SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
Download to read offline
การปฐมพยาบาลเบืองต้น
และ ฟืนคืนชีพ (CPR)
วิทยากร
โดย : นายพิษณุ เกษมาลา
ครู : ต้น
ประวัติวิทยากร
1. วิทยากรสอนความปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน ERT
ครู FARA THAILAND
2. หลักสูตรพนักงานฉุกเฉินทางการแพทย+ EMT
(โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี Emergency
Medical Technician)
3. ครู ก. จังหวัดปทุมธานี
4. Maritime and Aquatic Life Support (M.A.L.S)
กองเวชศาสตร+ใตKน้ํา กรมแพทย+ทหารเรือ
5. Advanced Fire Fighting, Leader Fire Safety
6. Floating and Swimming Survival Instructor
Trainning, TWRS (กูKชีพทางน้ําประเทศไทย)
โดย : นายพิษณุ เกษมาลา
ครู : ตKน
ประวัติวิทยากร
7. Disaster Medical Assistance Team (DMAT)
Thailand
8. กูKชีพกูKภัยทางน้ํา หลักสูตร การชZวยเหลือและคKนหา
กูKภัยทางน้ํา ภาค7
9. หลักสูตรกูKภัยสารเคมี, กรมควบคุมมลพิษ
10.การชZวยชีวิตพื้นฐาน, สมาคมแพทย+โรคหัวใจ
แหZงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ+
11. 4 th BKH Trauma Day, Bangkok Hospital
Ratchasima (การลําเลียงผูKปbวยทางอากาศ)
โดย : นายพิษณุ เกษมาลา
ครู : ตKน
CPR & AED
 โรงพยาบาลวิภาวดีรังสิต โรงพยาบาลธัญบุรี
 โรงพยาบาลเปาโล รังสิต โรงพยาบาลประชาธิปgตย+
 โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลบางปะกอกรังสิต 2
 บริษัทนิปปอนฟูiด บริษัทดัชมิลล+
 บริษัท เถKาแกZนKอย ฟูiดเเอนด+มาร+เก็ตติ้ง จํากัด(มหาชน)
 อื่นๆ อีกมากมาย
ประวัติวิทยากร สอนใหKแกZหนZวยงานรัฐและเอกชน
พนักงานฉุกเฉินการแพทย+
สถาบันการแพทย+ฉุกเฉินแหZงชาติ (สพฉ.)
พงษ+ศักดิ์ เรืองทองสหัสนัยต+ หุตะปาน เฉลิมพล พรมมาโฮม
การปฐมพยาบาล( First aid) คือ
การปฐมพยาบาล( First aid) คือ
การใหKความชZวยเหลือผูKบาดเจ็บ หรือผูKปbวย โดยกะทันหัน
โดยใชKอุปกรณ+เทZาที่หาไดKในขณะนั้นกZอนนําผูKบาดเจ็บหรือ
ผูKปbวย จะไดKรับการดูแลรักษาหรือสZงตZอไปยังโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
1.ชZวยชีวิตผูKบาดเจ็บ โดยใชKวัสดุ
เทZาที่จัดหาไดKในบริเวณที่เกิดเหตุมา
ใชKใหKเปpนประโยชน+
2.ปqองกันสภาพผูKบาดเจ็บ
มิใหKเลวลง
3.สZงเสริม หรือชZวยใหKผูKบาดเจ็บคืนสูZสภาพเดิมโดยเร็ว
เป้าหมายของการปฐมพยาบาล
1. เพื่อปqองกันหรือชZวยไมZใหKผูKปbวยเจ็บเสียชีวิต
2. เพื่อไมZใหKผูKปbวยเจ็บไดKรับอันตรายเพิ่มขึ้น
3. เพื่อลดความเจ็บปวดของผูKปbวยเจ็บ
4. เพื่อใหKผูKปbวยเจ็บกลับสูZสภาพเดิมโดยเร็ว
หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล
1 . ถKาผูKบาดเจ็บมีเลือดออก ควรทําการหKามเลือดเปpนอันดับแรก
2 . ถKาผูKปbวยไมZมีเลือดออก ใหKตรวจดูวZารZางกายอบอุZนหรือไมZ ถKารZางกาย
เย็นชื้น แสดงวZาผูKปbวยมีอาการช็อค ควรหZมผKาใหKอบอุZน ใหKนอนศีรษะต่ํา
กวZาลําตัวเล็กนKอย
3 . ควรตรวจดูปากผูKปbวยวZามีสิ่งอาเจียน หรือสิ่งอื่นใดอุดตันหรือไมZ ถKามี
ใหKรีบลKวงออกเสียเพื่อมิใหKอุดตันทางเดินหายใจหรือมิใหKสําลักเขKาปอด
4 . ตรวจดูใหKแนZวZาผูKปbวยหายใจขัดหรือหยุดหายใจหรือไมZ ถKาหยุดหายใจ
ใหKรีบทําการผายปอด
หลักทั=วไปในการปฐมพยาบาล
5 . ตรวจดูสZวนตZาง ๆ ของรZางกาย ถKาพบสิ่งผิดปกติ ใหKปฏิบัติการปฐม
พยาบาลแลKวแตZกรณี เชZน ปtดบาดแผล เขKาเฝvอกชั่วคราว เปpนตKน
6 . ไมZควรเคลื่อนยKายผูKปbวยโดยไมZจําเปpน
7 . คลายเสื้อผKาที่รัดรZางกายออก และอยZาใหKคนมามุงดู
9 . พยายามปลอบใจผูKปbวยอยZาใหKตื่นเตKนตกใจ
10 . ตามแพทย+มาสถานที่เกิดเหตุ หรือนําสZงโรงพยาบาลโดยเร็ว
การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน
1.ประเมินสถานการณ์
-ประเมินดูว่าเกิดอะไรขึนอย่างรวดเร็ว และไม่ตกใจ
-ดูว่ามีอันตรายต่อตัวคุณเอง หรือผู้บาดเจ็บอีกหรือไม่
2.ทําให้เกิดความปลอดภัย
-ป้องกันผู้บาดเจ็บไม่ให้ได้รับอันตรายเพิ=มขึนอีก
-อย่าทําอะไรเกินความสามารถของตนเอง
3.ขอความช่วยเหลือ ช่วย...ด้วย....
การปฐมพยาบาลเบื้องตKน ผูKปbวยเปpนลม
คนเปpนลมหนKามืด เปpนผลเนื่องมาจากเลือดไปสูZสมอง
นKอยไปชั่วคราว สาเหตุอาจเนื่องมาจาก รZางกายอZอนเพลีย
อยูZในที่แออัดอากาศถZายเทไมZสะดวก การออกแรงหรือกําลัง
มากเกินไป อากาศรKอน อบอKาว ตื่นเตKน ตกใจ เสียใจมากเกินไป
ลักษณะของผูKปbวยเปpนลม
ลมแดด กระวนกระวาย กระสับกระสZาย ปวดหัว
วิงเวียน ผิวหนังแดงรKอนจัด ไมZมีเหงื่อ หมด
ความรูKสึกชั่ววูบ
ลมธรรมดา อZอนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หนKาซีด ตัวเย็น
ชีพจรเบา
การปฐมพยาบาลผูKปbวยเปpนลม
1. ขยายเสื้อผKาใหKหลวม และหKามคนมุงดูรอบๆ
2. เมื่อหมดสติ ใหKผูKปbวยนอนลง ใหKศีรษะต่ํากวZาตัวเล็กนKอย
หรือนอนราบก็ไดK
3. ใหKดมแอมโมเนีย
4. เช็ดเหงื่อตามฝbามือ ฝbาเทKาและหนKาผาก พัดใหKคนเปpนลม
5. ถKายังไมZรูKสึกตัว ควรใหKความอบอุZน ทําการผายปอดและรีบ
สZงโรงพยาบาล ติดตZอไปยังเบอร+ 1669
การปฐมพยาบาลเบื้องตKน
ผูKปbวยชักเกร็ง
IMAGE SOURCE : กลุ่มวิจัยโรคแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น www.epilepsy.kku.ac.th
IMAGE SOURCE : กลุ่มวิจัยโรคแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น www.epilepsy.kku.ac.th
ผูKปbวยชักเกร็ง
หรือที่เรียกกันวZา ลมบKาหมู คือ การชักเกร็ง กระตุกทั้งตัว
หมดสติ โดยการชักเริ่มจากการเกร็งพรKอมกันทั่วทั้งตัว อาจมีเสียง
กรีดรKอง ตามดKวยการชักกระตุกทั้งตัว ขณะชักนั้นจะไมZรูKสติ และพบ
ปgสสาวะราดไดKบZอยๆ พบการกัดลิ้นเพียง 4 คนใน 100 คนการชัก
แตZละครั้งชักนานประมาณนาทีครึ่ง ถึงสองนาทีครึ่ง และหยุดชักไดK
เอง โดยไมZตKองใหKยาใด หลังหยุดชักอาจมีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อย
ตัว เพลีย งZวงนอน มีเพียงสZวนนKอยมากที่การชักนานกวZา 5 นาที
ถKาชักนานจึงนําสZงโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลผูKปbวยชักเกร็ง
1.หKามนําสิ่งของใดๆก็ตามยัดปากผูKปbวย
2.พยายามจับผูKปbวยนอนตะแคง เพื่อปqองกันไมZใหK
น้ําลายอุดกั้นทางเดินหายใจ
3.พยายามหาหมอนหรือสิ่งของนุZมๆวางรองศีรษะ
ผูKปbวย เพื่อปqองกันศีรษะกระแทกการแตก
การปฐมพยาบาลผูKปbวยชักเกร็ง
4.จับเวลา ถKาชักนานเกิน 3 นาที ผูKปbวยจะมีภาวะเสี่ยง
ตZอการชักตZอเนื่อง ควรรีบเรียกรถพยาบาลโดยเรZงดZวน
5.ถKาผูKปbวยใสZเสื้อผKารัด หรือสวมเน็คไทด+ ควรปลดใหK
หลวมเพื่อใหKผูKปbวยหายใจไดKสะดวก
6.ถKาขณะชักผูKปbวยใสZแวZนควรถอดออก เพื่อปqองกันแตก
ข้อควรระวัง ห้ามทําสิงต่อไปนีในผู้ป่วยชัก
1. หKามผูกตรึง (Restrain) ผูKปbวย
2. หKามนําวัตถุใดๆรวมถึงนิ้วมือของผูKชZวยเหลือใสZในปากของผูKปbวย
ระหวZางฟgนบนและลZาง เพราะสามารถเกิดอันตรายจากวัตถุที่ทําใหK
เกิดแผลในปากผูKปbวย และนิ้วของผูKชZวยเหลือขาดไดK
3. อยZาเคลื่อนยKายผูKปbวยขณะกําลังชักเกร็ง ยกเวKนกรณีชักอยูZใน
บริเวณที่ไมZปลอดภัย
ข้อควรระวัง ห้ามทําสิงต่อไปนีในผู้ป่วยชัก
4. ไมZตKองพยายามทําใหKผูKปbวยหยุดชัก เนื่องจากผูKปbวยไมZรูKตัวและ
หKามตัวเองไมZไดK
5. อยZาใหKผูKปbวยรับประทานอะไรทางปากจนกวZาผูKปbวยจะหยุดชัก
และตื่นดีแลKว (อยZาใหKกินอะไรจะดีกวZาเนื่องจากเสี่ยงตZอการชักซ้ํา
และเกิดการสําลักอาหารหรือน้ําลงปอดไดK)
IMAGE SOURCE : กลุ่มวิจัยโรคแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น www.epilepsy.kku.ac.th
การปฐมพยาบาลเบื้องตKน
บาดแผลไฟไหมK น้ํารKอนลวก
แบZงเปpน 3 ระดับ
โดยดูจากดีกรีความลึกของบาดแผล
https://steemit.com/health/@sayabento/5t7mhh?sort=author_reputation
ดีกรีความลึกระดับ 1 คือ บาดแผลอยูZแคZเพียงผิวหนังชั้น
หนังกําพรKาเทZานั้น โดยปกติจะหายเร็วและไมZเกิดแผลเปpน
ผิวหนังเปpนสีแดง ปวดแสบรKอนเล็กนKอย
IMAGE SOURCE : www.healthline.com, www.gustrength.com, www.diffen.com
ดีกรีความลึกระดับ 2 คือ บาดเจ็บในบริเวณชั้นหนังแทK ถKาไมZมีภาวะติด
เชื้อแทรกซKอน มักจะหายภายใน 2-3 สัปดาห+ ขึ้นอยูZกับความลึกของ
บาดแผล ซึ่งมีแนวโนKมที่จะเกิดรZองรอยผิดปกติของบริเวณผิวหนัง หรือ
อาจมีโอกาสเกิดแผลเปpนแผลหดรั้งตามไดK หากไดKรับการรักษาไมZถูกตKอง
ดีกรีความลึกระดับ 3 คือ ชั้นผิวหนังทั้งหมดถูกทําลายดKวยความรKอน
บาดแผลเหลZานี้มักจะไมZหายเอง มีแนวโนKมการติดเชื้อของบาดแผลสูง
และมีโอกาสเกิดแผลหดรั้งตามมาสูงมาก ถKาไดKรับการรักษาไมZถูกตKอง
ลKางดKวยน้ําสะอาดที่อุณหภูมิปกติ จะมีผลชZวยลดการหลั่งสารที่ทําใหKเกิด
อาการปวดบริเวณบาดแผลไดK
สิ่งแรกที่ควรทํา เมื่อโดนไฟไหมK น้ํารKอนลวก
เว็บไซตเมดไทย (MedThai)
หลังจากนันซับด้วยผ้าแห้งสะอาด แล้วสังเกตว่าถ้าผิวหนังมีรอย
ถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของผิวหนังเปลียนไป ควรรีบไปพบแพทย์
สิ่งแรกที่ควรทํา เมื่อโดนไฟไหมK น้ํารKอนลวก
* แตZถKาไฟไหมK น้ํารKอนลวกบริเวณใบหนKา จะตKองไดKรับการรักษา
จากแพทย+โดยเร็วที่สุด เพราะบริเวณใบหนKามักจะเกิดอาการระคาย
เคืองจากยาที่ใชK หKามใสZยาใด ๆ กZอนถึงมือแพทย+ เพราะผูKปbวยแตZ
ละคนมีอาการตอบสนองตZอตัวยาไมZเหมือนกัน จะตKองขึ้นกับดุลย
พินิจของแพทย+
สิ่งแรกที่ควรทํา เมื่อโดนไฟไหมK น้ํารKอนลวก
ขKอหKาม เมื่อโดนไฟไหมK น้ํารKอนลวก
ไมZควรใสZตัวยา/สารใด ๆ ทาลงบนบาดแผล ถKาไมZ
แนZใจในสรรพคุณที่ถูกตKองของยาชนิดนั้น โดยเฉพาะ
“ ยาสีฟgน” “น้ําปลา” เพราะสิ่งเหลZานี้จะทําใหKเกิด
อาการระคายเคืองตZอบาดแผล เพิ่มโอกาสการเกิด
บาดแผลติดเชื้อ และทําใหKรักษาไดKยากขึ้น
การปฐมพยาบาลและชZวยเหลือคนจมน้ํา
คนตกน้ําหรือจมน้ําเกิดขึ้นไดKทุกวัน โดยเฉพาะ
- เด็กที่มักจะไปเลZนน้ําในคูคลองแถวที่พักอาศัยบZอย ๆ
- บุคคลทั่วไปที่ไปเที่ยวน้ําตก ทะเล ทั้งคนที่วZายน้ําไมZเปpน หรือ
แมKแตZคนที่วZายน้ําคลZองก็อาจเกิดภาวะฉุกเฉินอยZางตะคริวเลZนงาน
จนไมZสามารถวZายน้ําตZอไดK
ฉะนั้นเพื่อความปลอดภัยของคนรอบขKางและตัวเราเอง
การเรียนรูKวิธีปฐมพยาบาลเบื้องตKนเพื่อชZวยชีวิตคนจมน้ําจึงถือวZา
เปpนเรื่องที่ควรศึกษาไวKอยZางยิ่ง
จมน้ํา เปpนภาวะที่พบไดKบZอยและมีความรุนแรง มักจะทําใหKตายในเวลา
เพียงไมZกี่นาที มักเกิดกับ เด็กเล็ก และคนที่วZายน้ําไมZเปpน อาจเกิดจาก
อุบัติเหตุ (เชZน ตกน้ํา เรือคว่ํา เรือชน) เมาเหลKา โรคลมชัก โรคหัวใจวาย
หรืออื่น ๆคนที่จมน้ํามักจะตายเนื่องจากขาดอากาศหายใจ เพราะสําลักน้ํา
บางคนอาจตายเนื่องจากภาวะ เกร็งของกลZองเสียง (laryngospasm) ทํา
ใหKหายใจไมZไดK สาเหตุเหลZานี้มักจะทําใหKคนที่จมน้ํา ตายภายใน 5-10
นาที คนที่จมน้ําถึงแมKจะรอดมาไดKในระยะแรก แตZก็อาจ จะตายเนื่องจาก
ภาวะแทรกซKอนในภายหลังไดKเชZน ปอดอักเสบ การเปลี่ยนแปลงของระดับ
เกลือแรZในรZางกายมาก
ภาวะเลือดเปpนกรด ภาวะปอดบวมน้ํา (pulmonary
edema) ภาวะปอดไมZทํางาน (ปอดลKม ปอดวาย) เปpนตKน
ภาวะเหลZานี้มักเกิดขึ้นไมZตZางกันมากนัก ทั้งในพวกที่จมน้ํา
จืด (แมZน้ํา ลําคลอง บZอ สระน้ํา) และพวก ที่จมน้ําทะเล
รวมทั้งอาการแสดงและการรักษาก็ไมZตZางกัน
อาการ
คนที่จมน้ํามักจะมีอาการหมดสติ และหยุดหายใจ บางคนหัวใจ
อาจหยุดเตKน (คลําชีพจรไมZไดK) รZวมดKวย ถKาไมZถึงกับหมดสติ
ก็อาจมีอาการปวดศรีษะ เจ็บหนKาอก อาเจียน กระวนกระวาย
หรือไอมีฟองเลือดเรื่อ ๆ (ซึ่งแสดงวZามีภาวะปอดบวมน้ํา) บางคน
อาจตรวจพบภาวะหัวใจเต็นเร็วผิดปกติ หัวใจเตKนผิดจังหวะ
ความดันเลือดต่ํา หรือภาวะช็อก
น้ําจืด..จะมีความเขKมขKนนKอยกวZา เลือด(พลาสมา) ดังนั้น ถKามีน้ํา
อยูZในปอดจํานวนมาก ก็จะถูกดูดซึมเขKากระแสเลือดทันที ทําใหK
ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม (hypervolemia)
มีผลทําใหKระดับเกลือแรZ (เชZน โซเดียม โพแทสเซียม) ในเลือด
ลดลง ซึ่งอาจทําใหKหัวใจเตKนผิดจังหวะ หรือหัวใจวายไดK
นอกจากนี้ ยังอาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
ไดKอีกดKวย
ขKอแตกตZางระหวZางน้ําจืดกับน้ําเค็ม
EMS1669เจ็บป่ วยฉุกเฉิน
สZวนน้ําทะเล..จะมีความเขKมขKนมากกวZาเลือด น้ําทะเลที่สําลักอยูZใน
ปอด จะดูดซึมน้ําเลือด (พลาสมา) จากกระแสเลือดเขKาไปในปอด
ทําใหKเกิดภาวะปอดบวมน้ํา (pulmonary edema) ระบบไหลเวียน
มี ปริมาตรลดลง (hypovolemia) และระดับเกลือแรZในเลือดเพิ่ม
สูงขึ้น ทําใหKหัวใจเตKนผิดปกติ หัวใจวายหรือเกิดภาวะช็อกไดK แตZ
อยZางไรก็ตาม คนที่จมน้ํามักตาย เนื่องจากขาดอากาศหายใจ
มากกวZา การเปลี่ยนแปลงของระดับเกลือแรZ และปริมาตรของเลือด
ตะโกน โยน ยื่น หลักการชZวยเหลือคนตกน้ํา งZายและปลอดภัย
× หKามกระโดดลงไปชZวย อยZางเด็ดขาด! เพราะอาจจะทําใหKคุณถูกกอด
รัดจากผูKประสบภัย และอาจจมน้ําเสียชีวิตไปพรKอมกัน
เมื่อเราพบคนตกน้ํามี วิธีการชZวยที่ถูกตKองดังนี้...
เมื่อเราพบคนตกน้ํามี วิธีการชZวยที่ถูกตKองดังนี้...
1.ตะโกน: คือการเรียกใหKคนมาชZวย และรีบโทรแจKงทีมแพทย+
กูKชีพ (โทร 1669 หรือ รพ.ใกลKเคียง)
http://www.thaigoodview.com/files/u101057/help_0.jpg
2.โยน : คือการโยนอุปกรณ+ที่อยูZใกลKตัว เพื่อชZวยคนตกน้ําเกาะจับ
พยุงตัว เชZน เชือก ถังแกลลอนพลาสติกเปลZา ขวดน้ําพลาสติก
เปลZา หรือวัสดุที่ลอยน้ําไดKโดยโยนครั้งละหลายๆ ชิ้น
3.ยื่น : คือการยื่นของยาวๆ ที่อยูZใกลKตัวใหKคนตกน้ําจับ เชZน ไมK
เสื้อ ผKาขาวมKา ใหKเขาจับและดึงตัวขึ้นมาจากน้ํา โดยยื่นอุปกรณ+ไป
ขKางใดขKางหนึ่งของเขา แลKวจึงกวาดเขKาหาตัวผูKประสบภัย
การชZวยเหลือ คนจมน้ําเบื้องตKน
1.โยนอุปกรณ+ที่ไมZมีเชือกผูก เชZน ขวดน้ําพลาสติก ถังแกลลอน
ควรโยนครั้งละหลายๆใบไมZใหKลงตรงหนKาผูKประสบภัย
2.โยนอุปกรณ+ที่มีเชือกผูก เชZน ถังแกลลอนผูกเชือก ควรใชKเชือก
ที่ไมZบิดเปpนเกลียว โยนใหKขKามศีรษะ เพื่อใหKเชือกกระทบถึงตัว
ผูKประสบภัย
3.ยื่นอุปกรณ+ เชZน ไมK หรือทZอ PVC ควรยื่นไปดKานขKางแลKวกวาด
เขKาไปหาผูKประสบภัย
การปฐมพยาบาล เบื้องตKน
1. ถKาผูKปbวยหยุดหายใจ ใหKทําการเปbาปาก ชZวยหายใจทันที
2. ถKาคลําชีพจรไมZไดK หรือหัวใจหยุดเตKน ใหKทําการนวดหัวใจทันที(CPR)
3. ถKาผูKปbวยยังหายใจไดKเอง หรือชZวยเหลือจนหายใจไดKแลKว ควรจับผูKปbวย
นอนตะแคงขKาง และศีรษะ หงายไปขKางหลัง เพื่อใหKน้ําไหลออกทางปาก
ใชKผKาหZมคลุมผูKปbวยเพื่อใหKเกิดความอบอุZน อยZาใหKผูKปbวยกินอาหารและ
ดื่มน้ําทางปาก
4. ควรสZงผูKปbวยที่จมน้ําไมZวZาจะมีอาการหนักเบาเพียงใด ไปพักรักษาตัวที่
โรงพยาบาลทุกราย **ในรายที่หมดสติและหยุดหายใจ ควรผายปอด
ดKวยวิธีเปbาปากไปตลอดทาง
ถKาคุณพบเหตุการณ+แบบนี้
คุณจะทําอยZางไร ??
1. ตKองคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ปqองกันการติดเชื้อ หาก
ตKองไปสัมผัสบาดแผลและเลือดของผูKปbวยโดยตรง ควรสวมถุงมือยาง
หรือหาวัสดุใกลKตัว เชZน ถุงพลาสติก
2. ใชKผKาสะอาดพับหนาๆ กดลงบนบาดแผล แตZถKาไมZมีจริงๆ ใชKฝbา
มือกดลงไปตรงๆ ไดKเลยนานประมาณ 10 นาที ถKาเลือดยังไมZหยุดใหK
เติมผKาชิ้นใหมZลงบนชิ้นเดิมที่ปtดอยูZบนบาดแผล
3. ใชKผKายืดพันทับบนผKาที่ปtดกดบาดแผลไวK
4. ถKาเลือดออกมาก ใชKมือกดบนบาดแผล พรKอมทั้งยกสZวนนั้นใหK
สูงขึ้น เหนือระดับหัวใจ ในกรณีที่ไมZมีกระดูกบริเวณนั้นหักรZวมดKวย
5. ถKาเลือดยังไมZหยุด ใหKกดตรงจุดเสKนเลือดแดงที่อยูZเหนือบาดแผล
โดยการกดติดกับกระดูก ซึ่งจะชZวยทําใหKการไหลของเลือดชKาลง
ชั่วคราว
6. เฝqาระวังอาการช็อกเนื่องจากการเสียเลือดจะมีอาการดังนี้ หนKามืด
เวียนศีรษะ หนKาซีดตัวเย็น เหงื่อออก ชีพจรเบา เร็ว
7.หากเลือดไมZหยุด ใหKรีบนําสZงโรงพยาบาล
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
การปฐมพยาบาลผูKปbวยสําลัก
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
อาการ ผูKปbวยสําลักในขณะรับประทานอาหาร กุมฝbามือไวKที่ลําคอ
พูดไมZมีเสียง กระสับกระสZาย หายใจไมZเขKา ริมฝƒปากเขียวคล้ํา ภาวะนี้
ถือเปpนภาวะฉุกเฉินเนื่องจากผูKปbวยอาจเสียชีวิตไดKภายในไมZกี่นาที
แนะนําใหKใชKวิธีของ Heimlich ชZวยเหลือผูKปbวยโดยในผูKใหญZหรือเด็กโต
ใหKทําในทZานั่งหรือยืนโนKมตัว ไปทางดKานหนKาเล็กนKอย ผูKชZวยเหลือเขKา
ทางดKานหลัง ใชKแขนสอดสองขKางโอบผูKปbวยไวK มือซKายประคองมือขวา
ที่กํามือวางไวKที่ใตKลิ้นปƒ„ ดันกํามือขวาเขKาใตKลิ้นอยZางรวดเร็วเพื่อใหKเกิด
แรงดันในชZองทKอง ดันเขKาใตKกระบังลมผZานไปยังชZองทรวงอก เพื่อดันใหK
สิ่งแปลกปลอมหลุดออกจากกลZองเสียง
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
การปฐมพยาบาลผูKปbวยสําลัก
ในเด็กเล็กอายุต่ํากวZา 1 ปƒอาจใชKวิธีตบหลังหรือใชKฝbามือวางลงบนทรวง
อก แลKวใชKนิ้วหัวแมZมือทั้งสองขKางกดลงบริเวณใตKลิ้นปƒ„
ขKอพึงระวัง
1. ไมZแนะนําใหKใชKนิ้วมือกวาดไปในลําคอ
2. วิธีของ Heimlich ดังกลZาวควรใชKในกรณีฉุกเฉินที่ผูKปbวยมีการอุดกั้น
ของทางเดินหายใจอยZางสมบูรณ+เทZานั้นและผูKชZวยเหลือควร
มีความชํานาญพอสมควร
3. สิ่งแปลกปลอมขนาดเล็ก อาจมีอาการไมZชัดเจนและเกิดผลแทรกซKอน
เชZนปอดอักเสบ หอบหืด หลังการสําลักนานเปpนวันถึงสัปดาห+ไดK
สัตว+มีพิษชนิดตZางๆ
แมลงหลายชนิดมีเหล็กใน เมื่อตZอยแลKวมักจะทิ้งเหล็กในไวK ภายใน
เหล็กในจะมีพิษของแมลงพวกนี้มักมีฤทธิ์ที่เปpนกรด บริเวณที่ถูกตZอย
จะบวมแดง คันและปวด อาการปวดจะมากหรือนKอยขึ้นอยูZกับ
บริเวณที่ตZอยและสภาพรZางกายของแตZละบุคคล
วิธีการปฐมพยาบาล
1. พยายามเอาเหล็กในออกใหKหมด โดยใชKวัตถุที่มีรู เชZน ลูกกุญแจ
กดลงไปตรงรอยที่ถูกตZอย เหล็กในจะโผลZขึ้นมาใหKคีบออกไดK
2. ใชKผKาชุบน้ํายาที่ฤทธิ์ดZางอZอน เชZน น้ําแอมโมเนีย น้ําโซดาไบคาบอร+
เนต น้ําปูนใส ทาบริเวณแผลใหKทั่วเพื่อฆZาฤทธิ์กรด
3. ใชKน้ําแข็งประคบบริเวณที่ถูกตZอยถKาแผลบวมมาก
4. ถKามีอาการปวดใหKรับประทานยาแกKปวด ถKาคันหรือผิวหนังมีผื่นขึ้นใหK
รับประทานยาแกKแพK
5. ถKาอาการไมZทุเลาลง ควรไปพบแพทย+
สัตว+มีพิษชนิดตZางๆ
แมงปbองหรือตะขาบ : ใชKยาทาแผลสด ทาบริเวณเหนือ
บาดแผล เพื่อปqองกันไมZใหKพิษแพรZกระจายออกไป และ
อยZาถูหรือเกา เพราะจะเปpนการแพรZกระจายพิษ
แมงกะพรุน : หKามใชKผKาเช็ดตัวหรือทรายขัดถูบริเวณที่ถูกพิษ
แมงกะพรุน หรือใชKผักบุKงทะเล ซึ่งหางZายและมีอยูZบริเวณ
ชายทะเล ตําละเอียด มาพอกบริเวณแผลไวK หรือ ใชKน้ําทะเล
หKามใชKน้ําจืดโดยเด็ดขาด
สิ่งที่ไมZควรทําในการชZวยเหลือผูKที่ถูกงูพิษกัดคือ
1.หKามใชKเหลKา ยาสีฟgน หรือสิ่งอื่นๆ ทา/พอก แผล
อาจทําใหKแผลติดเชื้อ
2.ไมZควรกรีดแผล เนื่องจากจะทําใหKพิษงูกระจายเขKาสูZรZางกายเร็วขึ้น
3.ไมZควรใชKปากดูดเลือดจากแผลงูกัด เพราะอาจเกิดอันตรายรKายแรง
ตZอผูKดูด
4.หKามใหKผูKถูกงูกัดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล+ เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน
5.หKามขันชะเนาะเพราะอาจทําใหKเนื้อตายไดK
ความแตกตZางระหวZางงูพิษกับงูไมZมีพิษ
งูพิษ มีเขี้ยว 1 คูZ อยูZตรงขากรรไกรบน เขี้ยวมีลักษณะเปpนรูกลวง
คลKายเข็มฉีดยา มีทZอติดตZอกับตZอมน้ําพิษ เมื่องูพิษกัดคนหรือสัตว+
ตZอมน้ําพิษจะปลZอยพิษไหลมาตามทZอ และออกทางปลายเขี้ยว
คนที่ถูกงูพิษกัดจะพบรอยเขี้ยวเปpนจุด 2 จุด ตรงบริเวณที่ถูกกัด
งูไมZมีพิษ จะไมZมีเขี้ยว มีแตZฟgน เมื่อกัดคน จะเปpนแตZรอยถลอก
หรือรอยถากเทZานั้น จะไมZพบรอยเขี้ยว
งูไมZมีพิษ เชZน งูกKนขบ งูแสงอาทิตย+ งูปƒ„แกKว งูเขียวปากจิ้งจก
งูลายสาบ งูลายสอ งูงอด งูเหลือม และงูหลาม (2 ชนิดหลังตัว
ใหญZ สามารถรัดลําตัว ทําใหKตายไดK)
(โดยเฉพาะอยZางยิ่ง ถKาถูกงูที่มีพิษตZอเลือดกัด) หรืออาจตัดถูกเสKน
เอ็นหรือเสKนประสาท รวมทั้งอาจทําใหKเกิดการติดเชื้อไดK
บาดแผลปtด หมายถึง บาดแผลที่มีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ
ภายใตKผิวหนัง เชZน แผลฟกช้ํา หKอเลือด ขKอเทKาพลิก ขKอแพลง
การดูแล ใน 24 ชั่วโมงแรก ใชKน้ําแข็ง หรือถุงน้ําเย็นประคบ
เพื่อไมZใหKเลือดออก และชZวยระงับอาการปวด
หลัง 24 ชั่วโมง ควรประคบดKวยน้ําอุZน เพื่อชZวย
ละลายลิ่มเลือด
บาดแผลปtด
บาดแผลเปtด หมายถึง บาดแผลที่มีการฉีกขาด และมีเลือดไหลออกมานอก
ผิวหนัง เชZน แผลถลอก แผลตัด แผลฉีกขาดกระรุZงกระริ่ง แผลถูกยิง แผลถูกแทง
การดูแล
ชะลKางแผลและทําความสะอาดรอบ ๆ แผล ถKาแผลสกปรกมาก ควร
ลKางดKวยน้ําสะอาด และสบูZ
ใชKผKาสะอาด หรือผKากอซสะอาด ซับบริเวณแผลใหKแหKง
ใสZยาฆZาเชื้อ เชZน เบตาดีน (Betadine) ไมZจําเปpนตKองปtดแผล ถKาเปpน
แผลถลอก หากมีเลือดซึม ควรใชKผKากอซสะอาดปtดแผลไวK
ถKาบาดแผลมีขนาดใหญZ กวKาง และลึก มีเลือดออกมากใหKหKามเลือด
และรีบนําสZงโรงพยาบาล
บาดแผลเปtด
บาดแผลเปtด
การปฐมพยาบาลผูKถูกไฟฟqาช‡อต
การปฐมพยาบาลผูKถูกไฟฟqาช‡อต
ตั้งสติ หากพบผูKปbวยฉุกเฉินโทรสายดZวน 1669
หKามสัมผัสผูKถูกไฟช‡อตดKวยมือเปลZาเด็ดขาด ควรใชKวัสดุที่ไมZเปpน
ตัวนําไฟฟqาปqองกันตัวกZอน เชZน ถุงมือยาง ผKาแหKง พลาสติกแหKง
ตัดกระแสไฟในที่เกิดเหตุทันที ยกเวKน สายไฟแรงสูง ควรแจKง
เจKาหนKาที่
พิจารณาวZาผูKปbวยมีภาวะหัวใจหยุดเตKนหรือหยุดหายใจหรือไมZ
หากหยุดหายใจจะตKองรีบทําการชZวยเหลือ (CPR) ทันที
ปqองกันไวKกZอน !! ตรวจสอบวZาในบKานมีไฟรั่วหรือไมZ
หลักการชZวยเหลือผูKถูกไฟฟqาช‡อต หาวัสดุที่เปpน
ฉนวน ไมZนํากระแสไฟฟqาเขKาชZวยเหลือ
ขKอหKามที่สําคัญที่ไมZควรทําเมื่อถูกไฟฟqาช‡อต
1. หKามเขKาไปชZวยผูKถูกไฟฟqาช‡อต จนกวZาจะแนZใจไดKวZา
ผูKบาดเจ็บมิไดKสัมผัสกับสายไฟฟqาหรือตัวนําไฟฟqาใด ๆ จากนั้นจึงตัด
วงจรไฟฟqาที่ลัดวงจรกZอนเขKาไปชZวยเหลือ
2. หKามเขKาไปชZวยผูKถูกไฟฟqาช‡อต ถKาผิวหนังผูKที่จะชZวยนั้นเปƒยก
ชื้น เพราะอาจเปpนตัวนํากระแสไฟฟqาและถูกไฟฟqาดูดไดK
3. ถKาไมZแนZใจวZาจะปลอดภัยหรือไมZในการเขKาไปชZวยเหลือ
เนื่องจากไมZมีความรูKในการตัดกระแสวงจรไฟฟqาหรือวิธีการชZวยเหลือที่
ถูกตKอง ใหKรีบตามคนมาชZวย ควรพยายามตั้งสติ และปฏิบัติตาม
คําแนะนําขKางตKน
การปฐมพยาบาลและเคลื่อนยKาย
ผูKปbวย ที่ไดKรับบาดเจ็บ
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก ขKอเคลื่อน
ขKอเคลื่อน (Dislocation) คือ การหลุดของขKอออกจากตําแหนZงปกติ
ทําใหKเยื่อหุKมขKอนั้นมีการฉีกขาดหรือมีการยึดของกลKามเนื้อ การที่ขKอ
เคลื่อนอาจมีอันตรายตZอเสKนประสาท และหลอดเลือดใกลKเคียง
กระดูกหัก (Fracture) คือ ภาวะที่มีการแตกหรือหักของกระดูก
บริเวณที่หักอาจจะแตกเปpนรอย จะเคลื่อนออกจากกันหรือไมZก็ไดK
บางครั้งแตกเปpนหลายชิ้น ขึ้นอยูZกับลักษณะการบาดเจ็บและความ
รุนแรงของอุบัติเหตุกระดูกหักอาจเปpนสาเหตุทําใหKเกิดความพิการ
หรือในบางรายอาจทําใหKเสียชีวิตไดK
อาการกระดูกหักและขKอเคลื่อน
- มีความเจ็บปวด บวม บริเวณที่มีกระดูกหัก หรือขKอเคลื่อน
- สีของผิวหนัง รูปรZางของอวัยวะนั้นๆเปลี่ยนแปลงไปจากรูปรZางปกติ
ไมZสามารถเคลื่อนไหวบริเวณนั้นไดK หรือเคลื่อนไหวแลKวจะเจ็บปวดมาก
- มีการหดสั้นของอวัยวะ เชZน แขน
- อาจคลําพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อนหรือหักออกมาออกมา
ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
- สํารวจอวัยวะสZวนที่หัก อยZาพยายามดึงขKอหรือจัดกระดูกใหKเขKาที่
- หากจําเปpนตKองถอดเสื้อผKาออก ควรใชKวิธีตัดตามตะเข็บ
- หKามเลือด
- เขKาเฝvอกชั่วคราว โดยใชKวัสดุที่หาไดKหนุนหรือประคองขKอใหKบริเวณที่
บาดเจ็บนั้นอยูZนิ่ง โดยใชKผKาพยุง หรือดามไวK
- ประคบบริเวณที่บาดเจ็บดKวยความเย็น เชZนผKาหรือถุงใสZน้ําแข็ง
** การเคลื่อนยKายผูKบาดเจ็บ อยZางถูกวิธี จะชZวยลดความพิการและ
อันตรายตZางๆ ที่จะเกิดขึ้นไดK รีบนําสZงโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก ขKอเคลื่อน
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก ขKอเคลื่อน หลักการเขKาเฝvอกชั่วคราว
- วัสดุที่ใชKดามตKองยาวกวZาอวัยวะสZวนที่หัก โดยจะตKองยาวพอที่จะบังคับ
ขKอตZอที่อยูZเหนือและใตK บริเวณที่สงสัยวZากระดูกหัก
- บริเวณที่เขKาเฝvอกจะตKองจัดใหKอยูZในทZาที่สบายที่สุด อยZาจัดกระดูกใหKเขKา
รูปเดิม ไมZวZากระดูกที่หักจะโคKง โกZง หรือ คด ก็ควรเขKาเฝvอกในทZาที่เปpนอยูZ
- ไมZวางเฝvอกลงบนกระดูกหักโดยตรง ควรมีสิ่งอื่นรอง เชZน ผKา หรือ สําลี
- มัดเฝvอกกับอวัยวะที่หักใหKแนZนพอที่จะประคองสZวนที่หักไดK
- ระวังอยZาใหKปมเชือกกดแผล เพราะอาจจะมีการบวม ซึ่งจะตKองคลายเชือก
ที่ผูกใหKแนZนนKอยลง
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก ขKอเคลื่อน
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://irishheart.ie
“ภาวะที่หัวใจหยุดเตKน ไมZสามารถสZงเลือดไปเลี้ยงอวัยวะตZางๆไดK สZงผลใหKเสียชีวิต ”
การปฏิบัติการชZวยชีวิต (CardioPulmonary Resuscitation : CPR)
คือ การปฐมพยาบาลเพื่อชZวยเหลือผูKที่หยุดหายใจกระทันหัน หรือหัวใจหยุดเตKนใหK
กลับมาหายใจ และมีการไหลเวียนออกซิเจนรวมทั้งเลือดกลับคืนสูZสภาพเดิม พรKอมทั้ง
ปqองกันเนื้อเยื่อไมZใหKไดKรับอันตรายจากการขาดออกซิเจนอยZางถาวร โดยเราสามารถทํา
การฟvˆนคืนชีพขั้นพื้นฐานใหKผูKประสบเหตุไดKโดยการกดหนKาอกและชZวยหายใจ
https://irishheart.ie
“เมื่อผูKปbวยหยุดหายใจและหัวใจหยุดเตKนควรรีบทํา CPR ทันที ภายในเวลา 4
นาทีแรก หลังจากหยุดหายใจ”
สําหรับอาการของผูKบาดเจ็บที่ควรไดKรับการชZวยเหลืออยZางเรZงดZวน
ดKวยการทํา CPR สามารถสังเกตไดKดังนี้
1. หมดสติ ไมZรูKสึกตัว
2. ไมZหายใจ หรือหายใจเฮือก
3. หัวใจหยุดเตKน
https://irishheart.ie
ขั้นตอนการทํา CPR
1.ตัวเราปลอดภัย สถานการณ+ปลอดภัย
เมื่อพบคนหมดสติ ใหKตรวจดูความปลอดภัย กZอนเชKาไปชZวยเหลือ เชZน ระวัง
อุบัติเหตุ ไฟช็อต หรือความเสี่ยงที่อาจเกิดซ้ํา
2.ปลุกผูKปbวยดKวยเสียงที่ดังและตบไหลZทั้งสองขKาง หากผูKปbวยรูKสึกตัว หายใจ
เองไดK ใหKจัดทZานอนตะแคง
3. ประเมินผูKปbวยวZาหายใจหรือรูKสึกตัวหรือไมZ
4.ไมZหายใจรKองขอความชZวยเหลือ
ชZวยดKวยครับ/คZะ มีคนหมดสติโทร 1669 พรKอมนําเครื่อง AED มาดKวย
5. ชZวยฟvˆนคืนชีพ CPR กดหนKาอกลึกอยZางนKอย 5 เซนติเมตร ในอัตราเร็ว
100-120 ครั้งตZอนาที
ขั้นตอนการทํา CPR กรณีมีเครื่อง AED
6.หากมีเครื่อง AED ใหKเปtดเครื่องถอดเสื้อผKาผูKปbวยออก
7.ติดแผZนAEDหรือแผZนนําไฟฟqา บริเวณใตKกระดูกไหปลารKาดKานขวา และ
ชายโครงดKานซKาย และหKามสัมผัสตัวผูKปbวย
8.ปฏิบัติตามที่เครื่องAEDแนะนํา คือ หากเครื่องสั่งใหKช็อกไฟฟqา ใหKกดปุbม
ช็อก และทําการกดหนKาอกหลังทําการช็อกทันที แตZหากเครื่องไมZสั่งช็อก
ใหKทําการกดหนKาอกตZอไป
9.กดหนKาอกตZอเนื่อง ทํา CPR และปฏิบัติตามคําแนะนําของเครื่องAED
จนกวZาทีมกูKชีพจะมาถึง
10. สZงตZอผูKปbวยใหKกับทีมกูKชีพเพื่อนําสZงโรงพยาบาล เพียงเทZานี้ก็จะชZวยใหK
ผูKปbวยฉุกเฉินมีโอกาสรอดและปลอดภัย
http://www.thaihealth.or.th
ขั้นตอนการทํา CPR + AED
ประชาสัมพันธ์อาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กตึ)ง จุดสน.หลักสอง
ขั้นตอนการทํา CPR + AED
ประชาสัมพันธ์อาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กตึ)ง จุดสน.หลักสอง
ขั้นตอนการทํา CPR + AED
ประชาสัมพันธ์อาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กตึ)ง จุดสน.หลักสอง
ขั้นตอนการทํา CPR + AED
ประชาสัมพันธ์อาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กตึ)ง จุดสน.หลักสอง
ขั้นตอนการทํา CPR + AED
ประชาสัมพันธ์อาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กตึ)ง จุดสน.หลักสอง
หากมีผูKเชี่ยวชาญในดKานนี้อยูZก็ควรใหKผูKเชี่ยวชาญเขKาชZวยเหลือ
ผูKบาดเจ็บกZอนเพราะหากชZวยผิดวิธีอาจทําใหKหัวใจช้ํา
กระดูกหัก รวมทั้งอวัยวะอื่น ๆ ตกเลือดไดK และอยZาลองไปทํา
CPR กับคนที่ไมZมีอาการบาดเจ็บหรือหมดสติ โดยเฉพาะการปg‹ม
หัวใจ เพราะอาจทําใหKจังหวะหัวใจของคนที่โดนปg‹มเตKนผิด
จังหวะไป ซึ่งอาจสZงผลดKานสุขภาพตZอไปไดK
ขKอควรระวัง
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
https://www.emssafetyservices.com/2015/03/02/9-cpr-training-errors/
การชZวยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR
สงสัยใหKถาม
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)

More Related Content

What's hot

Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

What's hot (20)

Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 

Similar to การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)

CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaHummd Mdhum
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMtaem
 

Similar to การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR) (10)

CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placenta
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
 

More from yahapop

Lodkunton 2563
Lodkunton 2563Lodkunton 2563
Lodkunton 2563yahapop
 
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562yahapop
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61yahapop
 
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัย
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัยงานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัย
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัยyahapop
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...yahapop
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...yahapop
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...
	ประกาศเทศบาลนครรังสิต 	เรื่อง  การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...	ประกาศเทศบาลนครรังสิต 	เรื่อง  การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...yahapop
 
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)yahapop
 
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)yahapop
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์yahapop
 
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60yahapop
 
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ yahapop
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกyahapop
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)yahapop
 
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิต
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิตนำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิต
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิตyahapop
 
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตนำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตyahapop
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60yahapop
 
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิต
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิตภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิต
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิตyahapop
 

More from yahapop (20)

Tk park
Tk parkTk park
Tk park
 
Lodkunton 2563
Lodkunton 2563Lodkunton 2563
Lodkunton 2563
 
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562
ประกาศการลดขั้นตอน ปี 2562
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
 
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัย
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัยงานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัย
งานนำเสนอศูนย์กู้ชีพ กู้ภัย
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบริก...
 
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...
	ประกาศเทศบาลนครรังสิต 	เรื่อง  การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...	ประกาศเทศบาลนครรังสิต 	เรื่อง  การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...
ประกาศเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อบ...
 
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2561(ครั้งที่1)
 
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)
ประกาศลดขั้นตอน ปี 2560(ครั้งที่2)
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60
แนะนำศูนย์ฯเอื้ออาทรรังสิต 60
 
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ
ศาสตร์พระราชากับบทบาทของคณะกรรมการฯ
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)
งานนำเสนอ สำหรับช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน (สมบูรณ์)
 
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิต
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิตนำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิต
นำเสนอ โรงเรียนมัธยมนครรังสิต
 
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตนำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
 
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิต
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิตภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิต
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เทศบาลนครรังสิต
 

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)