SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แผนการสอนสุขศึกษา
เรื่องที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารในผู้ป่ วยเบาหวานที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่1 และระยะที่2
สถานที่สอน คลินิกพิเศษโรคเบาหวาน โรงพยาบาลคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร
ผู้สอน นักโภชนาการ เวลาในการสอน 08.30-08.45 น.ทุกวัน อังคาร-พฤหัสบดี
วัตถุประสงค์ เนื้อเรื่อง กิจกรรมผู้ปฏิบัติตาม กิจกรรมผู้สอน สื่อ การประเมิน
1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสนใจ
เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การกินอาหารลดความเสี่ยงต่อ
การทาให้โรครุนแรงขึ้นและ
เกิดสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้สอนและ
ผู้ฟัง
2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานรู้ถึง
ประโยชน์ของการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการกินอาหารที่มี
น้าตาลน้อยลง
3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
สามารถนาการความรู้เรื่องการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
อาหารไปปฏิบัติตามได้อย่าง
ถูกต้อง และปลอดภัย
1. พฤติกรรมการกินอาหาร
รสชาดหวานจัดทาให้เกิด
ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นและ
เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา
2. อาหารที่ไม่ควรกินและ
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
3. วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การกินอาหารอย่างถูกวิธี
- ตั้งใจฟัง
- คิดตามและนาไป
ปฏิบัติตาม
- อธิบาย
- ยกตัวอย่างการ
ปรับและเปลี่ยน
พฤติกรรมการกิน
อาหารเพื่อให้
ผู้ป่วยปฏิบัติตาม
1. บอกกล่าวจากปาก
ผู้สอน
2. แผ่นพับความรู้
3. ภาพแผ่นพลิก
- ทาแบบประเมินความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การกินอาหารในผู้ป่วย
โรคเบาหวาน
ภาคผนวก
แผนการสอนสุขศึกษา
เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
งานผู้ป่ วยนอก / หน่วยงานโภชนาการ
ความรู้ทั่วไปกับเบาหวาน
โรคเบาหวาน เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมที่ตับอ่อน ซึงไม่สามารถผลิตหรือ
หลั่งฮอร์โมนอินซูลินออกมา ให้มากเพียงพอที่จะใช้เปลี่ยนน้าตาลที่ร่างกายได้รับจากอาหารจาพวก
แป้ง ไขมัน และโปรตีนให้เกิดเป็นพลังงาน จึงมีผลทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงมากกว่าปกติ
น้าตาลส่วนเกินก็จะถูกขับออกมาในปัสสาวะพร้อมกับน้า ทาให้ปัสสาวะบ่อยและมีจานวนมาก
ปัสสาวะมีรสหวาน เราจึงเรียกโรคนี้ว่า เบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญอาหาร
คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนแล้ว ยังมีความผิดปกติอื่น เช่น มีการสลายของสารไขมันร่วมด้วย ถ้าแบ่ง
กันง่าย ๆ ก็อาจพูดได้ว่า มี 2 ชนิด ชนิดที่ต้องพึ่งอินซูลิน และชนิดไม่ต้องพึ่งอินซูลิน
1. เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน มักเกิดขึ้นในเด็ก รูปร่างผอม เนื่องจากตับอ่อนไม่สามารถสร้าง
ฮอร์โมนอินซูลิน ไม่สามารถใช้ยาเม็ดรับประทานได้
2. เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน มักเกิดขึ้นในผู้ใหญ่ รูปร่างอ้วน เนื่องจากอินซูลินไม่สามารถ
ออกฤทธิ์ต่อผนังเซลล์ได้ดี ทา ให้เกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูง การรักษาอาจเริ่มต้นด้วยการ
ออกกาลังกาย ลดน้าหนัก และใช้ยาเม็ดชนิดทานในขั้นต่อมา คนไข้ในกลุ่มนี้อาจต้องใช้ยา
ฉีดอินซูลินบางครั้งหรือตลอดไป ถ้าไม่สามารถคุมระดับน้าตาลในเลือดได้ด้วยยาเม็ด
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด แต่ปัจจัยหลักก็คือ ร่างกายตอบสนองต่อระดับน้าตาลในเลือดที่ขึ้น ช้ากว่า
ปกติ เช่น มีการตอบสนองต่ออินซูลินต่ากว่าปกติ (ภาวะดื้ออินซูลิน) โดยเฉพาะคนที่น้าหนักเกิน
อ้วนลงพุง และออกกาลังกายน้อย
อาการและอาการแสดง
ภาวะน้าตาลชนิดนี้ ไม่มีอาการ แต่ให้คุณมองหาอาการที่แสดงว่าคุณเป็นเบาหวานแบบ
จริงๆ คือ
 กระหายน้าบ่อย
 ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะกลางคืน
 หิวบ่อย
 น้าหนักขึ้น
 อ่อนเพลีย
 ตามัว
 เมื่อเป็นแผลแล้วแผลหายช้า
 มือเท้าชา
 เหงือกอักเสบบ่อยๆ
 ติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ หรืออวัยวะสืบพันธ์บ่อยๆ
 คันตามผิวหนัง
อาหารผู้ป่ วยเบาหวาน
อาหารผู้ป่วยเบาหวานนั้น อาจแบ่งง่ายๆ เป็น 3 ประเภทคือ
ประเภทที่ 1 ห้ามรับประทาน ได้แก่ อาหารน้าตาล และ ขนมหวาน เช่น ทองหยิบ
ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา ลอดช่อง อาหารเชื่อม เค้ก ช็อกโกแลต ไอศกรีม และขนมหวานอื่นๆ
เครื่องดื่ม เครื่องดื่มประเภทน้าอัดลม น้าเขียว น้าแดง โอเลี้ยง เครื่องดื่มชูกาลัง นมข้นหวาน
น้าเกลือแร่ น้าผลไม้ซึ่งมีน้าตาลประมาณ 8-15% เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นน้ามะเขือเทศ มีน้าตาล
ประมาณ 1% ควรดื่มน้าเปล่า น้าชาไม่ใส่น้าตาล
- ถ้าดื่มกาแฟ ควรดื่มกาแฟดาไม่ควรใส่น้าตาล นมข้นหวาน หรือครีมเทียม (เช่น
คอฟฟี่เมท ซึ่งประกอบด้วยน้าตาลกลูโคส 58% น้ามันปาล์ม 33%) ควรใส่นมจืดพร่องไขมัน หรือ
น้าตาลเทียมแทน
- ถ้าดื่มนม ควรดื่มนมจืดพร่องไขมัน นมเปรี้ยวส่วนใหญ่ ไม่ใช่นมพร่องไขมัน และ
มีน้าตาลอยู่ด้วยประมาณ 15% เป็นส่วนใหญ่เช่นเดียวกับนมถั่วเหลือง
- ถ้าดื่มน้าอัดลม ควรดื่มน้าอัดลมที่ใส่น้าตาลเทียม เช่น เป็ปซี่แมก ไดเอทโค้ก เป็น
ต้น
ประเภทที่ 2 รับประทานได้แต่จากัดจานวน ได้แก่ อาหารพวกแป้ง (คาร์โบไฮเดรต)
ปัจจุบันอาหารพวกแป้งนั้นไม่จากัดจานวน ถ้าผู้ป่วยไม่อ้วนมาก เนื่องจากลดอาหารจาพวกแป้ง ทา
ให้ต้องเพิ่มอาหารพวกไขมัน ซึ่งอาจเป็นผลให้ระดับไขมันสูงและเพิ่มเนื้อสัตว์ทาให้หน้าที่ของไต
เสียไปเร็วขึ้น ในผู้ป่วยที่มีโรคไตร่วมด้วยผลไม้นั้นต้องจากัดจานวน ควรรับประทานพร้อมกับ
อาหารครั้งละ 1 ส่วน
ตัวอย่างการ ประมาณ 1 ส่วน ( แต่ละชนิดเท่ากับ 1 ส่วน ) เช่น
กล้วยน้าว้าสุก 1 ผลเล็ก อินทผาลัม 2 ผล
กล้วยหอม 1/2 ผล ลูกแพร์ 1 ผลเล็ก
กล้วยไข่ 1 ผล น้อยหน่า 1 ผลเล็ก
ส้มเขียวหวาน 1 ผล มะม่วง 1/2 ผล
มะละกอ 6 ชิ้นคา พุทรา 2 ผล
สับปะรด 6 ชิ้นคา องุ่น 10-12 ผล
แตงโม 10 ชิ้นคา เงาะ 3 ผล
แคนตาลูป 8 ชิ้นคา มังคุด 2 ผล
แตงไท 1 ถ้วย ละมุด 1 ผล
ลางสาด 5 ผล ลิ้นจี่ 3 ผล
ฝรั่ง 1 ผล ทุเรียน 1 เม็ดเล็กเนื้อบาง ๆ
ลาไย 8 ผล แอปเปิ้ล 1/2 ผล
ลูกพรุน 2 ผล ชมพู่ 5 ผล
ส้มโอ 1/5 ผล สตอเบอร์รี่ 1 ถ้วย
น้ามะพร้าวอ่อน 1 ถ้วย เนื้อมะพร้าวอ่อน 1/2 ถ้วย
ประเภทที่ 3 รับประทานได้ไม่จากัดจานวน ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด เช่น ผักกาด ผักคะน้า
ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง ถั่วงอก ทาเป็นอาหาร ตัวอย่าง เช่น ต้มจืด ยา สลัด ผัดผัก เป็นต้น อาหารเหล่านี้มี
สารอาหารต่า นอกจากนั้นยังมีกากอาหารที่เรียกว่า “ไฟเบอร์” ซึ่งทาให้การดูดซึมน้าตาลช้าลง
หลักการออกกาลังกาย ควรทาสม่าเสมอ อย่าให้ขาดตอนอย่างน้อยวันละ 16-20 นาที หรือถึง 1
ชั่วโมง จนเหงื่อออกซึม ๆ และสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ไม่ควรออกกาลังกายอย่างหักโหมและไม่ควร
ออกกาลังกายขณะหิวหรืออิ่ม
วิธีการออกกาลังกายทาได้หลายอย่าง เช่น เดินไกล ๆ วิ่ง กายบริหาร โยคะ รามวยจีน เป็นต้น จะใช้
อย่างใดควรทาตามถนัด และเหมาะสมกับวัยหรือ โรคแทรกซ้อนทางหัวใจอื่น ๆ
- อายุมาก อาจเพียงเดินหรือบริหารท่าง่าย ๆ ในรายที่มีโรคหัวใจแทรก ต้องระมัดระวังไม่ให้ออก
กาลังกายมากเกินไป และจะต้องหยุดทันทีเมื่อรู้สึกเหนื่อย หรือเจ็บแน่นหน้าอก เป็นต้น
- การทางานด้วยแรงกายก็ได้ประโยชน์ เช่น ทาสวน ทานา ทาไร่ เดินไกล ตักน้า ขุดดิน เข็นรถ เป็น
ต้น แต่ต้องมากพอให้มีเหงื่อออก และทาติดต่อกันอย่างน้อย 15 นาที ทาวันละครั้งหรืออย่างน้อย วัน
เว้นวัน
*หยุดออกกาลังกายทันทีเมื่อมีอาการ
 ตื่นเต้นกระสับกระส่าย
 มือสั่น ใจสั่น
 เหงื่อออกมากผิดปกติ อ่อนเพลีย
 ปวดศีรษะ ตาพร่า หิว
 เจ็บแน่นหน้าอก หรือ เจ็บที่หน้าอกร้าวไปที่แขน คอ ขากรรไกร
 หายใจหอบมากผิดปกติ
*ข้อควรระวัง
สาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลังกายควรเริ่มต้นที่ละน้อยตามกาลังของตนเองก่อน อย่าให้หักโหม
หรือเหนื่อยเกินไป และค่อย ๆ เพิ่มขึ้นทีละน้อย
ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นมานาน หรือมีโรคแทรกซ้อนหรือเป็นผู้สูงอายุก่อนจะเริ่มออกกาลัง
กาย ควรปรึกษาแพทย์ผู้รักษาก่อน

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 

Viewers also liked

งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากnative
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7norrakamol
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 

Similar to อาหาร Dm

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม BKM117
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
น้ำปั่นต้านมะเร็ง
น้ำปั่นต้านมะเร็งน้ำปั่นต้านมะเร็ง
น้ำปั่นต้านมะเร็งSuchart Sriwichai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1Sutthinee Sudchai
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 

Similar to อาหาร Dm (20)

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
น้ำปั่นต้านมะเร็ง
น้ำปั่นต้านมะเร็งน้ำปั่นต้านมะเร็ง
น้ำปั่นต้านมะเร็ง
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
Banana
BananaBanana
Banana
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ PcCAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcCAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 

อาหาร Dm

  • 1. แผนการสอนสุขศึกษา เรื่องที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารในผู้ป่ วยเบาหวานที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่1 และระยะที่2 สถานที่สอน คลินิกพิเศษโรคเบาหวาน โรงพยาบาลคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผู้สอน นักโภชนาการ เวลาในการสอน 08.30-08.45 น.ทุกวัน อังคาร-พฤหัสบดี วัตถุประสงค์ เนื้อเรื่อง กิจกรรมผู้ปฏิบัติตาม กิจกรรมผู้สอน สื่อ การประเมิน 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสนใจ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกินอาหารลดความเสี่ยงต่อ การทาให้โรครุนแรงขึ้นและ เกิดสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้สอนและ ผู้ฟัง 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานรู้ถึง ประโยชน์ของการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการกินอาหารที่มี น้าตาลน้อยลง 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถนาการความรู้เรื่องการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน อาหารไปปฏิบัติตามได้อย่าง ถูกต้อง และปลอดภัย 1. พฤติกรรมการกินอาหาร รสชาดหวานจัดทาให้เกิด ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นและ เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา 2. อาหารที่ไม่ควรกินและ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง 3. วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกินอาหารอย่างถูกวิธี - ตั้งใจฟัง - คิดตามและนาไป ปฏิบัติตาม - อธิบาย - ยกตัวอย่างการ ปรับและเปลี่ยน พฤติกรรมการกิน อาหารเพื่อให้ ผู้ป่วยปฏิบัติตาม 1. บอกกล่าวจากปาก ผู้สอน 2. แผ่นพับความรู้ 3. ภาพแผ่นพลิก - ทาแบบประเมินความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกินอาหารในผู้ป่วย โรคเบาหวาน
  • 2. ภาคผนวก แผนการสอนสุขศึกษา เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ งานผู้ป่ วยนอก / หน่วยงานโภชนาการ ความรู้ทั่วไปกับเบาหวาน โรคเบาหวาน เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมที่ตับอ่อน ซึงไม่สามารถผลิตหรือ หลั่งฮอร์โมนอินซูลินออกมา ให้มากเพียงพอที่จะใช้เปลี่ยนน้าตาลที่ร่างกายได้รับจากอาหารจาพวก แป้ง ไขมัน และโปรตีนให้เกิดเป็นพลังงาน จึงมีผลทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงมากกว่าปกติ น้าตาลส่วนเกินก็จะถูกขับออกมาในปัสสาวะพร้อมกับน้า ทาให้ปัสสาวะบ่อยและมีจานวนมาก ปัสสาวะมีรสหวาน เราจึงเรียกโรคนี้ว่า เบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญอาหาร คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนแล้ว ยังมีความผิดปกติอื่น เช่น มีการสลายของสารไขมันร่วมด้วย ถ้าแบ่ง กันง่าย ๆ ก็อาจพูดได้ว่า มี 2 ชนิด ชนิดที่ต้องพึ่งอินซูลิน และชนิดไม่ต้องพึ่งอินซูลิน 1. เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน มักเกิดขึ้นในเด็ก รูปร่างผอม เนื่องจากตับอ่อนไม่สามารถสร้าง ฮอร์โมนอินซูลิน ไม่สามารถใช้ยาเม็ดรับประทานได้ 2. เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน มักเกิดขึ้นในผู้ใหญ่ รูปร่างอ้วน เนื่องจากอินซูลินไม่สามารถ ออกฤทธิ์ต่อผนังเซลล์ได้ดี ทา ให้เกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูง การรักษาอาจเริ่มต้นด้วยการ ออกกาลังกาย ลดน้าหนัก และใช้ยาเม็ดชนิดทานในขั้นต่อมา คนไข้ในกลุ่มนี้อาจต้องใช้ยา ฉีดอินซูลินบางครั้งหรือตลอดไป ถ้าไม่สามารถคุมระดับน้าตาลในเลือดได้ด้วยยาเม็ด สาเหตุ ไม่ทราบแน่ชัด แต่ปัจจัยหลักก็คือ ร่างกายตอบสนองต่อระดับน้าตาลในเลือดที่ขึ้น ช้ากว่า ปกติ เช่น มีการตอบสนองต่ออินซูลินต่ากว่าปกติ (ภาวะดื้ออินซูลิน) โดยเฉพาะคนที่น้าหนักเกิน อ้วนลงพุง และออกกาลังกายน้อย อาการและอาการแสดง ภาวะน้าตาลชนิดนี้ ไม่มีอาการ แต่ให้คุณมองหาอาการที่แสดงว่าคุณเป็นเบาหวานแบบ จริงๆ คือ  กระหายน้าบ่อย  ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะกลางคืน
  • 3.  หิวบ่อย  น้าหนักขึ้น  อ่อนเพลีย  ตามัว  เมื่อเป็นแผลแล้วแผลหายช้า  มือเท้าชา  เหงือกอักเสบบ่อยๆ  ติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ หรืออวัยวะสืบพันธ์บ่อยๆ  คันตามผิวหนัง อาหารผู้ป่ วยเบาหวาน อาหารผู้ป่วยเบาหวานนั้น อาจแบ่งง่ายๆ เป็น 3 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 ห้ามรับประทาน ได้แก่ อาหารน้าตาล และ ขนมหวาน เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา ลอดช่อง อาหารเชื่อม เค้ก ช็อกโกแลต ไอศกรีม และขนมหวานอื่นๆ เครื่องดื่ม เครื่องดื่มประเภทน้าอัดลม น้าเขียว น้าแดง โอเลี้ยง เครื่องดื่มชูกาลัง นมข้นหวาน น้าเกลือแร่ น้าผลไม้ซึ่งมีน้าตาลประมาณ 8-15% เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นน้ามะเขือเทศ มีน้าตาล ประมาณ 1% ควรดื่มน้าเปล่า น้าชาไม่ใส่น้าตาล - ถ้าดื่มกาแฟ ควรดื่มกาแฟดาไม่ควรใส่น้าตาล นมข้นหวาน หรือครีมเทียม (เช่น คอฟฟี่เมท ซึ่งประกอบด้วยน้าตาลกลูโคส 58% น้ามันปาล์ม 33%) ควรใส่นมจืดพร่องไขมัน หรือ น้าตาลเทียมแทน - ถ้าดื่มนม ควรดื่มนมจืดพร่องไขมัน นมเปรี้ยวส่วนใหญ่ ไม่ใช่นมพร่องไขมัน และ มีน้าตาลอยู่ด้วยประมาณ 15% เป็นส่วนใหญ่เช่นเดียวกับนมถั่วเหลือง - ถ้าดื่มน้าอัดลม ควรดื่มน้าอัดลมที่ใส่น้าตาลเทียม เช่น เป็ปซี่แมก ไดเอทโค้ก เป็น ต้น ประเภทที่ 2 รับประทานได้แต่จากัดจานวน ได้แก่ อาหารพวกแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) ปัจจุบันอาหารพวกแป้งนั้นไม่จากัดจานวน ถ้าผู้ป่วยไม่อ้วนมาก เนื่องจากลดอาหารจาพวกแป้ง ทา ให้ต้องเพิ่มอาหารพวกไขมัน ซึ่งอาจเป็นผลให้ระดับไขมันสูงและเพิ่มเนื้อสัตว์ทาให้หน้าที่ของไต เสียไปเร็วขึ้น ในผู้ป่วยที่มีโรคไตร่วมด้วยผลไม้นั้นต้องจากัดจานวน ควรรับประทานพร้อมกับ อาหารครั้งละ 1 ส่วน
  • 4. ตัวอย่างการ ประมาณ 1 ส่วน ( แต่ละชนิดเท่ากับ 1 ส่วน ) เช่น กล้วยน้าว้าสุก 1 ผลเล็ก อินทผาลัม 2 ผล กล้วยหอม 1/2 ผล ลูกแพร์ 1 ผลเล็ก กล้วยไข่ 1 ผล น้อยหน่า 1 ผลเล็ก ส้มเขียวหวาน 1 ผล มะม่วง 1/2 ผล มะละกอ 6 ชิ้นคา พุทรา 2 ผล สับปะรด 6 ชิ้นคา องุ่น 10-12 ผล แตงโม 10 ชิ้นคา เงาะ 3 ผล แคนตาลูป 8 ชิ้นคา มังคุด 2 ผล แตงไท 1 ถ้วย ละมุด 1 ผล ลางสาด 5 ผล ลิ้นจี่ 3 ผล ฝรั่ง 1 ผล ทุเรียน 1 เม็ดเล็กเนื้อบาง ๆ ลาไย 8 ผล แอปเปิ้ล 1/2 ผล ลูกพรุน 2 ผล ชมพู่ 5 ผล ส้มโอ 1/5 ผล สตอเบอร์รี่ 1 ถ้วย น้ามะพร้าวอ่อน 1 ถ้วย เนื้อมะพร้าวอ่อน 1/2 ถ้วย ประเภทที่ 3 รับประทานได้ไม่จากัดจานวน ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด เช่น ผักกาด ผักคะน้า ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง ถั่วงอก ทาเป็นอาหาร ตัวอย่าง เช่น ต้มจืด ยา สลัด ผัดผัก เป็นต้น อาหารเหล่านี้มี สารอาหารต่า นอกจากนั้นยังมีกากอาหารที่เรียกว่า “ไฟเบอร์” ซึ่งทาให้การดูดซึมน้าตาลช้าลง หลักการออกกาลังกาย ควรทาสม่าเสมอ อย่าให้ขาดตอนอย่างน้อยวันละ 16-20 นาที หรือถึง 1 ชั่วโมง จนเหงื่อออกซึม ๆ และสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ไม่ควรออกกาลังกายอย่างหักโหมและไม่ควร ออกกาลังกายขณะหิวหรืออิ่ม วิธีการออกกาลังกายทาได้หลายอย่าง เช่น เดินไกล ๆ วิ่ง กายบริหาร โยคะ รามวยจีน เป็นต้น จะใช้ อย่างใดควรทาตามถนัด และเหมาะสมกับวัยหรือ โรคแทรกซ้อนทางหัวใจอื่น ๆ - อายุมาก อาจเพียงเดินหรือบริหารท่าง่าย ๆ ในรายที่มีโรคหัวใจแทรก ต้องระมัดระวังไม่ให้ออก กาลังกายมากเกินไป และจะต้องหยุดทันทีเมื่อรู้สึกเหนื่อย หรือเจ็บแน่นหน้าอก เป็นต้น
  • 5. - การทางานด้วยแรงกายก็ได้ประโยชน์ เช่น ทาสวน ทานา ทาไร่ เดินไกล ตักน้า ขุดดิน เข็นรถ เป็น ต้น แต่ต้องมากพอให้มีเหงื่อออก และทาติดต่อกันอย่างน้อย 15 นาที ทาวันละครั้งหรืออย่างน้อย วัน เว้นวัน *หยุดออกกาลังกายทันทีเมื่อมีอาการ  ตื่นเต้นกระสับกระส่าย  มือสั่น ใจสั่น  เหงื่อออกมากผิดปกติ อ่อนเพลีย  ปวดศีรษะ ตาพร่า หิว  เจ็บแน่นหน้าอก หรือ เจ็บที่หน้าอกร้าวไปที่แขน คอ ขากรรไกร  หายใจหอบมากผิดปกติ *ข้อควรระวัง สาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลังกายควรเริ่มต้นที่ละน้อยตามกาลังของตนเองก่อน อย่าให้หักโหม หรือเหนื่อยเกินไป และค่อย ๆ เพิ่มขึ้นทีละน้อย ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นมานาน หรือมีโรคแทรกซ้อนหรือเป็นผู้สูงอายุก่อนจะเริ่มออกกาลัง กาย ควรปรึกษาแพทย์ผู้รักษาก่อน