SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                       ชุดที่ 7 หูและการได้ยน
                                                                                         ิ




                             ศูนย์ การเรียนที่ 4
                               โรคทีเ่ กิดกับหู
                                                ถ้ าหูคนเรารับฟังเสี ยง เป็ น
                                                เวลานาน ๆ จะเกิดอะไรขึน     ้



                    ไปศึกษากันเลย ดีไหม
                          น้ องจุก
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                  ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 26
                                                                                    ิ




                                       บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 4
                                        โรคที่เกิดกับหู
          โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
          1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
          2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
          3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                    ้
          4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม       ิ
          5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
          6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                  ิ
               ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
                       ุ
               ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 27
                                                                                   ิ



                                    บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 4
                                           ้
                                      โรคที่เกิดกับหู

                      โรคทีเ่ กิดกับหู ทาให้ เกิดความผิดปกติเกียวกับการได้ ยน
                                                               ่            ิ
                      ของคนเราอย่ างไร และมีวธีการแก้ไขได้ อย่ างไร
                                                  ิ




                                  อุปกรณ์ ช่วยฟั งเสี ยงสาหรับคนหูตึง
    ทีมา : http://www.weekendhobby.com/vr/webboard/picture%5C235254812525.jpg
      ่
           320 x 240 - 30k ( 20 เมษายน 2550 )

จุดประสงค์ การเรียนรู้
        1. นักเรี ยนสามารถบอกสาเหตุททาให้ เกิดโรคเกียวกับหูได้
                                      ี่            ่
        2. นักเรี ยนสามารถบอกอาการของโรคทีเ่ กิดกับหูได้
        3. นักเรี ยนสามารถบอกวิธีการดูแลรักษาโรคหูเบืองต้ นได้
                                                      ้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                     ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 28
                                                                                         ิ



                                          โรคของหูช้ันนอก
         โรคของหูช้ ั นใน เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อบัคเตรี เชื้อราหรือไวรัส สาเหตุทสาคัญ
                                                                                         ี่
คือ นาเข้ าหู แคะหูด้วยเครื่องมือสกปรก ขีหูติดอยู่นาน ๆ เมื่อมีนาเข้ าหูเกิดการอักเสบได้ ง่าย
     ้                                   ้                      ้
อาการสาคัญทีสุดคือปวดหู ผู้ป่วยจะปวดในช่ องหู รอบๆ หู หรือปวดร้ าวไปทั้งศีรษะ การอักเสบ
                ่
แบบเป็ นฝี จะปวดมาก ถูกต้ องใบหูเจ็บมาก มีนาเหลืองหรือหนองไหลซึ่งมีจานวนน้ อยและไม้ ข้น
                                              ้
นอกจากนียงมีหูตึง คันหู และเป็ นไข้
           ้ั

            การรักษา
1. การทาความสะอาดช่ องหู นับว่ าสาคัญทีสุด อะไรก็ตามทีติดค้ างในช่ องหู เช่ น ขีหูก้อนหนอง
                                        ่                ่                      ้
   แผ่นหนอง ผิวหนังทีลอกออกมา ต้ องเอาออกให้ หมด โดยการแคะ
                            ่
2. ใช้ เครื่องดูดหรือล้ างออกการทาความสะอาดช่ องหูทาให้ เจ็บปวดมากแต่ จะหายอักเสบได้ เร็ว
3. ใช้ ยาหยอดหูทมยาปฏิชีวนะหรือยาต้ านเชื้อราหลังจากทาความสะอาดช่ องหูแล้ ว
                   ี่ ี
4. ให้ ยาแก้ ปวด ลดบวม และยาแก้คัน รายทีอักเสบมากหรือเป็ นฝี ควรให้ ยาปฏิชีวนะโดยการฉีด
                                          ่
    หรือกินก็ได้

                                  โรคของหูช้ันกลาง
           เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อของเยือเมือกในโพรงหูช้ ั นกลางทาให้ เป็ นหนอง
                                              ่
ในหูช้ ั นกลาง ได้ แก่
           โรคหูนาหนวก แบ่ งเป็ น 2 ชนิด คือ
                   ้
           1. โรคหูนาหนวกชนิดไม่ เป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุอย่ างเดียว มีหนองไหลเป็ น ๆ
                        ้
หาย ๆ หูตึงไม่ มาก การรักษาทางยาจะช่ วยให้ หูแห้ งอยู่ได้ นานเป็ นเดือนหรือเป็ นปี ก็ได้ โรคนี้
รักษาโดยการหยอดยาเมื่อมีหนองไหล ระวังไม่ ให้ นาเข้ าหู ไม่ แคะหูและล้ างหู ผู้ป่วยที่ ระมัดระวัง
                                                   ้
ดีอาจไม่ ต้องผ่าตัดปิ ดรู ทะลุและไม่ เกิดอันตรายตลอดชี วต
                                                        ิ
           2. โรคหูนาหนวกชนิดเป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุ มีคอเลสตีทะโทมา และมีการ
                      ้
อักเสบ เรื้อรังในโพรงอากาศมาทอยด์ มีนาหนวกไหลไม่ หยุดไหลทุกวัน และมีกลินเหม็นมาก
                                            ้                                    ่
 ฉีดยา กินยา หรือหยอดยาแล้ วหนองก็ไม่ หยุดไหล หูตึงมากน้ อยแตกต่ างกัน ส่ วนมากจะตึงมาก
หรือหูหนวก มีอาการ เวียนศีรษะ เป็ นฝี หรือรู ทะลุหลังหูและปากเบียวหากปล่ อยทิงไว้
                                                                   ้               ้
อาจลุกลามเข้ าสมองเป็ นอันตรายถึงตายได้ ควรรักษาโดยการผ่ าตัดทุกราย
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 29
                                                                                        ิ


          โรคหูตึง
          หูตึง (หูหนวก) หมายถึง ภาวการณ์ ได้ ยนเสี ยงลดลง อาจเป็ นเพียงเล็กน้ อย
                                                    ิ
 หรือไม่ ได้ ยนเลย (หูหนวกสนิท) มีสาเหตุได้ มากมาย เช่ น แก้ วหูทะล หูอกเสบ โรคเมเนียส์
               ิ                                                               ั
 หูหนวกมาแต่ กาเนิด (เช่ น ทารกทีเ่ ป็ นหัดเยอรมันโดยกาเนิด) ซึ่งมักจะมีอาการเป็ นใบ้ ร่วมด้ วย
 พิษจากยา (สเตรปโตไมซิน, คาน่ าไมซิน เจนตาไมซิน) หูตึงในคนสู งอายุ หูตึงจากอาชี พ
 เป็ นต้ น
          หูตึงในคนสู งอายุ พบได้ ในคนสู งอายุ ผู้ชายมีโอกาสเป็ นมากกว่ า และมีความรุ นแรงกว่ า
 ผู้หญิง โดยมากจะเริ่มแสดงอาการเมื่ออายุประมาณ 60 ปี ขึนไป เกิดจากประสาทหูเสื่ อมตามวัย
                                                                ้
          หูตึงจากอาชี พ พบได้ ในผู้ที่ทางานอยู่ในที่ทมีเสี ยงดังขนาดมากกว่ า 90 เดซิเบล ขึนไป
                                                        ี่                                   ้
 เป็ นเวลานาน ๆ โดยเฉพาะอย่ างยิงในความถี่สูง ๆ (เสี ยงสู ง) มักเกิดอาการหูตงได้ เนื่องจาก
                                      ่                                             ึ
 เซลล์ ประสาทหูถูกคลืนเสี ยงทาลายอย่ างถาวร และไม่ มีทางแก้ไขให้ กลับคืนดีได้
                        ่
            การรักษา ไม่ มียาทีใช้ รักษาให้ การได้ ยนดีขึน ถ้ าจาเป็ นอาจใช้ เครื่องช่ วยฟัง
                               ่                      ิ ้

                                            โรคของหูช้ันใน
            โรคเมเนียส์ เกิดจากมีการเพิมความดันของของเหลวในหูช้ ั นในส่ วนทีควบคุม
                                               ่                                      ่
 เกียวกับการทรงตัว (ลาบิรินท์ ) ทาให้ เซลล์ ประสาทในส่ วนนั้นถูกทาลาย เป็ นเหตุให้ เสี ย
     ่
 ความรู้ สึกเกียวกับการทรงตัว
               ่
            อาการ มักจะเกิดขึนเป็ นครั้งคราว ด้ วยอาการวิงเวียนอย่ างรุ นแรง จนบางครั้งทาให้
                                   ้
 ผู้ป่วยล้ มลง ผู้ป่วยจะรู้ สึกว่ าพืนบ้ าน หรื อเพดานหมุน มักมีอาการคลืนไส้ อาเจียนรุ นแรง และ
                                     ้                                   ่
 อาจมีอาการตากระตุก อาการวิงเวียนอาจเป็ นนาน ครั้งละไม่ กนาทีถึงหลายชั่งโมง แล้วหายไปได้
                                                                  ี่
 เอง แต่ จะกาเริบได้ เป็ นครั้งคราว อาจทิงช่ วงห่ างกันเป็ นสั ปดาห์ ๆ หรือเป็ นปี ๆ ซึ่งไม่ ค่อย
                                             ้
 แน่ นอน ผู้ป่วยมักมีอาการหูตึงและแว่ วเสี ยงดังในหู ซึ่งเป็ นพร้ อมกับอาการวิงเวียน




                               อุปกรณ์ ช่วยฟังสาหรับคนหูตึง
      ทีมา : http://www.weekendhobby.com/vr/webboard/picture%5C235254812525.jpg
        ่
             320 x 240 - 30k ( 20 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 30
                                                                                        ิ



                                       บัตรคาถามศูนย์ ที่ 4
                                         โรคที่เกิดกับหู

    คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าถูกต้ อง
                และ  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าผิด

    ..............1. โรคของหูช้ ั นนอกเป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อบัคเตรี เชื้อราหรือไวรัส
    ............. 2. โรคของหูช้ ั นนอก รักษาโดยทาความสะอาดช่ องหูแคะก้ อนขีหูออกให้ หมด
                                                                                 ้
                      จะทาให้ การอักเสบลดน้ อยลง
    ..............3. โรคหูนาหนวก เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อของเยือเมือกในโพรงหูช้ ั นกลาง
                              ้                                        ่
                      ทาให้ เป็ นหนองในหูช้ ั นกลาง
    ..............4. โรคหูนาหนวกชนิดไม่ เป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุ รักษาโดยการหยอดยา
                                ้
                      เมื่อมีหนองไหล และใช้ นาล้างหนองออก หรือแคะขีหูออกให้ หมด
                                                ้                        ้
    ..............5. หูตึง (หูหนวก) หมายถึง ภาวการณ์ ได้ ยนเสี ยงลดลง มีสาเหตุมาจากแก้ วหูทะลุ
                                                          ิ
                      หูอกเสบ หรือโรคเมเนียส์
                           ั
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141               ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 31
                                                                                 ิ




                                       บัตรเฉลยศูนย์ที่ 4
                                         โรคที่เกิดกับหู


                                                1.   
                                                2.   
                                                3.   
                                                4.   
                                                5.   




                        พีเ่ ก่งมากเลย พาผมไปศึกษา
                     ศู นย์ การเรียน อืนต่ อไปนะครับ
                                        ่

More Related Content

What's hot

โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 

What's hot (9)

โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
 
poster_anchitha_154_No23
poster_anchitha_154_No23poster_anchitha_154_No23
poster_anchitha_154_No23
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 

Similar to ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitUtai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อdentyomaraj
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9Chok Ke
 

Similar to ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7 (20)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 9
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (20)

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน ิ ศูนย์ การเรียนที่ 4 โรคทีเ่ กิดกับหู ถ้ าหูคนเรารับฟังเสี ยง เป็ น เวลานาน ๆ จะเกิดอะไรขึน ้ ไปศึกษากันเลย ดีไหม น้ องจุก
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 26 ิ บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 4 โรคที่เกิดกับหู โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ุ ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 27 ิ บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 4 ้ โรคที่เกิดกับหู โรคทีเ่ กิดกับหู ทาให้ เกิดความผิดปกติเกียวกับการได้ ยน ่ ิ ของคนเราอย่ างไร และมีวธีการแก้ไขได้ อย่ างไร ิ อุปกรณ์ ช่วยฟั งเสี ยงสาหรับคนหูตึง ทีมา : http://www.weekendhobby.com/vr/webboard/picture%5C235254812525.jpg ่ 320 x 240 - 30k ( 20 เมษายน 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรี ยนสามารถบอกสาเหตุททาให้ เกิดโรคเกียวกับหูได้ ี่ ่ 2. นักเรี ยนสามารถบอกอาการของโรคทีเ่ กิดกับหูได้ 3. นักเรี ยนสามารถบอกวิธีการดูแลรักษาโรคหูเบืองต้ นได้ ้
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 28 ิ โรคของหูช้ันนอก โรคของหูช้ ั นใน เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อบัคเตรี เชื้อราหรือไวรัส สาเหตุทสาคัญ ี่ คือ นาเข้ าหู แคะหูด้วยเครื่องมือสกปรก ขีหูติดอยู่นาน ๆ เมื่อมีนาเข้ าหูเกิดการอักเสบได้ ง่าย ้ ้ ้ อาการสาคัญทีสุดคือปวดหู ผู้ป่วยจะปวดในช่ องหู รอบๆ หู หรือปวดร้ าวไปทั้งศีรษะ การอักเสบ ่ แบบเป็ นฝี จะปวดมาก ถูกต้ องใบหูเจ็บมาก มีนาเหลืองหรือหนองไหลซึ่งมีจานวนน้ อยและไม้ ข้น ้ นอกจากนียงมีหูตึง คันหู และเป็ นไข้ ้ั การรักษา 1. การทาความสะอาดช่ องหู นับว่ าสาคัญทีสุด อะไรก็ตามทีติดค้ างในช่ องหู เช่ น ขีหูก้อนหนอง ่ ่ ้ แผ่นหนอง ผิวหนังทีลอกออกมา ต้ องเอาออกให้ หมด โดยการแคะ ่ 2. ใช้ เครื่องดูดหรือล้ างออกการทาความสะอาดช่ องหูทาให้ เจ็บปวดมากแต่ จะหายอักเสบได้ เร็ว 3. ใช้ ยาหยอดหูทมยาปฏิชีวนะหรือยาต้ านเชื้อราหลังจากทาความสะอาดช่ องหูแล้ ว ี่ ี 4. ให้ ยาแก้ ปวด ลดบวม และยาแก้คัน รายทีอักเสบมากหรือเป็ นฝี ควรให้ ยาปฏิชีวนะโดยการฉีด ่ หรือกินก็ได้ โรคของหูช้ันกลาง เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อของเยือเมือกในโพรงหูช้ ั นกลางทาให้ เป็ นหนอง ่ ในหูช้ ั นกลาง ได้ แก่ โรคหูนาหนวก แบ่ งเป็ น 2 ชนิด คือ ้ 1. โรคหูนาหนวกชนิดไม่ เป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุอย่ างเดียว มีหนองไหลเป็ น ๆ ้ หาย ๆ หูตึงไม่ มาก การรักษาทางยาจะช่ วยให้ หูแห้ งอยู่ได้ นานเป็ นเดือนหรือเป็ นปี ก็ได้ โรคนี้ รักษาโดยการหยอดยาเมื่อมีหนองไหล ระวังไม่ ให้ นาเข้ าหู ไม่ แคะหูและล้ างหู ผู้ป่วยที่ ระมัดระวัง ้ ดีอาจไม่ ต้องผ่าตัดปิ ดรู ทะลุและไม่ เกิดอันตรายตลอดชี วต ิ 2. โรคหูนาหนวกชนิดเป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุ มีคอเลสตีทะโทมา และมีการ ้ อักเสบ เรื้อรังในโพรงอากาศมาทอยด์ มีนาหนวกไหลไม่ หยุดไหลทุกวัน และมีกลินเหม็นมาก ้ ่ ฉีดยา กินยา หรือหยอดยาแล้ วหนองก็ไม่ หยุดไหล หูตึงมากน้ อยแตกต่ างกัน ส่ วนมากจะตึงมาก หรือหูหนวก มีอาการ เวียนศีรษะ เป็ นฝี หรือรู ทะลุหลังหูและปากเบียวหากปล่ อยทิงไว้ ้ ้ อาจลุกลามเข้ าสมองเป็ นอันตรายถึงตายได้ ควรรักษาโดยการผ่ าตัดทุกราย
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 29 ิ โรคหูตึง หูตึง (หูหนวก) หมายถึง ภาวการณ์ ได้ ยนเสี ยงลดลง อาจเป็ นเพียงเล็กน้ อย ิ หรือไม่ ได้ ยนเลย (หูหนวกสนิท) มีสาเหตุได้ มากมาย เช่ น แก้ วหูทะล หูอกเสบ โรคเมเนียส์ ิ ั หูหนวกมาแต่ กาเนิด (เช่ น ทารกทีเ่ ป็ นหัดเยอรมันโดยกาเนิด) ซึ่งมักจะมีอาการเป็ นใบ้ ร่วมด้ วย พิษจากยา (สเตรปโตไมซิน, คาน่ าไมซิน เจนตาไมซิน) หูตึงในคนสู งอายุ หูตึงจากอาชี พ เป็ นต้ น หูตึงในคนสู งอายุ พบได้ ในคนสู งอายุ ผู้ชายมีโอกาสเป็ นมากกว่ า และมีความรุ นแรงกว่ า ผู้หญิง โดยมากจะเริ่มแสดงอาการเมื่ออายุประมาณ 60 ปี ขึนไป เกิดจากประสาทหูเสื่ อมตามวัย ้ หูตึงจากอาชี พ พบได้ ในผู้ที่ทางานอยู่ในที่ทมีเสี ยงดังขนาดมากกว่ า 90 เดซิเบล ขึนไป ี่ ้ เป็ นเวลานาน ๆ โดยเฉพาะอย่ างยิงในความถี่สูง ๆ (เสี ยงสู ง) มักเกิดอาการหูตงได้ เนื่องจาก ่ ึ เซลล์ ประสาทหูถูกคลืนเสี ยงทาลายอย่ างถาวร และไม่ มีทางแก้ไขให้ กลับคืนดีได้ ่ การรักษา ไม่ มียาทีใช้ รักษาให้ การได้ ยนดีขึน ถ้ าจาเป็ นอาจใช้ เครื่องช่ วยฟัง ่ ิ ้ โรคของหูช้ันใน โรคเมเนียส์ เกิดจากมีการเพิมความดันของของเหลวในหูช้ ั นในส่ วนทีควบคุม ่ ่ เกียวกับการทรงตัว (ลาบิรินท์ ) ทาให้ เซลล์ ประสาทในส่ วนนั้นถูกทาลาย เป็ นเหตุให้ เสี ย ่ ความรู้ สึกเกียวกับการทรงตัว ่ อาการ มักจะเกิดขึนเป็ นครั้งคราว ด้ วยอาการวิงเวียนอย่ างรุ นแรง จนบางครั้งทาให้ ้ ผู้ป่วยล้ มลง ผู้ป่วยจะรู้ สึกว่ าพืนบ้ าน หรื อเพดานหมุน มักมีอาการคลืนไส้ อาเจียนรุ นแรง และ ้ ่ อาจมีอาการตากระตุก อาการวิงเวียนอาจเป็ นนาน ครั้งละไม่ กนาทีถึงหลายชั่งโมง แล้วหายไปได้ ี่ เอง แต่ จะกาเริบได้ เป็ นครั้งคราว อาจทิงช่ วงห่ างกันเป็ นสั ปดาห์ ๆ หรือเป็ นปี ๆ ซึ่งไม่ ค่อย ้ แน่ นอน ผู้ป่วยมักมีอาการหูตึงและแว่ วเสี ยงดังในหู ซึ่งเป็ นพร้ อมกับอาการวิงเวียน อุปกรณ์ ช่วยฟังสาหรับคนหูตึง ทีมา : http://www.weekendhobby.com/vr/webboard/picture%5C235254812525.jpg ่ 320 x 240 - 30k ( 20 เมษายน 2550 )
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 30 ิ บัตรคาถามศูนย์ ที่ 4 โรคที่เกิดกับหู คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าถูกต้ อง และ  หน้ าข้ อความทีเ่ ห็นว่าผิด ..............1. โรคของหูช้ ั นนอกเป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อบัคเตรี เชื้อราหรือไวรัส ............. 2. โรคของหูช้ ั นนอก รักษาโดยทาความสะอาดช่ องหูแคะก้ อนขีหูออกให้ หมด ้ จะทาให้ การอักเสบลดน้ อยลง ..............3. โรคหูนาหนวก เป็ นการอักเสบจากการติดเชื้อของเยือเมือกในโพรงหูช้ ั นกลาง ้ ่ ทาให้ เป็ นหนองในหูช้ ั นกลาง ..............4. โรคหูนาหนวกชนิดไม่ เป็ นอันตรายเกิดจากแก้ วหูทะลุ รักษาโดยการหยอดยา ้ เมื่อมีหนองไหล และใช้ นาล้างหนองออก หรือแคะขีหูออกให้ หมด ้ ้ ..............5. หูตึง (หูหนวก) หมายถึง ภาวการณ์ ได้ ยนเสี ยงลดลง มีสาเหตุมาจากแก้ วหูทะลุ ิ หูอกเสบ หรือโรคเมเนียส์ ั
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 31 ิ บัตรเฉลยศูนย์ที่ 4 โรคที่เกิดกับหู 1.  2.  3.  4.  5.  พีเ่ ก่งมากเลย พาผมไปศึกษา ศู นย์ การเรียน อืนต่ อไปนะครับ ่