้าไปที่ต่อมน้าเหลืองที่ขั้วปิดและมีการ
แพร่กระจายเชื้อไปที่อวัยวะต่างๆทาให้เกิดอาการของโรค
21/07/57 19
การวินิจฉัย
• การซักประวัติตรวจร่างกาย
• การตรวจเสมหะด้วยวิธีย้อมเชื้อ ( Direct smear ) การตรวจเสมหะด้วย
กล้องจุลทรรศน์ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการวินิจฉัย
• การถ่ายภาพรังสีทรวงอก( Chest X – ray ) ซึ่งแสดงถึงรอยโรคของวัณ
โรค
21/07/57 20
การวินิจฉัย
• การเพาะเชื้อจากเสมหะ ( Sputum culture ) เป็นการตรวจที่มี
ความจาเพาะสูงสูงสุด ถือเป็น Gold Standard ของการวินิจฉัย
วัณโรคในกรณีที่ผลDirect smear เป็นบวกทั้ง 2 ครั้ง
• การทดสอบทูเบอร์คูลิน ผู้ป่ วยวัณโรคร้อยละ 93 จะให้ผลบวกต่อการ
ทดสอบทูเบอร์คูลิน วิธีฉีดเข้าผิวหนัง (Mantoux Test) ยังคงถือเป็นวิธี
มาตรฐานและถือปฏิกิริยาขนาด Induration 10 มม.ขึ้นไป
21/07/57 21
วัตถุประสงค์ของการรักษาผู้ป่ วยวัณโรค
• รักษาผู้ป่ วยให้หาย
• ป้ องกันการเสียชีวิต
• ป้ องกันการกลับเป็นซ้า
• ป้ องกันการเกิดเชื้อดื้อยา
• ลดการแพร่ระบาดเชื้อวัณโรค
21/07/57 22
การรักษา
• วัณโรคสามารถรักษาให้หายได้ ใช้เวลาเพียง6 – 8 เดือน โดยการ
รับประทานอย่างสม่าเสมอ ไม่ขาดยา
• ยาที่สาคัญในการรักษาวัณโรคในปัจจุบัน คือ ยา Isoniazid ,
Rifampicin, Ethambutol, Pyrazinamide , Steptomycin
21/07/57 23
การปฏิบัติตัวเมื่อป่ วยเป็นวัณโรค
• กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งอย่างสม่าเสมอจนครบกาหนดและ
ไปพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
• เมื่อกินยาไปประมาณ 2 สัปดาห์ อาการไอและอาการต่างๆ จะลดลง รู้สึก
ว่าอาการดีขึ้น แต่เชื้อวัณโรคยังไม่หมดไป อย่าหยุดยากินเองเป็นอันขาด
21/07/57 24
การปฏิบัติตัวเมื่อป่ วยเป็นวัณโรค
• ควรงดเหล้า บุหรี่ และยาเสพติด เพราะสิ่งเหล่านี้จะทาลายสุขภาพให้
เสื่อมโทรม
• ปิดปากและจมูก เวลาไอหรือจาม เพื่อป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่
ผู้อื่น
• บ้วนเสมหะลงในภาชนะหรือกระป๋ องที่มีฝาปิดมิดชิด ทาลายเสมหะโดย
นากระป๋ องไป ตั้งไฟให้เดือดอย่างน้อย 5 นาที เพื่อฆ่าเชื้อโรค
21/07/57 25
การปฏิบัติตัวเมื่อป่ วยเป็นวัณโรค
• ผู้ที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ป่ วยวัณโรคปอด ควรได้รับการตรวจเสมหะและ
เอกซเรย์ปอด
• สามารถกินยารักษาวัณโรคร่วมกับยาอื่นๆ ได้
• กินอาหารได้ทุกชนิด ไม่มีของแสลงต่อโรค
• จัดสถานที่พักอาศัยให้อากาศถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องถึง
21/07/57 26
ปัจจัยสาคัญต่อการป่ วยเป็นวัณโรค
• อยู่ร่วมกับผู้ป่ วยวัณโรคเช่น พักอาศัยบ้านเดียวกัน,ทางานร่วมกัน
• ผู้ป่ วยติดเชื้อเอชไอวี หรือป่ วยเป็นโรคเอดส์
• ผู้ป่ วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน, โรคตับ หรือโรคไต
• ผู้ป่ วยที่รับประทานยากดภูมิคุ้มกันนานๆ เช่น ยากลุ่มสเตรียรอยด์
• การจัดลักษณะที่อยู่อาศัยหรือที่ทางานที่ใช้เครื่องปรับอากาศตลอดเวลา
หรือสภาพแวดล้อมที่อากาศถ่ายเทไม่สะดวก
• การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และการเสพสารเสพติด
21/07/57 27
ควรปฏิบัติตัวอย่างไร ไม่ให้เป็นวัณโรค
• ควรตรวจเช็คร่างกาย โดยการเอ็กซเรย์ปอดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
• นาเด็กแรกเกิดไปรับการฉีดวัคซีน BCG ที่โรงพยาบาลทุกแห่งหรือสถาน
บริการสาธารณสุขใกล้บ้าน
• หากมีอาการสงสัยป่ วยเป็นวัณโรค ควรรีบไปตรวจร่างกายที่โรงพยาบาล
ของรัฐทุกแห่งหรือสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน
21/07/57 28
ควรปฏิบัติตัวอย่างไร ไม่ให้เป็นวัณโรค
• รักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และกิน
อาหารที่มีประโยชน์
• หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ ซึ่งจะทาให้ภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายเสื่อมลง มีโอกาสป่ วยเป็นวัณโรคได้ง่ายขึ้น
วัณโรครักษาหายได้ หากกินยาต่อเนื่อง และสม่าเสมอใช้เวลาเพียง 6-8 เดือน
เท่านั้น ผู้ป่ วยวัณโรคหากได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง ขาดยา หรือกินยาไม่ต่อเนื่องจะ
ทาให้เชื้อวัณโรคดื้อยา ทาให้ยากต่อการรักษา และอาจแพร่เชื้อวัณโรคดื้อยาสู่ผู้อื่น
21/07/57 29
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ตรวจสอบความถูกต้องของสูตรยา และขนาดยาต่อน้าหนักตัวผู้ป่ วย
ก่อนรักษาเสมอเพราะยาหลายชนิด ทาให้เกิดผลข้างเคียงมากขึ้นใน
ขนาดยาที่สูงกว่าการรักษาปกติ
• ต้องอธิบายให้ผู้ป่ วย,ญาติ, พี่เลี้ยง ทราบถึงโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
ต่อตับจากกยาต้านวัณโรคและสอนให้สังเกตอาการที่เป็นตัวบ่งการ
เกิดภาวะแทรกซ้อนง่ายๆให้ทราบ เช่น ถ้ามีอาการตัวเหลือง – ตา
เหลือง , คลื่นไส้อาเจียนหรือเบื่ออาหารมาก ให้หยุดยาและพบแพทย์
ทันที โดยสอนก่อนให้ยาทุกครั้ง
21/07/57 30
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ผู้ป่ วยต้องงดดื่มสุราเด็ดขาด
• ในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงต้องตรวจ liver function tests ก่อนการ
รักษาเสมอ เช่น
- ผู้สูงอายุ(มากกว่า 50 ปี), สตรีมีครรภ์ ,ดื่มสุรามาก
- มี liver enzymes ผิดปกติก่อนการรักษา,
- ติดเชื้อโรคเอดส์,
- ได้ยาอย่างอื่นที่มีพิษต่อตับร่วมด้วย เป็นต้น
21/07/57 31
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ในรายที่มีอาการสงสัยภาวะแทรกซ้อนจากตับให้แพทย์ส่งตรวจ liver
function tests ทุกราย
• และในรายที่ liver function tests ผิดปกติก่อนรักษาจะต้องติดตามดู
ผลการทางานของตับอย่างใกล้ชิด ในช่วงแรกๆอาจต้องตรวจเลือดทุก
สัปดาห์
• ถ้ามีความผิดปกติของตับที่รุนแรง คือ มีอาการตับอักเสบชัดเจน
หรือค่า liver enzymes สูง เกิน 3-5 เท่า
หรือ Bilirubin เกิน 3 mg % ให้หยุดยาทันที
21/07/57 32
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ในกรณีที่จาเป็นต้องให้ยาในการรักษาเร่งด่วน ให้ใช้ยาที่ไม่มีพิษต่อตับ
เช่น Ethambutol , Streptomycin, Ofloxacin เป็นต้น
• การทดลองให้ยาใหม่ (Re-challenge test) ต้องรอให้ตับและผู้ป่ วยมี
สภาพที่ดีก่อน โดยทั่วไปหลังหยุดยา 1-2 สัปดาห์ผู้ป่ วยจะมีอาการดี
ขึ้นมาก แต่บางรายจะมีอาการนานกว่านั้น
• ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก ๆ เช่น Fulminant hepatitis
ถ้าไม่มีเหตุผลที่จาเป็นจริงๆไม่ควรทดลองให้ยาที่มีพิษต่อตับใหม่
21/07/57 33
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ในรายที่มีตับอักเสบ ให้ตรวจ liver function tests อย่างน้อยทุก 7 วัน
• ในบางกรณี เช่น ผู้ป่ วยที่แข็งแรงดี ไม่มีโรคประจาตัว ,ไม่ดื่มสุราเป็น
ประจา อยู่ในวัยหนุ่ม – สาว ถ้ามีอาการตับอักเสบไม่รุนแรงมาก และ
เป็นวัณโรคที่ไม่รุนแรง หลังจากหยุดยา 1-2 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้
ยาวัณโรคชนิดเดิมและขนาดเดิม แต่จะต้องอธิบายถึงอาการแทรก
ซ้อนให้ผู้ป่ วยเข้าใจอย่างดี และติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิด (ไม่ควร
ห่างเกินสัปดาห์ละครั้ง)
21/07/57 34
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ส่วนผู้ป่ วยที่อายุมากกว่า 50 ปีถ้ามีพิษต่อตับแบบ Hepatocellular
ไม่ควรทดลองยาซ้าใหม่ โดยให้ยาเดิมและขนาดเดิมพร้อมกันทุกชนิด
แบบนี้
• ผู้ป่ วยที่เป็นวัณโรคตับจะมี Liver function tests ผิดปกติ
ตั้งแต่ก่อนรักษาสามารถให้ยารักษาวัณโรคตามปกติได้
โดย Liver function tests จะค่อย ๆ กลับมาเป็นปกติ
แต่ต้องติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน
21/07/57 35
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อน
จากยาต้านวัณโรค
• ถ้าผู้ป่ วยกินยา Phenobarbitol และ ยาในกลุ่ม Phenothiazine ควร
หยุดยาเหล่านี้ เพราะยาจะไปเพิ่ม Metabolite ของ Isoniazid ทาให้
พิษของตับมากขึ้น
• ไม่ควรให้ Isoniazid ร่วมกับ Rifampicin ทันทีหลังผ่าตัดใหญ่ที่ได้
General anesthesia เพราะมีโอกาสทาให้เกิดพิษต่อตับมากขึ้น
21/07/57 36
การทาRe-challenge test
• คือการให้ยาเข้าไปใหม่โดยไม่รู้ว่ายาชนิดใดที่ทาให้เกิดปัญหากับผู้ป่ วย
• โดยอาจจะมีจุดประสงค์อันหนึ่งในการทดสอบว่าผู้ป่ วยแพ้หรือมีปัญหา
กับยาอะไร
• ดังนั้นสิ่งที่ต้องคานึงเป็นอันดับแรกเสมอคือความปลอดภัยของผู้ป่ วย
• เช่นในกรณีที่ผู้ป่ วยแพ้ยารุนแรงแบบSteven Johnson Syndrome
• ผู้ปวยมีภาวะ Fulminant hepatitis จากยา
• ไม่ควรทาการทดสอบถ้าไม่มีเหตุอันควรทีจาเป็นจริง ๆ
21/07/57 37
อดีตที่ผ่านมา…ของผู้ป่ วย
• ใช้เวลารักษานาน (18-24 เดือน)
• ยามาก / ฤทธิ์ข้างเคียงมาก
• การติดต่อสถานบริการไม่สะดวก / ขั้นตอนมาก
• เสียเงิน / ค่ายาแพง
• ไม่มีเงิน / ค่าเดินทาง
21/07/57 38
อดีตที่ผ่านมา…ของผู้ป่ วย
• ไม่มีญาติ / ผู้สูงอายุ
• สถานบริการไม่มียาจ่ายสม่าเสมอ
• ไม่มีระบบนัดหมาย / ติดตามที่เหมาะสม
• เวลาให้บริการไม่สะดวก (เวลาราชการ)
• ความไม่เสมอภาค
21/07/57 39
ส่งผลให้….
21/07/57 40
• การรักษาไม่สม่าเสมอ
• ไม่ได้รักษา
• ผู้ป่ วยมาก/ตาย
• ขาดยา/ดื้อยา
แก้ไขได้ด้วย DOTS
DOTS กับ DOT ต่างกันอย่างไร
1. พันธสัญญา
2. การวินิจฉัยเน้น bacteriology (=direct smear และ culture)
3. การรักษาแบบ supportive และ supervise (=dot)
4. ยามีคุณภาพและไม่ขาดแคลน
5. บันทึก/รายงานที่ดี, สามารถประเมินผลกระทบได้
21/07/57 41
DOTS: เป็น brand name ของกลยุทธ์ที่ใช้ต่อสู้กับวัณโรค มี 5 ยุทธวิธี
DOT คือ
21/07/57 42
เป็นการกินยาภายใต้การสังเกตโดยตรง
มีพยานรู้เห็น
มีพี่เลี้ยง
DOT ย่อมาจาก
•D : directly
•O : observe
•T : treatment
21/07/57 43
การรักษาวัณโรค เป็นแนวคิด
“การรักษาเพื่อการควบคุมโรค”
To cure is the best prevention
 คุณหาย เราปลอดภัย
21/07/57 44
“ง้อ”
DOT ควรใช้กับผู้ป่ วยประเภทใด
•PTB SS. Positive
•MDR.TB
•PTB.SS. Negative
21/07/57 45
หลักในการใช้ยารักษาวัณโรค
• ต้องใช้ยาอย่างน้อย3-4 ขนานพร้อมกัน
• ต้องให้ยาในขนาดที่เพียงพอ
• ผู้ป่ วยต้องกินยาอย่างสม่าเสมอ
• ระยะเวลาที่กินยาต้องครบถ้วนตามมาตรฐานการรักษา
21/07/57 46
วัณโรคกินยาให้ครบ จบด้วยหาย
21/07/57 47
พี่เลี้ยงกากับการกินยา
• เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
• ผู้นาชุมชน
• อาสาสมัครสาธารณสุข
• สมาชิกในครอบครัว
21/07/57 48
เป็นใครได้บ้าง………
สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่ วยวัณโรคพึงปฏิบัติ
• มีความรู้เกี่ยวกับวัณโรค : อาการ การแพร่กระจายเชื้อวัณโรค การรักษา
การป้ องกัน
• ไม่แสดงท่าทีรังเกียจผู้ป่ วย
• เอาใจใส่ผู้ป่ วย ถ้าติดตามถึงบ้านผู้ป่ วยได้จะดีมาก
• ให้ความรู้ความเข้าใจกับครอบครัวของผู้ป่ วย
• ติดตามการกินยาอย่างสม่าเสมอ และให้ผู้ป่ วยกินยาต่อหน้า
• หมั่นไต่ถามอาการผู้ป่ วยให้กาลังใจผู้ป่ วย
21/07/57 49
สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่ วยวัณโรคพึงปฏิบัติ
• หมั่นย้าเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่ วย
• ทาเครื่องหมายในบัตรบันทึกการกินยา “ดอทการ์ด” ทุกครั้ง
• ให้ข้อมูลผู้ป่ วยแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
• รักษาความลับผู้ป่ วย
• ทาตนให้ผู้ป่ วยนับถือ
• แนะนาการปฏิบัติตัวระหว่างรักษา
21/07/57 50
สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่ วยวัณโรคพึงปฏิบัติ
• ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับ
การแพร่เชื้อวัณโรคว่า แพร่ทางการหายใจ จาม ควรระวังไอจามให้
ปิดปาก อย่าบ้วนน้าลายเปรอะเปื้อน
การทาลายเชื้อ โดยบ้วนน้าลายใส่ภาชนะ แล้วเผาไฟ ภาชนะควรลวก
น้าร้อน เสื้อผ้าสิ่งของคนไข้ควรลวกด้วยน้าเดือด หรือผึ่งแดดตอน
เที่ยง เพื่อให้แสงแดดทาลายเชื้อโรค
กรณีผู้ป่ วยย้ายที่อยู่ ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องให้ทราบภายใน 24
ชั่วโมง
21/07/57 51
การป้ องกันตนเองของพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่ วย
• มีความพร้อมทั้งสุขภาพกายและใจ คือ ร่างกายแข็งแรง จิตใจพร้อม
ช่วยเหลือ
• มีความรู้เรื่องโรคและการป้ องกันโรค
• แนะนาให้ผู้ป่ วยถือและใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปาก หรือใช้หน้ากากอนามัย
เมื่อไอ จาม ในขณะพูดคุยกับผู้ป่ วย
• ดูแลผู้ป่ วยในสถานที่โล่งแจ้ง อากาศถ่ายเทได้ดี
• ไม่ควรเปิดพัดลมขณะพูดคุยกับผู้ป่ วย
• ล้างมือทุกครั้งหลังจากกลับจากบ้านผู้ป่ วย
21/07/57 52
สธ.เผย วัณโรคระบาดรุนแรงขึ้น!! สคร.เชียงใหม่เร่งออกให้
ความรู้กับคนในชุมชน
21/07/57 53
21/07/57 54
คาถามจากผู้ป่ วยเกี่ยวกับวัณโรค
• ทาไมจึงต้องใช้เวลานานมากในการตรวจหาว่ามีเชื้อวัณโรคหรือเปล่า?
• ไม่เคยรู้จักคนเป็นวัณโรคเลย– แต่ทาไมจึงติดโรคได้ล่ะ?
• ทาไมยังไม่หายอีก รักษามาตั้งนานแล้ว?
• ใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพดีมาตลอด– ทาไมถึงเป็นวัณโรคได้?
21/07/57 55
ช่องทางการติดต่อ…
Facebook:
prachaya56@hotmail.com
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21/07/57 56

More Related Content

What's hot

Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 

What's hot (20)

Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 

Viewers also liked

Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55taskk
 
รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์viruntree
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกChoo Sriya Sriya
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Pathogenesis of tuberculosis
Pathogenesis of tuberculosis Pathogenesis of tuberculosis
Pathogenesis of tuberculosis
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55
 
รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์
 
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายก
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
10 miliary nodules
10 miliary nodules10 miliary nodules
10 miliary nodules
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
disseminated TB
disseminated TBdisseminated TB
disseminated TB
 

Similar to Ppt. วัณโรค

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกChoo Sriya Sriya
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Choo Sriya Sriya
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกKingchat Laolee
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)LittleThing CalledLove
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 

Similar to Ppt. วัณโรค (20)

01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออก
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
STI for Pharmacist
STI for PharmacistSTI for Pharmacist
STI for Pharmacist
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 

More from Prachaya Sriswang

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Ppt. วัณโรค

Editor's Notes

  1. การตรวจเสมหะด้วยวิธีย้อมเชื้อ ( Direct smear ) การตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการวินิจฉัย วัณโรคปอดมีความไว (sensitivity) ไม่มากนักแต่ก็มีความจาเพาะ ( specitivity ) สูงมาก การตรวจควรกระทาในผู้ที่มีอาการสงสัยทุกราย รวมถึงผู้ที่สงสัยว่าเป็นวัณโรคนอกปอด เพราะส่วนหนึ่งของผู้ป่วยวัณโรคนอกปอด มักเป็นวัณโรคปอดร่วมด้วย การตรวจเสมหะควรตรวจอย่างน้อย 3 ครั้ง เพราะหากตรวจน้อยกว่านี้อาจผิดพลาดในการวินิจฉัยผู้ป่วยระยะแพร่บางรายได้ 3. การถ่ายภาพรังสีทรวงอก ( Chest X – ray ) ซึ่งแสดงถึงรอยโรคของวัณโรค พบได้หลายลักษณะด้วยกัน เช่น เป็นตุ่ม ( Nodule ) เป็นปื้น( Pathหรือ Infiltration ) เป็นแผลโพรง ( Cavity ) เป็นเส้นๆ ( Fibrosis ) หรือเป็นจุดเล็กๆ กระจายทั่วปอดทั้ง 2 ข้าง ( Miliary ) มักถือเป็นหลักโดยทั่วไปว่า เมื่อพบรอยโรคใน X –ray ปอด ในผู้ป่วยคนไทย ไม่ว่าลักษณะใดจะต้องแยกโรคจากวัณโรคด้วยเสมอ รอยโรคของวัณโรคปอดอาจพบข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ รอยโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงแสดงว่า โรคยัง Active อยู่ รอยโรคที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลาห่างกันตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป แสดงว่าโรคเข้าสู่ระยะสงบ ( Quiescent ) รอยโรคที่เป็นโพรงแสดงว่ามีเชื้อวัณโรคเป็นจานวนมาก รอยโรคที่แคลเซียมเกาะ ( Calcification ) แสดงว่าโรคสงบแล้ว
  2. 4. การเพาะเชื้อจากเสมหะ ( Sputum culture ) เป็นการตรวจที่มีความจาเพาะสูงสูงสุด ถือเป็น Gold Standard ของการวินิจฉัยวัณโรคในกรณีที่ผล Direct smear เป็นบวกทั้ง 2 ครั้ง การเพาะเชื้อก็ไม่มีความจาเป็น บางครั้งอาจตรวจพบ AFB ในเสมหะ แต่ผลเพาะเชื้อปกติ ทั้งนี้ผู้ป่วยอาจได้รับยารักษาวัณโรคอยู่ก่อนแล้ว หรือเสมหะที่นาไปเพาะเชื้อ ภาชนะและอาหารเลี้ยง เชื้อ contamination 5. การทดสอบทูเบอร์คูลิน ผู้ป่วยวัณโรคร้อยละ 93 จะให้ผลบวกต่อการทดสอบทูเบอร์ คูลิน วิธีฉีดเข้าผิวหนัง (Mantoux Test) ยังคงถือเป็นวิธีมาตรฐานและถือปฏิกิริยาขนาด Induration 10 มม.ขึ้นไปเป็นเกณฑ์ตัดสินว่าติดเชื้อวัณโรคปฏิกิริยาเล็กกว่านี้ ( 5 – 9 มม. ) อาจเป็นผลจากการติดเชื้อมัยโครบัคเตรีชนิดอื่นหรือจากการฉีดวัคซีน กา
  3. t
  4. วันพุธที่ 20 มีนาคม 2556 จากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์