SlideShare a Scribd company logo
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๑
มหาสมัยสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
มหาสมัยสูตร (พระสูตรนี้ เป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาทั้งหลาย) ว่าด้วยเรื่องราวของเทวดา
จานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุ มาประชุมกันเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและเยี่ยมภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ
๕๐๐ รูป ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์ สาเร็จพระอรหัตในวันที่ตรัสพระสูตรนี้ ซึ่งพระอรหันต์ดังกล่าว เป็นผู้ที่
กษัตริย์ชาวสองพระนครคือ พวกเจ้าศากยะและพวกเจ้าโกลิยะ ที่ต้องการทาสงครามกันเพื่อแย่งน้า แต่พระ
พุทธองค์ได้มาห้ามการสงครามระหว่างญาติทั้งสองฝ่ายก่อนที่จะเริ่มขึ้น กษัตริย์ทั้งสองฝ่ายจึงได้ถวายพระ
กุมารฝ่ายละสองร้อยห้าสิบองค์แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระพุทธองค์จึงทรงผนวชให้พระกุมารเหล่านั้น และ
ไม่นานนักพระราชกุมารเถระที่รับกัมมัฏฐานก่อนเขาหมด สาเร็จพระอรหัตพร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลาย
แล้ว ต่อไปก็อีกรูป ถัดไปก็อีกรูป ดังนี้
พวกเทวดาจานวนมากใน ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกันเพื่อเยี่ยมพระตถาคตและภิกษุสงฆ์ (ยกเว้น
เทพไม่มีสัญญา เทพชั้นอรูปาวจร และเทพที่เข้าสมาบัติ ไม่ได้เข้าประชุม) ทั้งนี้ จานวนพวกเทวดาของพระผู้
มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตกาลที่มาประชุมกัน มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดา
ที่มาประชุมกันในกาลครั้งนี้ และพวกเทวดาของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายใน
อนาคตกาลที่จะมาประชุมกัน ก็มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดาที่มาประชุมกันในกาลครั้งนี้ เช่นกัน
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงได้ทาการแบ่งพวกเทวดาแม้ทั้งหมดนั้นเป็นสองพวกด้วยอานาจภัพและ
อภัพ คือพวกที่เป็นอภัพสัตว์พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ไม่ทรงมอง และพวกภัพสัตว์นั้นต่อให้อยู่ไกลก็เสด็จไป
ทรงสงเคราะห์ เพราะฉะนั้น แม้ในการประชุมของเทพคราวนี้ นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงละพวกที่อภัพ (ไม่
เหมาะ ไม่สมควร โชคร้าย) แล้วรวบรวมเอาแต่พวกภัพสัตว์ เมื่อรวบรวมเอาเสร็จแล้วก็มาทรงจัดเป็น ๖
พวก ตามอานาจจริต
ก่อนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าจะเริ่มเทศนาพระธรรมให้เหล่าเทวดาที่มาเข้าเฝ้า พระศาสดาทรงคิด
ว่า เราจะกล่าวถึงชื่อและโคตรของผู้ที่มาแล้ว เพื่อให้พวกเทวดาเกิดความเป็นผู้มีจิตพร้อมก่อน จึง
ตรัสคาเป็นต้นว่า ภิกษุทั้งหลาย เราจะบอก ... ดังได้แสดงในมหาสมัยสูตร
ต่อมาก็ทรงใคร่ครวญธรรมเทศนาอันเป็นที่สบายแก่พวกจริตเหล่านั้น ทรงกาหนดเทศนาว่า
พวกเทวดาราคจริต เราจักแสดง สัมมาปริพพาชนียสูตร (สูตรว่าด้วยเรื่องที่พึงเว้นโดยชอบ)
จักแสดง กลหวิวาทสูตร (สูตรเกี่ยวกับเรื่องทะเลาะวิวาท) แก่พวกโทสจริต
จักแสดง มหาพยูหสูตร (สูตรว่าด้วยพวกใหญ่) แก่พวกโมหจริต
จักแสดง จูฬพยูหสูตร (สูตรว่าด้วยพวกน้อย) แก่พวกวิตกจริต
จักแสดง ตุวัฏฏกปฏิปทา (ข้อปฏิบัติของนกคุ่ม) แก่พวกสัทธาจริต
2
จักแสดง ปุราเภทสูตร (สูตรว่าด้วยเรื่องแตกในอนาคต) แก่พวกพุทธิจริต
ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาจบ เทวดาจานวนหนึ่งแสนโกฏิได้บรรลุ
พระอรหัต ผู้ที่เป็นพระโสดาบันเป็นต้น ไม่มีการนับ
------------------
มหาสมัยสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ทีฆนิกาย มหาวรรค
๗. มหาสมยสูตร
ว่าด้วยการประชุมครั้งใหญ่ของเทวดา
[๓๓๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ป่ามหาวัน (ป่ามหาวัน เป็นป่าที่เกิดเองตามธรรมชาติ อยู่
ติดกับเทือกเขาหิมาลัย) เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ซึ่ง
ล้วนเป็นพระอรหันต์ มีเหล่าเทวดาจานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกันเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและ
เยี่ยมภิกษุสงฆ์
เทพชั้นสุทธาวาส ๔ องค์ ได้มีความดาริดังนี้ ว่า “พระผู้มีพระภาคพระองค์นี้ ประทับอยู่ที่ป่ามหา
วัน เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์ มี
เหล่าเทวดาจานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกัน เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและเยี่ยมภิกษุสงฆ์ ทางที่ดี
เราก็ควรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค แล้วกล่าวคาถาองค์ละคาถาในสานักพระผู้มีพระภาค”
[๓๓๒] ลาดับนั้น เทพเหล่านั้นหายไปจากเทวโลกชั้นสุทธาวาสมาปรากฏ ณ เบื้องพระพักตร์พระ
ผู้มีพระภาค เหมือนบุรุษมีกาลังเหยียดแขนออกหรือคู้แขนเข้าฉะนั้น ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วยืน
อยู่ ณ ที่สมควร เทพองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า
“การประชุมครั้งใหญ่ในป่าใหญ่ มีหมู่เทพมาประชุมกัน พวกเราพากันมายังธรรมสมัยนี้
(ธรรมสมัย ในที่นี้ หมายถึงสถานที่ที่ประชุมเพื่อฟังธรรม) ก็เพื่อได้เยี่ยมสงฆ์ผู้ไม่พ่ายแพ้”
จากนั้น เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า
“ภิกษุทั้งหลายในที่ประชุมนั้น มีจิตมั่นคง ทาจิตของตนๆ ให้ตรง ภิกษุผู้เป็นบัณฑิตย่อมรักษา
อินทรีย์ไว้ เหมือนสารถีผู้กุมบังเหียนขับรถม้าไป”
เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า
“ภิกษุเหล่านั้นตัดกิเลสดังตะปู (ในกิเลสดังตะปู ที่นี้ หมายถึงราคะ โทสะ และโมหะ กิเลสดัง
ลิ่มสลัก และกิเลสดังเสาเขื่อน ก็มีนัยเช่นเดียวกัน) ตัดกิเลสดังลิ่มสลัก ถอนกิเลสดังเสาเขื่อนได้แล้ว เป็นผู้
ไม่หวั่นไหว บริสุทธิ์ เป็นผู้ปราศจากมลทิน เที่ยวไป เป็นผู้อันพระผู้มีพระภาคผู้มีพระจักษุ (มีพระจักษุ
3
หมายถึงมีพระจักษุ ๕ คือ ๑. มังสจักขุ (ตาเนื้ อ) ๒. ทิพพจักขุ (ตาทิพย์) ๓. ปัญญาจักขุ (ตาปัญญา) ๔.
พุทธจักขุ (ตาพระพุทธเจ้า) ๕. สมันตจักขุ (ตาเห็นรอบ)) ทรงฝึกดีแล้ว เหมือนช้างหนุ่ม ฉะนั้น”
เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า
“เหล่าชนผู้นับถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ จักไม่ไปสู่อบายภูมิ ครั้นละกายมนุษย์แล้ว จักทา
ให้หมู่เทพเจริญเต็มที่”
การประชุมของเทวดา
[๓๓๓] ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดา
จานวนมากใน ๑๐ โลกธาตุประชุมกันเพื่อเยี่ยมตถาคตและภิกษุสงฆ์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดาของพระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตกาล ที่มาประชุมกัน ครั้งที่มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวก
เทวดาของเรานี้ เองที่มาประชุมกันในบัดนี้ พวกเทวดาของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทั้งหลายในอนาคตกาลที่มาประชุมกัน ครั้งที่มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดาของเรานี้ เองที่มาประชุมกัน
ในบัดนี้ เราจักบอกชื่อของหมู่เทพ จักระบุชื่อของหมู่เทพ จักแสดงชื่อของหมู่เทพ เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เรา
จักกล่าว” ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว
[๓๓๔] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ ว่า
“เรา (เรา ในที่นี้ หมายถึงพระผู้มีพระภาค) จะกล่าวเป็นคาถา เหล่าภุมมเทวดาอาศัยอยู่ในที่ใด
เหล่าภิกษุก็อาศัยอยู่ในที่นั้น
ภิกษุเหล่าใดอาศัยซอกเขา มีจิตมุ่งมั่น มีจิตตั้งมั่น พวกเธอมีจานวนมากเร้นอยู่ เหมือนราชสีห์
ข่มความขนพองสยองเกล้าได้ มีจิตสะอาด หมดจดผ่องใส ไม่ขุ่นมัว พระศาสดาทรงทราบว่ามีภิกษุกว่า
๕๐๐ รูป ผู้อยู่ในป่า ในเขตกรุงกบิลพัสดุ์ จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้ยินดีในศาสนามาตรัสว่า
‘ภิกษุทั้งหลาย หมู่เทพมุ่งมากันแล้ว พวกเธอจงรู้จักเทพเหล่านั้น’
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้วพากันทาความเพียร (ทาความเพียร ในที่นี้ หมายถึงการ
เข้าผลสมาบัติ)’ จึงมีญาณอันเป็นเหตุให้เห็นพวกอมนุษย์ปรากฏขึ้น ภิกษุบางพวก เห็นอมนุษย์ ๑๐๐ ตน
บางพวกเห็น ๑,๐๐๐ ตน บางพวกเห็น ๗๐,๐๐๐ ตน บางพวกเห็น ๑๐๐,๐๐๐ ตน บางพวกเห็นมากมายไม่
มีที่สิ้นสุด อมนุษย์อยู่กระจายไปทั่วทุกทิศ
พระศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงทราบเหตุทั้งหมด ทรงกาหนดแล้ว จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้ยินดีใน
ศาสนามาตรัสว่า
‘ภิกษุทั้งหลาย หมู่เทพมุ่งมากันแล้ว เธอทั้งหลายจงรู้จักหมู่เทพเหล่านั้น เราจะบอกเธอทั้งหลาย
ด้วยวาจาตามลาดับ
[๓๓๕] ยักษ์ ๗,๐๐๐ ตน ที่เป็นภุมมเทวดาอยู่ในกรุงกบิลพัสดุ์ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง (มีความ
รุ่งเรือง หมายถึงประกอบด้วยอานุภาพ) มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุ
ทั้งหลาย
ยักษ์ ๖,๐๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาหิมพานต์ มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ
งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
4
ยักษ์ ๓,๐๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาสาตาคีรี มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ
งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ยักษ์เหล่านั้นรวมเป็น ๑๖,๐๐๐ ตน มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ
งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ยักษ์ ๕๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาเวสสามิต มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ
งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
กุมภีรยักษ์ผู้รักษากรุงราชคฤห์อยู่ที่ภูเขาเวปุลละ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ
ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
[๓๓๖] ท้าวธตรฐปกครองทิศตะวันออก เป็นหัวหน้าของพวกคนธรรพ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้
บุตรของเธอมีจานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มี
ยศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ท้าววิรุฬหกปกครองทิศใต้ เป็นหัวหน้าของพวกกุมภัณฑ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี
จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง
มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ท้าววิรูปักษ์ปกครองทิศตะวันตก เป็นหัวหน้าของพวกนาค เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี
จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง
มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ท้าวกุเวรปกครองทิศเหนือ เป็นหัวหน้าของพวกยักษ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี
จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง
มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
ท้าวธตรฐอยู่ทางทิศตะวันออก ท้าววิรุฬหกอยู่ทางทิศใต้ ท้าววิรูปักษ์อยู่ทางทิศตะวันตก ท้าว
กุเวรอยู่ทางทิศเหนือ ท้าวจาตุมหาราชนั้นมีแสงสว่างส่องไปโดยรอบทั่วทั้ง ๔ ทิศ สถิตอยู่ในป่า เขตกรุง
กบิลพัสดุ์
[๓๓๗] พวกผู้รับใช้ของท้าวจาตุมหาราชเหล่านั้น เป็นพวกมีมายา หลอกลวง โอ้อวดก็มาด้วย
พวกผู้รับใช้ที่มีมายา คือ กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิฏู วิฏุฏะ จันทนะ กามเสฏฐะ กินนุฆัณฑุ และ นิฆัณฑุก็มาด้วย
ปนาทะ โอปมัญญะ มาตลิผู้เป็นเทพสารถี จิตตเสนะ (จิตตเสนะ เป็นชื่อเทวบุตรพวกคนธรรพ์ ๓ องค์ คือ
(๑) จิตตะ (๒) เสนะ (๓) จิตตเสนะ) นโฬราชะ ชโนสภะ ปัญจสิขะ ติมพรุ (คันธรรพเทวราชา) และสุ
ริยวัจฉสา (คันธรรพเทวธิดา) ก็มาด้วย เทวราชเหล่านั้นและคนธรรพ์อื่นๆ ที่มาพร้อมเทวราช ต่างยินดีมุ่ง
มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
[๓๓๘] อนึ่ง หมู่นาคที่อยู่ในสระนาภสะ และที่อยู่ในกรุงเวสาลีมาพร้อมด้วยพวกนาคตัจฉกะ นาค
กัมพลและนาคอัสดรก็มาด้วย และนาคที่อยู่ในท่าปายาคะก็มาพร้อมด้วยหมู่ญาติ นาคผู้อยู่ในแม่น้ายมุนา
และนาคที่เกิดในตระกูลธตรฐผู้มียศก็มา พญาช้างเอราวัณก็มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
5
เหล่าครุฑผู้เป็นทิพย์ มีนัยน์ตาบริสุทธิ์ ผู้สามารถจับนาคราชได้ฉับพลัน ผู้บินมาทางอากาศถึง
ท่ามกลางป่า มีชื่อว่าจิตรสุบรรณ
เวลานั้น พวกนาคราชไม่มีความหวาดกลัว (เพราะ) พระพุทธเจ้าทรงกระทาให้ปลอดภัยจากครุฑ
นาคกับครุฑเจรจากันด้วยวาจาอันไพเราะ ต่างมีพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
[๓๓๙] อสูรพวกที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร เป็นผู้พ่ายแพ้ต่อพระอินทร์ผู้ถือวชิราวุธ อสูรเหล่านั้นมี
ฤทธิ์ มียศ เป็นพี่น้องของท้าววาสวะ
พวกอสูรกาลกัญชะมีร่างน่ากลัวมาก พวกอสูรทานเวฆสะ อสูรเวปจิตติ อสูรสุจิตติ อสูรปหาราทะ
และพญามารนมุจีก็มาด้วย
บุตรของพลิอสูร ๑๐๐ ตนที่ชื่อว่าเวโรจนะ ทุกตนต่างสวมเกราะเข้มแข็งเข้าไปใกล้ราหูจอมอสูร
แล้วกล่าวว่า ‘ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน บัดนี้ ถึงเวลาที่ท่านควรเข้าไปสู่ป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย’
[๓๔๐] เวลานั้น เทพ (๑๐ หมู่) คือ อาโป ปฐวี เตโช วาโย วรุณะ วารุณะ โสมะ ยสสะ เมตตาและ
กรุณา (เมตตาและกรุณา หมายถึงเหล่าเทพที่เกิดด้วยอานาจเมตตาฌานและกรุณาฌานที่เคยบาเพ็ญมา)
เป็นผู้มียศก็มาด้วย
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
เทพ (๑๐ หมู่) คือ เวณฑู สหลี และเทพ ๒ หมู่ คือ อสมะ และยมะก็มา เทพผู้อาศัยพระจันทร์ มี
พระจันทร์นาหน้ามา เทพผู้อาศัยพระอาทิตย์ มีพระอาทิตย์นาหน้ามา เทพพวกมันทวลาหกะ (เทพพวก
มันทวลาหกะ ในที่นี้ หมายถึงเทพ ๓ องค์ คือ (๑) วาตวลาหกเทพบุตร (๒) อัพภวลาหกเทพบุตร (๓) อุณ
หวลาหกเทพบุตร) มีพระนักษัตรนาหน้ามา พระอินทร์ผู้เป็นท้าวสักกะ ผู้เป็นท้าวปุรินททะ (ปุรินททะ ตาม
คติของฮินดูเป็นชื่อหนึ่งของพระอินทร์ แปลว่า ผู้ทาลายเมือง (ปุรททะ) ตามคติพุทธศาสนา เป็นชื่อหนึ่ง
ของพระอินทร์ แปลว่า ผู้ให้ทานในกาลก่อน) ท้าววาสวะ ประเสริฐกว่าเหล่าเทพวสุ (เทพวสุ หมายถึงเทพ
เจ้าแห่งทรัพย์) ก็มา
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สหภู ผู้รุ่งเรืองดังเปลวไฟ อริฏฐกะ โรชะ ผู้มีรัศมีดังสีดอกผักตบ วรุณะ
สหธรรม อัจจุตะ อเนชกะ สุเลยยะ รุจิระ และวาสวเนสีก็มา
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สมานะ มหาสมานะ มานุสะ มานุสุตตมะ ขิฑฑาปทูสิกะ มโนปทูสิกะ หริ
โลหิตวาสี ปารคะ และมหาปารคะผู้มียศก็มา
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
6
เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สุกกะ กรุมหะ อรุณะ เวฆนสะ โอทาตคัยหะผู้เป็นหัวหน้า วิจักขณะ สทา
มัตตะ หารคชะ มิสสกะผู้มียศ และปชุนนเทวราชผู้บันดาลฝนให้ตกทั่วทุกทิศก็มา
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ เทพพวกเขมิยะ เทพชั้นดุสิต เทพชั้นยามา เทพพวกกัฏฐกะ (กัฏฐกะ เรียก
อีกชื่อหนึ่งว่า กถกะ) ผู้มียศ เทพพวกลัมพีตกะ เทพพวกลามเสฏฐะ เทพพวกโชติ อาสวะ (อาสวะ เรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า อาสา) เทพชั้นนิมมานรดี และเทพชั้นปรนิมมิตวสวัตดีก็มา
เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี
ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
เทพทั้งหมด ๖๐ หมู่ ล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มาแล้วตามกาหนด ชื่อหมู่เทพและเทพพวกอื่น
ผู้มีผิวพรรณและชื่อเช่นนั้นก็มา (ด้วยคิด)ว่า
‘พวกเราจะเข้าพบพระนาคะ (พระนาคะ เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า เพราะไม่ทาความ
ชั่ว) ผู้ไม่มีการเกิด ไม่มีกิเลสดังตะปู ผู้ข้ามโอฆะ (โอฆะ หมายถึงโอฆะ ๔ คือ (๑) กาม (๒) ภพ (๓) ทิฏฐิ
(๔) อวิชชา) ได้แล้ว ไม่มีอาสวะ ผู้พ้นโอฆะได้แล้ว ล่วงพ้นธรรมดา ดังดวงจันทร์พ้นจากเมฆฉะนั้น
[๓๔๑] สุพรหมและปรมัตตพรหม ผู้เป็นบุตร (บุตร ในที่นี้ หมายถึงพุทธบุตรผู้ที่เป็นอริยสาวกผู้
เป็นพรหม) ของพระผู้ทรงฤทธิ์ (พระผู้ทรงฤทธิ์ หมายถึงพระพุทธเจ้า) ก็มาด้วย สนังกุมารพรหมและติสส
พรหมก็มายังป่าที่ประชุม
ท้าวมหาพรหม ๑,๐๐๐ องค์ ปกครองพรหมโลก ท้าวมหาพรหมนั้น อุบัติขึ้นในพรหมโลก มีความ
รุ่งเรือง มีกายใหญ่ มียศก็มา มีพรหม ๑๐ องค์ ผู้เป็นใหญ่กว่าพรหม ๑,๐๐๐ องค์ มีอานาจเฉพาะองค์ละ
อย่างก็มา มหาพรหมชื่อหาริตะ มีบริวารห้อมล้อม มาอยู่ท่ามกลางพรหม ๑,๐๐๐ องค์นั้น’
[๓๔๒] เมื่อเสนามารมาถึง พระศาสดาได้ตรัสกับพวกเทพทั้งหมดเหล่านั้น พร้อมทั้งพระอินทร์
และพระพรหมผู้ประชุมกันอยู่ จงดูความโง่เขลาของกัณหมาร มหาเสนามารได้ส่งเสนามารไปในที่ประชุม
ใหญ่ของเหล่าเทพด้วยคาว่า
“พวกท่านจงไปจับหมู่เทพผูกไว้ พวกท่านจงผูกไว้ด้วยราคะเถิด จงล้อมไว้ทุกด้าน ใครๆ อย่าได้
ปล่อยให้ผู้ใดหลุดพ้นไป” แล้วก็เอาฝ่ามือตบแผ่นดินทาเสียงน่ากลัว (แต่) ในเวลานั้น ไม่อาจ ทาให้ใครตก
อยู่ในอานาจได้ จึงกลับไปทั้งที่เกรี้ยวโกรธ เหมือนเมฆฝนที่บันดาลให้ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ ฉะนั้น
[๓๔๓] พระศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงทราบเหตุทั้งหมด ทรงกาหนดแล้ว จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้
ยินดีในศาสนามาตรัสว่า
‘ภิกษุทั้งหลาย เสนามารมุ่งมากันแล้ว พวกเธอจงรู้จักพวกเขา’
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว พากันทาความเพียร เสนามารหลีกไปจากเหล่าภิกษุผู้
ปราศจากราคะ ไม่อาจแม้ทาขนของภิกษุเหล่านั้นให้ไหวได้
(พญามารกล่าวสรรเสริญว่า)
7
‘หมู่พระสาวกของพระพุทธเจ้า ชนะสงครามแล้วทั้งสิ้น ล่วงพ้นความหวาดกลัว มียศปรากฏอยู่
ในหมู่ชน บันเทิงอยู่กับภูต (ภูต ในที่นี้ หมายถึงพระอริยะในศาสนาของพระทศพล) ทั้งหลาย”
มหาสมยสูตรที่ ๗ จบ
------------------
อรรถกถา ทีฆนิกาย มหาวรรค
มหาสมัยสูตร
คาอธิบายนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถามหาสมัยสูตร
ต่อไปนี้ เป็นการพรรณนาตามลาดับบทในมหาสมัยสูตรนั้น.
บทว่า ในแคว้นของพวกชาวสักกะ ความว่า ชนบทแม้แห่งเดียวเป็นที่อยู่แห่งพระราชกุมารที่ได้
พระนามว่าสักกะ เพราะอาศัยพระอุทานว่า ท่าน! พวกเด็กช่างเก่งแท้ตามนัยแห่งการเกิดขึ้นที่กล่าวไว้ใน
อัมพัฏฐสูตร ก็เรียกว่า สักกะทั้งหลาย ในชนบทของพวกชาวสักกะนั้น.
บทว่า ที่ป่าใหญ่ คือ ในป่าใหญ่ที่เกิดเองมิได้ปลูกไว้ ติดต่อเป็นอันเดียวกันกับหิมพานต์.
บทว่า ล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งหมด คือ ผู้สาเร็จพระอรหัตในวันที่ตรัสพระสูตรนี้ เอง.
ต่อไปนี้ เป็นลาดับถ้อยคา.
เล่ากันมาว่า ชาวศากยะและโกลิยะช่วยกันกั้นแม่น้าชื่อโรหิณี ในระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และ
เมืองโกลิยะ ด้วยเขื่อนเดียวเท่านั้นแล้วหว่านกล้า. ต่อมาในต้นเดือนเจ็ด เมื่อกล้ากาลังเหี่ยว พวกคนงาน
ของชาวเมืองทั้งสองก็ประชุมกัน.
ในที่ประชุมนั้น พวกชาวเมืองโกลิยะพูดว่า น้านี้ เมื่อถูกทั้งสองฝ่ายนาเอาไป (ใช้) พวกคุณก็จะ
ไม่พอ พวกฉันก็จะไม่พอ แต่กล้าของพวกฉันจะสาเร็จด้วยน้า แต่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ขอให้พวกคุณจงให้
น้าแก่พวกฉันเถิดนะ.
ชาวเมืองกบิลพัสดุ์ก็พูดว่า เมื่อพวกคุณใส่ข้าวจนเต็มยุ้งแล้ว พวกฉันจะเอาทองแดงมณีเขียวและ
กหาปณะดา มีมือถือกระบุงและไถ้เป็นต้น เดินไปใกล้ประตูบ้านของพวกคุณก็ไม่ได้ ถึงข้าวกล้าของพวกฉัน
ก็จะสาเร็จด้วยน้าครั้งเดียวเหมือนกัน ขอให้พวกท่านจงให้น้านี้ แก่พวกฉันเถิดนะ
พวกฉันให้ไม่ได้. ถึงพวกฉันก็ให้ไม่ได้.
เมื่อทะเลาะกันลามปามอย่างนี้ แล้ว คนหนึ่งก็ลุกไปตีคนหนึ่ง. แม้คนนั้นก็ตีคนอื่น ต่างทุบตีกัน
และกันอย่างนี้ แล้วก็ทะเลาะกันลามปาม จนเกี่ยวโยงไปถึงชาติของพวกราชตระกูลด้วยประการฉะนี้ .
พวกคนงานฝ่ายโกลิยะพูดว่า พวกแกจงพาเอาพวกชาวกบิลที่ร่วมสังวาสกับพี่น้องสาวของตน
เหมือนกับพวกสุนัขและหมาจิ้งจอกเป็นต้นไป ต่อให้ช้าง ม้าและโล่และอาวุธของพวกนั้นก็ทาอะไรพวกข้า
ไม่ได้.
พวกคนงานฝ่ายศากยะก็พูดบ้างว่า พวกแกก็จงพาเอาเด็กขี้เรื้อน ซึ่งเป็นพวกอนาถาหาคติมิได้
8
อยู่ใต้ไม้กระเบาเหมือนพวกดิรัจฉานไปเดี๋ยวนี้ ต่อให้ช้างม้าและโล่และอาวุธของพวกนั้นก็ทาอะไรพวกข้า
ไม่ได้หรอก.
ครั้นพวกเหล่านั้นกลับไปแล้วก็แจ้งแก่พวกอามาตย์ที่เกี่ยวกับงานนั้น. พวกอามาตย์ก็กราบทูล
พวกราชตระกูล จากนั้น พวกเจ้าศากยะก็ว่าพวกเราจะแสดงความเข้มแข็งและกาลังของเหล่าผู้ร่วมสังวาส
กับพี่สาวน้องสาว แล้วก็เตรียมยกทัพไป. ฝ่ายพวกเจ้าโกลิยะก็ว่าพวกเราจะแสดงความเข้มแข็งและกาลังของ
เหล่าผู้อยู่ใต้ต้นกระเบา แล้วก็เตรียมยกทัพไป.
ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อเวลาใกล้รุ่งนั้นเอง เสด็จออกจากมหากรุณาสมาบัติ เมื่อทรง
ตรวจดูโลกได้ทรงเห็นพวกเหล่านี้ กาลังเตรียมยกทัพไปอย่างนี้ ครั้นทรงเห็นแล้วก็ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า เมื่อ
เราไป การทะเลาะนี้ จะสงบหรือไม่หนอ ได้ทรงทาการสันนิษฐานว่า เมื่อเราไปที่นั้นแล้วจะแสดงชาดกสาม
เรื่อง เพื่อระงับการทะเลาะกัน แต่นั้นการทะเลาะกันก็จะสงบ ต่อจากนั้น เพื่อประโยชน์การส่องถึงความ
พร้อมเพรียงกัน เราจะแสดงอีกสองชาดก แล้วแสดงถึงเรื่อง อัตตทัณฑสูตร เมื่อชาวเมืองทั้งสองได้ฟังเทศน์
แล้วจะให้เด็กฝ่ายละสองร้อยห้าสิบคน เราจะให้เด็กเหล่านั้นบวช.
ทีนั้น การประชุมใหญ่ก็จะมี เพราะเหตุนั้น ขณะที่พวกเหล่านี้ กาลังเตรียมยกทัพออกไป ไม่ทรง
แจ้งใครๆ พระองค์เองนั่นแหละเสด็จถือบาตรจีวร ไปขัดบัลลังก์ประทับนั่ง เปล่งพระรัศมีหกสีที่อากาศ
ระหว่างกองทัพทั้งสอง.
พอชาวเมืองกบิลพัสดุ์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเข้าเท่านั้น ก็คิดว่า พระศาสดาพระญาติ
ประเสริฐของพวกเราเสด็จมาแล้ว พระองค์ทรงเห็นความที่พวกเรากระทาการทะเลาะกันหรือหนอ แล้วคิด
ว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแล้ว พวกเราจะให้ศัสตราถึงสรีระผู้อื่นไม่ได้อย่างเด็ดขาด แล้วก็ทิ้งอาวุธ
นั่งไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. แม้พวกชาวเมืองโกลิยะก็คิดเหมือนกันอย่างนั้นแหละ พากันทิ้งอาวุธ นั่ง
ไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว.
ทั้งที่ทรงทราบอยู่เทียว พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสถามว่า มหาบพิตร! พวกพระองค์เสด็จมา
ทาไม. พวกเหล่านั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า! พวกข้าพระองค์เป็นผู้มาที่นี้ ไม่ใช่เพื่อเล่นที่ท่า
น้า ไม่ใช่เพื่อเล่นที่ภูเขา ไม่ใช่เพื่อเล่นแม่น้า ไม่ใช่เพื่อชมเขา แต่มารบกัน.
มหาบพิตร! เพราะอาศัยอะไร พระองค์จึงทะเลาะกัน. น้า พระพุทธเจ้าข้า.
น้ามีค่าเท่าไร มหาบพิตร. มีค่าน้อย พระเจ้าข้า.
ชื่อว่าแผ่นดิน มีค่าเท่าไร มหาบพิตร. หาค่ามิได้ พระเจ้าข้า. ชื่อว่าพวกกษัตริย์มีค่าเท่าไร
มหาบพิตร. ชื่อว่าพวกกษัตริย์หาค่ามิได้ พระเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า มหาบพิตร! พวกพระองค์อาศัยน้าที่มีค่าน้อย แล้วมาทาให้พวก
กษัตริย์ซึ่งหาค่ามิได้ ฉิบหายเพื่ออะไร
แล้วตรัสว่า ในการทะเลาะกัน ไม่มีความชื่นใจ มหาบพิตรทั้งหลาย! ด้วยอานาจการทะเลาะกัน
ความเจ็บใจที่รุกขเทวดาตนหนึ่งผู้ทาเวรในที่ที่ไม่น่าเป็นไปได้แล้วผูกไว้กับหมีได้ติดตามไปตลอดกัปทั้งสิ้น
แล้วตรัส ชาดกเรื่องต้นสะคร้อ.
ต่อจากนั้น ตรัสอีกว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! ไม่พึงเป็นผู้แตกตื่น เพราะฝูงสัตว์สี่เท้าในป่าหิม
9
พานต์ซึ่งกว้างตั้งสามพันโยชน์ แตกตื่นเพราะคาพูดของกระต่ายตัวหนึ่ง ได้แล่นไปจนถึงทะเลหลวง
เพราะฉะนั้น ไม่พึงเป็นผู้แตกตื่น แล้วตรัส ชาดกเรื่องแผ่นดินถล่ม
ต่อจากนั้น ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! บางทีแม้แต่ผู้ที่อ่อนกาลัง ก็ยังเห็นช่องผิดของผู้มีกาลัง
มากได้ บางทีผู้มีกาลังมาก ก็เห็นช่องพิรุธของผู้อ่อนกาลังได้ จริงอย่างนั้น แม้แต่นางนกมูลไถ ก็ยังฆ่าช้างได้
แล้วตรัส ชาดกเรื่องนกมูลไถ.
เมื่อตรัสชาดกทั้งสามเรื่องเพื่อระงับการทะเลาะกันอย่างนี้ แล้ว เพื่อประโยชน์การส่องถึงความ
พร้อมเพรียงกัน จึงตรัสชาดก (อีก) สองเรื่อง.
ตรัสอย่างไร ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! ก็ใครๆ ไม่สามารถเพื่อจะเห็นช่องผิดของพวกผู้พร้อม
เพรียงกันได้ แล้วตรัส รุกขธัมมชาดก. จากนั้น ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย ใครๆ ไม่อาจเห็นช่องผิดของ
เหล่าผู้พร้อมเพรียงกันได้ แต่เมื่อพวกเขาได้ทาการวิวาทกันและกัน เมื่อนั้นลูกพรานก็ฆ่าพวกนั้นถือเอาไป
ขึ้นชื่อว่าความชื่นใจ ย่อมไม่มีในการวิวาทกัน แล้วตรัส ชาดกเรื่องนกคุ่ม ครั้นตรัสชาดกทั้ง ๕ เรื่องเหล่านี้
เสร็จแล้ว สุดท้ายตรัส เรื่องอัตตทัณฑสูตร.
พระราชาทั้งหลายทรงเลื่อมใส ตรัสว่า หากพระศาสดาจักมิได้เสด็จมา พวกเราก็จะฆ่ากันเอง
ด้วยมือของตนแล้วทาให้แม่น้าเลือดไหลไป พวกเราจะไม่พึงเห็นลูกและพี่น้องของเราที่ประตูเรือน พวกเรา
จะไม่ได้มีแม้แต่ผู้สื่อสารโต้ตอบกัน พวกเราได้ชีวิตเพราะอาศัยพระศาสดา
ก็ถ้าพระศาสดาจะทรงครองเรือน ราชสมบัติในทวีปใหญ่สี่อันมีทวีปน้อยสองพันเป็นบริวาร ก็
คงจะได้อยู่ในอุ้งพระหัตถ์ของพระองค์ ก็ลูกๆ ของพวกเราตั้งพันกว่าคน ก็จะได้มี และแต่นั้นพระองค์ก็จะมี
กษัตริย์เป็นบริวารท่องเที่ยวไป แต่พระองค์มาทรงละสมบัตินั้นแล้ว ทรงออกไปบรรลุพระสัมโพธิญาณแล้ว
ถึงบัดนี้ ก็ขอให้จงทรงมีกษัตริย์เป็นบริวารเที่ยวไปนั่นเทียว.
กษัตริย์ชาวสองพระนครก็ได้ถวายพระกุมารฝ่ายละสองร้อยห้าสิบองค์. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ให้พระกุมารเหล่านั้นทรงผนวชแล้ว ก็เสด็จไปป่าใหญ่ เพราะความที่ท่านเหล่านั้นเคารพอย่างหนัก ความไม่
ยินดีจึงได้เกิดแก่พวกท่านผู้ซึ่งมิได้บวชตามความพอใจของตน.
แม้พวกภรรยาเก่าของท่านเหล่านั้นก็พูดคาเป็นต้นว่า ขอให้พระลูกเจ้าทั้งหลายจงสึกเถิด การ
ครองเรือนจะทรงอยู่ไม่ได้ แล้วก็ส่งข่าวไป. พวกท่านก็ยิ่งกระสันหนักขึ้นอีก.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงใคร่ครวญอยู่ก็ทรงทราบความไม่ยินดีของพวกท่านเหล่านั้น ทรงคิดว่า
พวกภิกษุเหล่านี้ อยู่ร่วมกันกับพระพุทธเจ้าเช่นเรา ยังกระสัน ถ้าไฉน เราจะกล่าวยกย่องสระดุเหว่าแก่พวก
เธอ แล้วก็ทรงพาไปที่นั้น ทรงคิดว่า เราจะบรรเทาความไม่ยินดี จึงทรงกล่าวคุณของสระดุเหว่า.
พวกภิกษุได้เป็นผู้อยากเห็นสระนั้นแล้ว.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอเป็นผู้อยากจะเห็นสระดุเหว่าหรือ. พวก
ภิกษุกราบทูลว่า อย่างนั้นพระเจ้าข้า. ถ้าอย่างนั้น มา พวกเราไปกัน. ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า! พวกข้า
พระองค์จะไปสู่ที่สาหรับไปของพวกท่านผู้มีฤทธิ์ได้อย่างไร. พวกเธอเป็นผู้อยากไปสระนั้น เราจะพาไปด้วย
อานุภาพของเราเอง. ดีแล้ว พระพุทธเจ้าข้า.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงพาภิกษุ ๕๐๐ รูปเหาะไปในอากาศ ลงที่ใกล้สระดุเหว่า และ
10
ตรัสกะภิกษุเหล่านั้นว่า ภิกษุทั้งหลาย! ที่สระดุเหว่านี้ ใครไม่รู้จักชื่อพวกปลา ก็จงถามเรา. ท่านเหล่านั้นทูล
ถามแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสบอกสิ่งที่ภิกษุถามแล้วถามอีก. และไม่ใช่แต่ชื่อพวกปลาเท่านั้น ยังให้
ถามถึงชื่อของต้นไม้ทั้งหลายในราวป่านั้นด้วย ของสัตว์สองเท้าสี่เท้าและนกในเชิงเขาด้วย แล้วก็ทรงบอก.
ครั้งนั้น พญานกดุเหว่าจับที่ท่อนไม้ซึ่งนกสองตัวใช้ปากกัดคาบไว้ มีพวกนกล้อมหน้าหลังทั้ง
สองข้างกาลังมา. เมื่อภิกษุได้เห็นนกนั้น ก็ทูลถามว่า พระเจ้าข้า! นั่นคงจะเป็นพญานกของนกเหล่านี้
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเข้าใจว่า พวกเหล่านั่นคงจะเป็นบริวารของพญานกนั่น. ภิกษุทั้งหลาย! ข้อนั้นเป็น
อย่างนั้น แม้นี้ ก็เป็นวงศ์ของเรา เป็นประเพณีของเรา. พระเจ้าข้า! พวกข้าพระองค์จะดูนกเหล่านี้ สัก
ประเดี๋ยวก่อน และก็พวกข้าพระองค์อยากจะฟังข้อที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า แม้นี้ ก็เป็นวงศ์ของเรา เป็น
ประเพณีของเรา. อยากฟังหรือ ภิกษุทั้งหลาย. อย่างนั้น พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น จงฟัง แล้วก็ตรัสชาดกเรื่องนกดุเหว่า ประดับด้วยคาถา
สามร้อย ทรงบรรเทาความไม่ยินดีแล้ว
เมื่อจบเทศน์แม้ภิกษุเหล่านั้น ก็ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลทุกรูป และแม้แต่ฤทธิ์ของท่านเหล่านั้น ก็
มาพร้อมกับมรรคนั่นเอง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงคิดว่า สาหรับภิกษุเหล่านี้ เพียงเท่านี้ ก่อนเถิด แล้วก็ทรงเหาะไปใน
อากาศเสด็จไปสู่ป่าใหญ่นั่นแล. แม้ภิกษุเหล่านั้นเวลาไป ไปด้วยอานาจของพระทศพล แต่เวลามาแวดล้อม
พระผู้มีพระภาคเจ้าลงในป่าใหญ่ด้วยอานาจของตนเอง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับบนที่นั่งที่ปูไว้แล้ว ตรัสเรียกภิกษุเหล่านั้น แล้วตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย
จงมานั่งลง เราจะบอกกัมมัฏฐานเพื่อให้พวกเธอละกิเลส ที่ต้องละด้วยสามมรรคเบื้องบน แล้วก็ทรงบอก
กัมมัฏฐานให้.
พวกภิกษุพากันคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่า พวกเราไม่มีความยินดี จึงทรงพาไปสระ
ดุเหว่า ทรงบรรเทาความไม่ยินดี บัดนี้ ได้ทรงประทานกัมมัฏฐานสาหรับมรรคทั้งสามในที่นี้ แก่พวกเราซึ่ง
บรรลุโสดาปัตติผลในที่นั้นแล้ว ก็แล พวกเราไม่ควรให้เสียเวลาด้วยคิดว่า พวกเราเป็นพระโสดาบันแล้ว
พวกเราควรเป็นอุดมบุรุษ ท่านเหล่านั้นจึงไหว้พระบาทของพระทศพล แล้วลุกขึ้นสลัดที่นั่ง แยกกันไปนั่งที่
เงื้อมและโคนไม้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ แม้โดยปกติก็ไม่ทิ้งการงาน และก็สาหรับภิกษุที่
ได้อุบายจะไม่มีเหตุแห่งการเหน็ดเหนื่อย และเมื่อไปตั้งวิปัสสนาแล้วบรรลุอรหัตต์ ก็จะพากันมาสู่สานักเรา
ด้วยคิดว่า พวกเราจะกราบทูลคุณวิเศษที่แต่ละคนได้เฉพาะแล้ว เมื่อพวกเธอเหล่านั่นมาแล้วพวกเทวดาใน
หมื่นจักรวาลก็จะประชุมกันในจักรวาลหนึ่ง การประชุมใหญ่ก็จะมี เราควรนั่งในโอกาสที่สงัด.
ลาดับนั้น ก็รับสั่งให้ปูพุทธอาสน์ในโอกาสที่สงัดแล้วประทับนั่งลง.
พระเถระที่ไปรับกัมมัฏฐานก่อนเขาหมด สาเร็จพระอรหัตพร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลายแล้ว.
ต่อไปก็อีกรูป ถัดไปก็อีกรูป ดังนี้ ก็เป็นอันว่าภิกษุทั้ง ๕๐๐ รูป เบิกบานเหมือนปทุมที่บานในสระปทุม
ฉะนั้น. ภิกษุที่สาเร็จพระอรหัตก่อนเขาหมด คิดว่า เราจะกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงคลายบัลลังก์ สลัด
ที่นั่งลุกขึ้นบ่ายหน้าไปหาพระทศพล. อีกรูปหนึ่งก็อย่างนั้น อีกรูปหนึ่งก็อย่างนั้น ดังนี้ ก็เป็นอันว่า ภิกษุทั้ง
11
๕๐๐ รูปทยอยกันมาเหมือนเข้าสู่โรงอาหาร ฉะนั้น.
ผู้ที่มาก่อนเขาหมด ไหว้และปูที่นั่งแล้วนั่งในที่ควรส่วนหนึ่ง เป็นผู้อยากจะกราบทูลถึงคุณพิเศษ
ที่ได้โดยเฉพาะ คิดว่า ใครอื่นมีหรือไม่มีหนอ กลับไปมองดูทางมาได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง ได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง.
ด้วยประการฉะนี้ เป็นอันว่า ท่านทั้งหมดแม้นั้นก็มานั่งในที่ควรส่วนหนึ่งแล้ว ก็ต่างคิดว่า รูปนี้ กาลังละอาย
จึงไม่บอกแก่รูปนี้ รูปนี้ ก็กาลังละอายจึงไม่บอกแก่รูปนี้
ได้ยินว่า สาหรับพวกผู้สิ้นอาสวะแล้วย่อมมีอาการสองอย่างคือ
๑. เกิดความคิดว่า ชาวโลกพร้อมกับเทวดาจะพึงรู้แจ้งแทงตลอดคุณวิเศษที่เราได้เฉพาะแล้ว
พลันทีเดียว
๒. ไม่ประสงค์จะบอกคุณที่ตนได้แล้วแก่ผู้อื่น เหมือนคนที่ได้ขุมทรัพย์ฉะนั้น.
ก็เมื่อสักว่าวงของพระอริยเจ้านั้นหยั่งลงแล้ว พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหลุดพ้นจากตัวการที่ทาให้
เศร้าหมอง คือหมอก น้าค้าง ควัน ฝุ่น ราหู จากขอบเขตรอบเขายุคนธรทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยสิริ
แห่งล้อเงิน ซึ่งกาลังจับขอบกงหมุนไป คล้ายกับวงแว่นส่องแผ่นใหญ่ที่สาเร็จด้วยเงินที่ยกขึ้นในด้านทิศ
ตะวันออก เพื่อทัศนะอันเป็นที่น่ารื่นรมย์ของโลกที่ประดับด้วยพุทธุปบาท ลอยเด่นดาเนินไปสู่ทางลม.
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่ป่าใหญ่ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ในแคว้นแห่งพวกชาวสักกะกับหมู่ภิกษุ
จานวนมาก คือภิกษุมีจานวน ๕๐๐ รูป ทุกรูปล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ในขณะ คือในลยะ ได้แก่ในครู่หนึ่ง
เห็นปานนี้ ด้วยประการฉะนี้ .
ในที่ประชุมนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงเกิดในวงศ์พระเจ้ามหาสมมต เหล่าภิกษุทั้ง ๕๐๐ รูป
นั้นเล่า ก็เกิดในตระกูลพระเจ้ามหาสมมต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเกิดในพระครรภ์กษัตริย์ ท่านเหล่านั้น
เล่าก็เกิดในครรภ์กษัตริย์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเป็นนักบวชชั้นเจ้า ท่านเหล่านั้นเล่าก็เป็นนักบวชชั้นเจ้า
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงละเศวตฉัตร ทรงสละราชสมบัติจักรพรรดิที่อยู่ในกาพระหัตถ์ ทรงผนวช ท่าน
เหล่านั้นเล่าก็สละเศวตฉัตร ทิ้งราชสมบัติที่อยู่ในกามือบวช.
ดังว่ามานี้ จึงเป็นอันว่า องค์พระผู้มีพระภาคเจ้าเองทรงหมดจด ทรงมีบริวารที่หมดจด ใน
โอกาสที่หมดจด ในส่วนราตรีที่หมดจด ทรงปราศจากราคะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากราคะ ทรงปราศจาก
โทสะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากโทสะ ทรงปราศจากโมหะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากโมหะ ทรงไม่มีตัณหา ทรง
มีบริวารที่ไม่มีตัณหา ทรงไม่มีกิเลส ทรงมีบริวารที่ไม่มีกิเลส ทรงสงบ ทรงมีบริวารที่สงบ ทรงฝึกแล้ว ทรงมี
บริวารที่ฝึกแล้ว ทรงพ้นแล้ว ทรงมีบริวารที่พ้นแล้ว ทรงรุ่งเรืองเกินเปรียบด้วยประการฉะนี้ .
นี่ชื่อว่าเป็นชั้นวรรณะสามารถพูดได้เท่าใด ก็พึงพูดเท่านั้น.
ดังที่ว่ามานี้ ท่านพระอานนท์หมายเอาภิกษุเหล่านี้ จึงกล่าวว่า คือภิกษุมีจานวน ๕๐๐ รูป ทุก
รูปล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งนั้น.
เทพโดยมากประชุมกันแล้ว ที่น้อยยกเว้นเทพไม่มีสัญญา เทพชั้นอรูปาวจร และเทพที่เข้า
สมาบัติ ไม่ได้เข้าประชุม.
-------------------
12
ต่อไปนี้ เป็นลาดับการเข้าประชุมในมหาสมัยสูตรนั้น.
เล่ากันมาว่า เหล่าเทวดาโดยรอบป่าใหญ่เคลื่อนไหวแล้ว ทาเสียงดังว่า มาเถิดผู้เจริญทั้งหลาย
ชื่อว่าการเห็นพระพุทธเจ้ามีอุปการะมาก การฟังพระธรรมมีอุปการะมาก การเห็นหมู่ภิกษุมีอุปการะมาก
มา มาเถิด พวกเรา แล้วก็พากันมานมัสการพระผู้มีพระภาคเจ้า และเหล่าพระขีณาสพผู้บรรลุพระอรหัต
เมื่อครู่นั้น แล้วยืน ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
โดยอุบายนี้ นั่นแหละ พึงทราบว่า ทวยเทพทั้งหลายในแสนจักรวาลมาประชุมกัน เพราะฟังเสียง
เทวดาเหล่านั้นๆ โดยลาดับ คือเทวดาผู้อยู่ในจักรวาลทั้งสิ้น ซึ่งอยู่ในสกลชมพูทวีป ปุพพวิเทหทวีป อมรโค
ยานทวีป อุตตรกุรุทวีป ในทวีปน้อยสองพันทวีป คือพวกเทวดาที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ซึ่งกว้างประมาณ
สามพันโยชน์ โดยฟังเสียงเทวดาผู้อาศัยอยู่ในที่กึ่งคาวุต หนึ่งคาวุต กึ่งโยชน์ หนึ่งโยชน์ โดยลาดับต่อกันไป
เทวดาในนคร ๑๘๙,๐๐๐ นคร เทวดาอยู่ที่โทณมุข ๙,๙๐๐,๐๐๐ แห่ง เทวดาอยู่ที่ปฏนะ ๙๖ แสนโกฏิ และ
อาศัยอยู่ที่ทะเล ๕๖ แห่ง มาประชุมกันแล้ว
แต่นั้น ก็เทวดาในจักรวาลที่สองที่สามเป็นต้น มาประชุมกันด้วยประการฉะนี้ .
ก็หมื่นจักรวาล ท่านหมายเอาว่า ๑๐ โลกธาตุในที่นี้ . เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า เทวดาจาก ๑๐
โลกธาตุโดยมากเป็นผู้เข้าประชุมแล้ว.
ห้องจักรวาลทั้งสิ้น จนถึงพรหมโลกเต็มแน่นไปด้วยพวกเทวดาที่เข้าประชุมอย่างนั้น เหมือน
กล่องเข็มที่เต็มแน่นไปด้วยเข็มที่ใส่ไปจนหาที่ว่างไม่ได้.
ในห้องจักรวาลทั้งสิ้นนั้น พึงทราบว่า ที่สูงกว่าเขาได้แก่ห้องจักรวาลของพรหมโลก.
เล่ากันมาว่า ผู้ยืนในพรหมโลกเอาก้อนหินเท่าเรือนยอดเจ็ดชั้นในโลหปราสาท โยนลงล่างสี่
เดือนจึงถึงแผ่นดิน. ในโอกาสใหญ่ขนาดนั้น ได้มีเทวดาจนหาที่ว่างไม่ได้ เหมือนดอกไม้ที่คนยืนข้างล่างโยน
ไป หรือเหมือนควันไม่ได้ช่องเพื่อขึ้นไปเบื้องบน หรือเหมือนเมล็ดผักกาดที่คนยืนข้างบนโรยไปไม่ได้ช่อง
เพื่อลงล่างฉะนั้น.
ก็ที่ประทับนั่งของพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่คับแคบ พวกเทวดาและพวกพรหมที่มีศักดิ์ใหญ่ซึ่ง
มาแล้วๆ ย่อมได้ช่องทุกองค์ เหมือนที่ประทับนั่งของพระเจ้าจักรพรรดิย่อมเป็นที่ไม่คับแคบ พวกกษัตริย์ชั้น
ผู้ใหญ่ที่เสด็จมาแล้วๆ ก็ยังทรงได้ช่องว่างอยู่นั่นเองฉะนั้น.
เออก็ยังเล่ากันมาว่า ประเทศขนาดเท่ากับปลายขนทราย ตามนัยที่กล่าวไว้ใน มหาปรินิพพาน
สูตร ในที่ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้านั่นเอง ก็ยังมีเทวดา ๑๐ องค์บ้าง ๒๐ องค์บ้าง เนรมิตร่างละเอียดยืนอยู่.
ข้างหน้าทั้งหมดมีเทวดา ๖๐ๆ องค์ยืนอยู่.
บทว่า พวกชั้นสุทธาวาส คือชาวสุทธาวาส. พรหมโลก ๕ ชั้นอันเป็นที่อยู่ของพระอนาคามีและ
พระขีณาสพผู้หมดจดชื่อว่าสุทธาวาส.
คาว่า ได้มีคาดาริอย่างนี้ คือ ทาไมจึงได้มี.
ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พวกพรหมเหล่านั้นเข้าสมาบัติแล้วออกตามกาหนด เมื่อมองดูที่อยู่ของ
พรหมก็ได้เห็นว่าง เหมือนโรงอาหารในเวลาหลังอาหาร แต่นั้นเมื่อใคร่ครวญดูว่า พวกพรหมไปไหน ก็
ทราบว่าไปที่ประชุมใหญ่ คิดว่า สมาคมนี้ ใหญ่ ฝ่ายพวกเรามามัวชักช้า ก็สาหรับพวกผู้ชักช้าจะหาโอกาสได้
13
ยาก เพราะฉะนั้น เมื่อจะไปพวกเราอย่ามีมือเปล่า แต่งคาถาองค์ละบทแล้วค่อยไป พวกเราจะให้พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าทรงทราบว่าตนมาในสมาคมเหมือนกันด้วยคาถานั้น และจะกล่าวพระเกียรติคุณของพระทศพล
ด้วย. ความดาริอย่างนี้ จึงได้มี เพราะความที่พรหมเหล่านั้นออกจากสมาบัติแล้วใคร่ครวญด้วยประการฉะนี้ .
บทว่า ปรากฏข้างหน้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ความว่า ท่านทาพรหมเหล่านั้นให้เหมือนหยั่งลงใน
ที่เฉพาะพระพักตร์ ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้านั่นเองกล่าวไว้แล้ว. ในบาลีแต่ในที่นี้ ไม่พึงเข้าใจความอย่างนี้
เลย.
ก็พรหมเหล่านั้นแต่งคาถาแต่ยังอยู่ในพรหมโลกเสร็จแล้วองค์หนึ่ง ลงที่ขอบปากจักรวาลด้าน
ตะวันออก องค์หนึ่งลงที่ขอบปากจักรวาลด้านใต้ องค์หนึ่งลงที่ขอบปากจักรวาลด้านตะวันตก องค์หนึ่งลงที่
ขอบปากจักรวาลด้านเหนือ.
ต่อจากนั้น พรหมที่ลงที่ขอบปากจักรวาลด้านตะวันออก ก็เข้ากสิณเขียว แล้วปล่อยรัศมีเขียว
เหมือนกาลังสวมหนังแก้วมณีให้เทวดาในหมื่นจักรวาลทราบว่าตนมาแล้ว
ธรรมดาวิถีของพระพุทธเจ้าไม่มีใครสามารถจะผ่านไปได้ เพราะฉะนั้น จึงมาด้วยวิถีของ
พระพุทธเจ้าที่กระทบแล้วไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้า ยืนในที่ควรส่วนหนึ่งแล้วก็ได้กล่าวคาถาที่ตนได้แต่งไว้.
พรหมที่ลงที่ขอบปากจักรวาลด้านใต้ ก็เข้ากสิณเหลืองปล่อยรัศมีแสงทอง เหมือนกาลังห่มผ้า
ทอง ประกาศให้เทวดาในหมื่นจักรวาลทราบว่าตนมาแล้ว ได้ยืนอยู่ในนั้นนั่นเอง.
พรหมที่ลงทางขอบปากจักรวาลด้านตะวันตก เข้ากสิณแดง เปล่งรัศมีแดง เหมือนห่มผ้าขนสัตว์
ชั้นดีสีแดง ประกาศให้ทรงทราบว่าตนมาแล้ว แก่เทวดาในหมื่นจักรวาลแล้วได้ยืนอย่างนั้นเหมือนกัน.
พรหมที่ลงทางขอบปากจักรวาลด้านเหนือ เข้ากสิณขาว เปล่งรัศมีขาวเหมือนนุ่งผ้าดอกมะลิ
ประกาศให้ทราบว่าตนมาแล้ว แก่เทวดาในหมื่นจักรวาลได้ยืนอย่างนั้นเหมือนกัน.
แต่ในบาลี ท่านกล่าวว่า พรหมทั้งหลายเหล่านั้นปรากฏข้างหน้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ว่า ครั้งนั้น
เทวดาเหล่านั้นอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้ยืนในที่ควรส่วนหนึ่งดังนี้ แล้ว ได้กล่าวความปรากฏ
ข้างหน้า และการอภิวาทแล้วยืนในที่ควรส่วนหนึ่ง เหมือนกับในขณะเดียวกันอย่างนั้น. การปรากฏและการ
ยืนได้มีตามลาดับนี้ แต่ท่านกระทาเป็นพร้อมกันแสดงไว้แล้ว.
ส่วนการกล่าวคาถาในบาลี ท่านแยกกล่าวไว้เป็นแผนกๆ ทีเดียว.
ในบทเหล่านั้น บทว่า มหาสมัย แปลว่า การประชุมใหญ่ ป่าชัฏเรียกว่าป่าใหญ่.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า การประชุมใหญ่ คือการเข้าประชุมพร้อมกันครั้งใหญ่มีในวันนี้ ที่ชัฏ
ป่านี้ แม้ด้วยบททั้งสอง. แต่นั้น เพื่อแสดงพวกที่เข้าประชุมนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า หมู่เทพมา
ประชุมกันแล้ว.
ในบทว่า หมู่เทพนั้น คือ พวกเทวดา.
บทว่า พวกเราเป็นผู้มาสู่การประชุมธรรมนี้ คือ เมื่อได้เห็นหมู่เทพมาประชุมกันอย่างนี้ แม้พวก
เราก็มาสู่การประชุมธรรมนี้ .
เพราะเหตุไร เพราะเหตุ เพื่อเห็นหมู่ที่ไม่มีใครปราบได้นั่นเอง. อธิบายว่า พวกเราได้เป็นผู้มา
เพื่อชมหมู่ที่ไม่มีใครปราบได้นี้ ผู้ชื่อว่า พิชิตสงคราม เพราะเป็นผู้ที่ไม่มีใครทาให้พ่ายแพ้ได้แล้ว ย่ายีมารทั้ง
14
สามชนิดได้ในวันนี้ นั่นเอง. ก็พรหมนั้น ครั้นกล่าวคาถานี้ แล้ว ก็อภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วได้ยืนทาง
ขอบปากจักรวาลด้านตะวันออก. ถัดมาองค์ที่สองก็มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ.
ในบทว่า ภิกษุทั้งหลายใน...นั้น นั้นได้แก่ พวกภิกษุในที่ประชุมนั้น.
บทว่า ตั้งมั่นแล้ว คือประกอบด้วยสมาธิ. บาทคาถาว่า ได้ทาจิตของตนให้ตรงแล้ว ได้แก่ ได้นา
ความคดโกง และความโค้งออกจนหมด แล้วทาจิตของตนให้ตรง.
บาทคาถาว่า เหมือนสารถีถือเชือก ความว่า เมื่อพวกม้าสินธพไปอย่างเรียบร้อย สารถีวางปฏัก
ลงแล้วคอยจับเชือกทั้งหมดไว้ ไม่เตือนไม่รั้งตั้งอยู่ฉันใด ภิกษุหมดทั้งห้าร้อยนี้ ถึงพร้อมด้วยความวางเฉยมี
องค์หก คุ้มทวารได้แล้ว บัณฑิตรักษาอินทรีย์ทั้งหลายไว้ฉันนั้น
พรหมกล่าวว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้มาที่นี้ เพื่อชมภิกษุเหล่านี้ .
แล้วพรหมแม้นั้นก็ไปยืนตามตาแหน่งทีเดียว. ถัดมาองค์ที่สามก็มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ.
ในบทเหล่านั้น บทว่า ตัดตาปูได้แล้ว คือ ตัดตาปูอันได้แก่ราคะโทสะและโมหะ. บทว่า ลิ่ม
สลัก ก็ได้แก่ลิ่มสลัก คือราคะโทสะและโมหะนั่นเอง. บทว่า เสาเขื่อน ก็ได้แก่เสาเขื่อน คือราคะโทสะและ
โมหะนั่นเอง. บทว่า ถอนแล้วไม่มี คือ ภิกษุเหล่าชื่อว่าไม่มีความหวั่นไหว เพราะไม่มีความหวั่นไหว คือ
ตัณหา ถอนแล้ว คือกระชากเสาเขื่อนจนหลุดแล้ว.
บทว่า ท่านเหล่านั้นเที่ยวไป คือ เที่ยวจาริกไปชนิดที่ไม่กระทบกระทั่งใคร ในสี่ทิศ. บทว่า หมด
จด คือไม่มีตัวการที่เข้ามาทาให้จิตใจเศร้าหมอง. บทว่า ปราศจากมลทิน คือไม่มีมลทิน. คาว่า ปราศจาก
มลทินนี้ ก็เป็นคาสาหรับใช้แทนคาว่า หมดจด นั่นเอง.
บทว่า มีตา คือ มีดวงตาด้วยดวงตา ๕ ชนิด. บทว่า ฝึกแล้วเป็นอย่างดี คือ ทางตาก็ฝึกแล้ว ทาง
หู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ก็ฝึกแล้ว.
บทว่า นาคหนุ่ม คือ นาครุ่นๆ.
พรหมอธิบายว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์เป็นผู้มาแล้วเพื่อชมนาครุ่น ที่ฝึกแล้ว
ด้วยความเพียรเป็นเครื่องประกอบอันยอดเยี่ยมเห็นปานนี้ เหล่านี้ . แม้พรหมองค์นั้นก็ได้ไปยืนตามตาแหน่ง
นั่นแล. ถัดมาองค์ที่สี่ ก็ได้มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นเอง.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ถึงแล้ว คือ ถึงแล้วด้วยการถึงสรณะที่ไม่มีความสงสัย.
แม้พรหมองค์นั้นก็ได้ไปยืนตามตาแหน่งนั่นแล.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อได้ทรงสารวจดูตั้งแต่พื้นแผ่นดินจนจรดกาหนดขอบปาก
จักรวาล จากกาหนดขอบปากจักรวาลจนจรดพรหมโลก ทอดพระเนตรเห็นการประชุมของเทวดาแล้ว จึง
ทรงพระดาริว่า สมาคมเทวดานี้ ใหญ่. ฝ่ายพวกภิกษุไม่ทราบว่า สมาคมเทวดานี้ ใหญ่อย่างนี้ เอาเถิด เราจะ
บอกพวกเธอ เมื่อทรงพระดาริอย่างนั้นเสร็จแล้ว ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกภิกษุ ด้วย
ประการฉะนี้ .
พึงขยายให้กว้างทั้งหมด.
บรรดาคาเหล่านั้น คาว่า มีเท่านี้ เป็นอย่างยิ่ง คือ ชื่อว่ามีเท่านี้ เป็นอย่างยิ่ง เพราะเท่านี้ เป็น
ประมาณอย่างยิ่งของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น. แต่เพราะบัดนี้ ไม่มีพระพุทธเจ้าทั้งหลาย จึงไม่ตรัสครั้งที่สามว่า
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf

More Related Content

What's hot

อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
niralai
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
Theeraphisith Candasaro
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
Patchara Kornvanich
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
niralai
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
niralai
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
sanunya
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 

What's hot (20)

แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Similar to ๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf

๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
maruay songtanin
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
อรอุมา เขียวสวัสดิ์
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
maruay songtanin
 
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 

Similar to ๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf (20)

๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
๒๒ สามัญญผลสูตร มจร.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
016 ติปัลลัตถมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๑ มหาสมัยสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา มหาสมัยสูตร (พระสูตรนี้ เป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาทั้งหลาย) ว่าด้วยเรื่องราวของเทวดา จานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุ มาประชุมกันเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและเยี่ยมภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์ สาเร็จพระอรหัตในวันที่ตรัสพระสูตรนี้ ซึ่งพระอรหันต์ดังกล่าว เป็นผู้ที่ กษัตริย์ชาวสองพระนครคือ พวกเจ้าศากยะและพวกเจ้าโกลิยะ ที่ต้องการทาสงครามกันเพื่อแย่งน้า แต่พระ พุทธองค์ได้มาห้ามการสงครามระหว่างญาติทั้งสองฝ่ายก่อนที่จะเริ่มขึ้น กษัตริย์ทั้งสองฝ่ายจึงได้ถวายพระ กุมารฝ่ายละสองร้อยห้าสิบองค์แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระพุทธองค์จึงทรงผนวชให้พระกุมารเหล่านั้น และ ไม่นานนักพระราชกุมารเถระที่รับกัมมัฏฐานก่อนเขาหมด สาเร็จพระอรหัตพร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลาย แล้ว ต่อไปก็อีกรูป ถัดไปก็อีกรูป ดังนี้ พวกเทวดาจานวนมากใน ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกันเพื่อเยี่ยมพระตถาคตและภิกษุสงฆ์ (ยกเว้น เทพไม่มีสัญญา เทพชั้นอรูปาวจร และเทพที่เข้าสมาบัติ ไม่ได้เข้าประชุม) ทั้งนี้ จานวนพวกเทวดาของพระผู้ มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตกาลที่มาประชุมกัน มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดา ที่มาประชุมกันในกาลครั้งนี้ และพวกเทวดาของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายใน อนาคตกาลที่จะมาประชุมกัน ก็มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดาที่มาประชุมกันในกาลครั้งนี้ เช่นกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงได้ทาการแบ่งพวกเทวดาแม้ทั้งหมดนั้นเป็นสองพวกด้วยอานาจภัพและ อภัพ คือพวกที่เป็นอภัพสัตว์พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ไม่ทรงมอง และพวกภัพสัตว์นั้นต่อให้อยู่ไกลก็เสด็จไป ทรงสงเคราะห์ เพราะฉะนั้น แม้ในการประชุมของเทพคราวนี้ นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงละพวกที่อภัพ (ไม่ เหมาะ ไม่สมควร โชคร้าย) แล้วรวบรวมเอาแต่พวกภัพสัตว์ เมื่อรวบรวมเอาเสร็จแล้วก็มาทรงจัดเป็น ๖ พวก ตามอานาจจริต ก่อนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าจะเริ่มเทศนาพระธรรมให้เหล่าเทวดาที่มาเข้าเฝ้า พระศาสดาทรงคิด ว่า เราจะกล่าวถึงชื่อและโคตรของผู้ที่มาแล้ว เพื่อให้พวกเทวดาเกิดความเป็นผู้มีจิตพร้อมก่อน จึง ตรัสคาเป็นต้นว่า ภิกษุทั้งหลาย เราจะบอก ... ดังได้แสดงในมหาสมัยสูตร ต่อมาก็ทรงใคร่ครวญธรรมเทศนาอันเป็นที่สบายแก่พวกจริตเหล่านั้น ทรงกาหนดเทศนาว่า พวกเทวดาราคจริต เราจักแสดง สัมมาปริพพาชนียสูตร (สูตรว่าด้วยเรื่องที่พึงเว้นโดยชอบ) จักแสดง กลหวิวาทสูตร (สูตรเกี่ยวกับเรื่องทะเลาะวิวาท) แก่พวกโทสจริต จักแสดง มหาพยูหสูตร (สูตรว่าด้วยพวกใหญ่) แก่พวกโมหจริต จักแสดง จูฬพยูหสูตร (สูตรว่าด้วยพวกน้อย) แก่พวกวิตกจริต จักแสดง ตุวัฏฏกปฏิปทา (ข้อปฏิบัติของนกคุ่ม) แก่พวกสัทธาจริต
  • 2. 2 จักแสดง ปุราเภทสูตร (สูตรว่าด้วยเรื่องแตกในอนาคต) แก่พวกพุทธิจริต ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาจบ เทวดาจานวนหนึ่งแสนโกฏิได้บรรลุ พระอรหัต ผู้ที่เป็นพระโสดาบันเป็นต้น ไม่มีการนับ ------------------ มหาสมัยสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย มหาวรรค ๗. มหาสมยสูตร ว่าด้วยการประชุมครั้งใหญ่ของเทวดา [๓๓๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ป่ามหาวัน (ป่ามหาวัน เป็นป่าที่เกิดเองตามธรรมชาติ อยู่ ติดกับเทือกเขาหิมาลัย) เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ซึ่ง ล้วนเป็นพระอรหันต์ มีเหล่าเทวดาจานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกันเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและ เยี่ยมภิกษุสงฆ์ เทพชั้นสุทธาวาส ๔ องค์ ได้มีความดาริดังนี้ ว่า “พระผู้มีพระภาคพระองค์นี้ ประทับอยู่ที่ป่ามหา วัน เขตกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์ มี เหล่าเทวดาจานวนมากจาก ๑๐ โลกธาตุมาประชุมกัน เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคและเยี่ยมภิกษุสงฆ์ ทางที่ดี เราก็ควรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค แล้วกล่าวคาถาองค์ละคาถาในสานักพระผู้มีพระภาค” [๓๓๒] ลาดับนั้น เทพเหล่านั้นหายไปจากเทวโลกชั้นสุทธาวาสมาปรากฏ ณ เบื้องพระพักตร์พระ ผู้มีพระภาค เหมือนบุรุษมีกาลังเหยียดแขนออกหรือคู้แขนเข้าฉะนั้น ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วยืน อยู่ ณ ที่สมควร เทพองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า “การประชุมครั้งใหญ่ในป่าใหญ่ มีหมู่เทพมาประชุมกัน พวกเราพากันมายังธรรมสมัยนี้ (ธรรมสมัย ในที่นี้ หมายถึงสถานที่ที่ประชุมเพื่อฟังธรรม) ก็เพื่อได้เยี่ยมสงฆ์ผู้ไม่พ่ายแพ้” จากนั้น เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า “ภิกษุทั้งหลายในที่ประชุมนั้น มีจิตมั่นคง ทาจิตของตนๆ ให้ตรง ภิกษุผู้เป็นบัณฑิตย่อมรักษา อินทรีย์ไว้ เหมือนสารถีผู้กุมบังเหียนขับรถม้าไป” เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า “ภิกษุเหล่านั้นตัดกิเลสดังตะปู (ในกิเลสดังตะปู ที่นี้ หมายถึงราคะ โทสะ และโมหะ กิเลสดัง ลิ่มสลัก และกิเลสดังเสาเขื่อน ก็มีนัยเช่นเดียวกัน) ตัดกิเลสดังลิ่มสลัก ถอนกิเลสดังเสาเขื่อนได้แล้ว เป็นผู้ ไม่หวั่นไหว บริสุทธิ์ เป็นผู้ปราศจากมลทิน เที่ยวไป เป็นผู้อันพระผู้มีพระภาคผู้มีพระจักษุ (มีพระจักษุ
  • 3. 3 หมายถึงมีพระจักษุ ๕ คือ ๑. มังสจักขุ (ตาเนื้ อ) ๒. ทิพพจักขุ (ตาทิพย์) ๓. ปัญญาจักขุ (ตาปัญญา) ๔. พุทธจักขุ (ตาพระพุทธเจ้า) ๕. สมันตจักขุ (ตาเห็นรอบ)) ทรงฝึกดีแล้ว เหมือนช้างหนุ่ม ฉะนั้น” เทพอีกองค์หนึ่งได้กล่าวคาถานี้ ว่า “เหล่าชนผู้นับถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ จักไม่ไปสู่อบายภูมิ ครั้นละกายมนุษย์แล้ว จักทา ให้หมู่เทพเจริญเต็มที่” การประชุมของเทวดา [๓๓๓] ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดา จานวนมากใน ๑๐ โลกธาตุประชุมกันเพื่อเยี่ยมตถาคตและภิกษุสงฆ์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเทวดาของพระผู้มี พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตกาล ที่มาประชุมกัน ครั้งที่มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวก เทวดาของเรานี้ เองที่มาประชุมกันในบัดนี้ พวกเทวดาของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งหลายในอนาคตกาลที่มาประชุมกัน ครั้งที่มีจานวนสูงสุดก็เท่ากับพวกเทวดาของเรานี้ เองที่มาประชุมกัน ในบัดนี้ เราจักบอกชื่อของหมู่เทพ จักระบุชื่อของหมู่เทพ จักแสดงชื่อของหมู่เทพ เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เรา จักกล่าว” ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว [๓๓๔] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ ว่า “เรา (เรา ในที่นี้ หมายถึงพระผู้มีพระภาค) จะกล่าวเป็นคาถา เหล่าภุมมเทวดาอาศัยอยู่ในที่ใด เหล่าภิกษุก็อาศัยอยู่ในที่นั้น ภิกษุเหล่าใดอาศัยซอกเขา มีจิตมุ่งมั่น มีจิตตั้งมั่น พวกเธอมีจานวนมากเร้นอยู่ เหมือนราชสีห์ ข่มความขนพองสยองเกล้าได้ มีจิตสะอาด หมดจดผ่องใส ไม่ขุ่นมัว พระศาสดาทรงทราบว่ามีภิกษุกว่า ๕๐๐ รูป ผู้อยู่ในป่า ในเขตกรุงกบิลพัสดุ์ จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้ยินดีในศาสนามาตรัสว่า ‘ภิกษุทั้งหลาย หมู่เทพมุ่งมากันแล้ว พวกเธอจงรู้จักเทพเหล่านั้น’ ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้วพากันทาความเพียร (ทาความเพียร ในที่นี้ หมายถึงการ เข้าผลสมาบัติ)’ จึงมีญาณอันเป็นเหตุให้เห็นพวกอมนุษย์ปรากฏขึ้น ภิกษุบางพวก เห็นอมนุษย์ ๑๐๐ ตน บางพวกเห็น ๑,๐๐๐ ตน บางพวกเห็น ๗๐,๐๐๐ ตน บางพวกเห็น ๑๐๐,๐๐๐ ตน บางพวกเห็นมากมายไม่ มีที่สิ้นสุด อมนุษย์อยู่กระจายไปทั่วทุกทิศ พระศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงทราบเหตุทั้งหมด ทรงกาหนดแล้ว จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้ยินดีใน ศาสนามาตรัสว่า ‘ภิกษุทั้งหลาย หมู่เทพมุ่งมากันแล้ว เธอทั้งหลายจงรู้จักหมู่เทพเหล่านั้น เราจะบอกเธอทั้งหลาย ด้วยวาจาตามลาดับ [๓๓๕] ยักษ์ ๗,๐๐๐ ตน ที่เป็นภุมมเทวดาอยู่ในกรุงกบิลพัสดุ์ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง (มีความ รุ่งเรือง หมายถึงประกอบด้วยอานุภาพ) มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุ ทั้งหลาย ยักษ์ ๖,๐๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาหิมพานต์ มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
  • 4. 4 ยักษ์ ๓,๐๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาสาตาคีรี มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ยักษ์เหล่านั้นรวมเป็น ๑๖,๐๐๐ ตน มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ยักษ์ ๕๐๐ ตนอยู่ที่ภูเขาเวสสามิต มีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณ งดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย กุมภีรยักษ์ผู้รักษากรุงราชคฤห์อยู่ที่ภูเขาเวปุลละ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย [๓๓๖] ท้าวธตรฐปกครองทิศตะวันออก เป็นหัวหน้าของพวกคนธรรพ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้ บุตรของเธอมีจานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มี ยศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ท้าววิรุฬหกปกครองทิศใต้ เป็นหัวหน้าของพวกกุมภัณฑ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ท้าววิรูปักษ์ปกครองทิศตะวันตก เป็นหัวหน้าของพวกนาค เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ท้าวกุเวรปกครองทิศเหนือ เป็นหัวหน้าของพวกยักษ์ เป็นมหาราชผู้มียศ แม้บุตรของเธอมี จานวนมาก ต่างมีพลังมาก (และ)มีชื่อว่าอินทะ มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มีผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่ง มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย ท้าวธตรฐอยู่ทางทิศตะวันออก ท้าววิรุฬหกอยู่ทางทิศใต้ ท้าววิรูปักษ์อยู่ทางทิศตะวันตก ท้าว กุเวรอยู่ทางทิศเหนือ ท้าวจาตุมหาราชนั้นมีแสงสว่างส่องไปโดยรอบทั่วทั้ง ๔ ทิศ สถิตอยู่ในป่า เขตกรุง กบิลพัสดุ์ [๓๓๗] พวกผู้รับใช้ของท้าวจาตุมหาราชเหล่านั้น เป็นพวกมีมายา หลอกลวง โอ้อวดก็มาด้วย พวกผู้รับใช้ที่มีมายา คือ กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิฏู วิฏุฏะ จันทนะ กามเสฏฐะ กินนุฆัณฑุ และ นิฆัณฑุก็มาด้วย ปนาทะ โอปมัญญะ มาตลิผู้เป็นเทพสารถี จิตตเสนะ (จิตตเสนะ เป็นชื่อเทวบุตรพวกคนธรรพ์ ๓ องค์ คือ (๑) จิตตะ (๒) เสนะ (๓) จิตตเสนะ) นโฬราชะ ชโนสภะ ปัญจสิขะ ติมพรุ (คันธรรพเทวราชา) และสุ ริยวัจฉสา (คันธรรพเทวธิดา) ก็มาด้วย เทวราชเหล่านั้นและคนธรรพ์อื่นๆ ที่มาพร้อมเทวราช ต่างยินดีมุ่ง มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย [๓๓๘] อนึ่ง หมู่นาคที่อยู่ในสระนาภสะ และที่อยู่ในกรุงเวสาลีมาพร้อมด้วยพวกนาคตัจฉกะ นาค กัมพลและนาคอัสดรก็มาด้วย และนาคที่อยู่ในท่าปายาคะก็มาพร้อมด้วยหมู่ญาติ นาคผู้อยู่ในแม่น้ายมุนา และนาคที่เกิดในตระกูลธตรฐผู้มียศก็มา พญาช้างเอราวัณก็มายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
  • 5. 5 เหล่าครุฑผู้เป็นทิพย์ มีนัยน์ตาบริสุทธิ์ ผู้สามารถจับนาคราชได้ฉับพลัน ผู้บินมาทางอากาศถึง ท่ามกลางป่า มีชื่อว่าจิตรสุบรรณ เวลานั้น พวกนาคราชไม่มีความหวาดกลัว (เพราะ) พระพุทธเจ้าทรงกระทาให้ปลอดภัยจากครุฑ นาคกับครุฑเจรจากันด้วยวาจาอันไพเราะ ต่างมีพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ [๓๓๙] อสูรพวกที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร เป็นผู้พ่ายแพ้ต่อพระอินทร์ผู้ถือวชิราวุธ อสูรเหล่านั้นมี ฤทธิ์ มียศ เป็นพี่น้องของท้าววาสวะ พวกอสูรกาลกัญชะมีร่างน่ากลัวมาก พวกอสูรทานเวฆสะ อสูรเวปจิตติ อสูรสุจิตติ อสูรปหาราทะ และพญามารนมุจีก็มาด้วย บุตรของพลิอสูร ๑๐๐ ตนที่ชื่อว่าเวโรจนะ ทุกตนต่างสวมเกราะเข้มแข็งเข้าไปใกล้ราหูจอมอสูร แล้วกล่าวว่า ‘ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน บัดนี้ ถึงเวลาที่ท่านควรเข้าไปสู่ป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย’ [๓๔๐] เวลานั้น เทพ (๑๐ หมู่) คือ อาโป ปฐวี เตโช วาโย วรุณะ วารุณะ โสมะ ยสสะ เมตตาและ กรุณา (เมตตาและกรุณา หมายถึงเหล่าเทพที่เกิดด้วยอานาจเมตตาฌานและกรุณาฌานที่เคยบาเพ็ญมา) เป็นผู้มียศก็มาด้วย เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย เทพ (๑๐ หมู่) คือ เวณฑู สหลี และเทพ ๒ หมู่ คือ อสมะ และยมะก็มา เทพผู้อาศัยพระจันทร์ มี พระจันทร์นาหน้ามา เทพผู้อาศัยพระอาทิตย์ มีพระอาทิตย์นาหน้ามา เทพพวกมันทวลาหกะ (เทพพวก มันทวลาหกะ ในที่นี้ หมายถึงเทพ ๓ องค์ คือ (๑) วาตวลาหกเทพบุตร (๒) อัพภวลาหกเทพบุตร (๓) อุณ หวลาหกเทพบุตร) มีพระนักษัตรนาหน้ามา พระอินทร์ผู้เป็นท้าวสักกะ ผู้เป็นท้าวปุรินททะ (ปุรินททะ ตาม คติของฮินดูเป็นชื่อหนึ่งของพระอินทร์ แปลว่า ผู้ทาลายเมือง (ปุรททะ) ตามคติพุทธศาสนา เป็นชื่อหนึ่ง ของพระอินทร์ แปลว่า ผู้ให้ทานในกาลก่อน) ท้าววาสวะ ประเสริฐกว่าเหล่าเทพวสุ (เทพวสุ หมายถึงเทพ เจ้าแห่งทรัพย์) ก็มา เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สหภู ผู้รุ่งเรืองดังเปลวไฟ อริฏฐกะ โรชะ ผู้มีรัศมีดังสีดอกผักตบ วรุณะ สหธรรม อัจจุตะ อเนชกะ สุเลยยะ รุจิระ และวาสวเนสีก็มา เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สมานะ มหาสมานะ มานุสะ มานุสุตตมะ ขิฑฑาปทูสิกะ มโนปทูสิกะ หริ โลหิตวาสี ปารคะ และมหาปารคะผู้มียศก็มา เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย
  • 6. 6 เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ สุกกะ กรุมหะ อรุณะ เวฆนสะ โอทาตคัยหะผู้เป็นหัวหน้า วิจักขณะ สทา มัตตะ หารคชะ มิสสกะผู้มียศ และปชุนนเทวราชผู้บันดาลฝนให้ตกทั่วทุกทิศก็มา เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย เทพอีก (๑๐ หมู่) คือ เทพพวกเขมิยะ เทพชั้นดุสิต เทพชั้นยามา เทพพวกกัฏฐกะ (กัฏฐกะ เรียก อีกชื่อหนึ่งว่า กถกะ) ผู้มียศ เทพพวกลัมพีตกะ เทพพวกลามเสฏฐะ เทพพวกโชติ อาสวะ (อาสวะ เรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า อาสา) เทพชั้นนิมมานรดี และเทพชั้นปรนิมมิตวสวัตดีก็มา เทพทั้ง ๑๐ หมู่นี้ แบ่งเป็น ๑๐ พวก ทั้งหมดล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มีฤทธิ์ มีความรุ่งเรือง มี ผิวพรรณงดงาม มียศ ต่างยินดีมุ่งมายังป่าที่ประชุมของภิกษุทั้งหลาย เทพทั้งหมด ๖๐ หมู่ ล้วนมีผิวพรรณหลายหลาก มาแล้วตามกาหนด ชื่อหมู่เทพและเทพพวกอื่น ผู้มีผิวพรรณและชื่อเช่นนั้นก็มา (ด้วยคิด)ว่า ‘พวกเราจะเข้าพบพระนาคะ (พระนาคะ เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า เพราะไม่ทาความ ชั่ว) ผู้ไม่มีการเกิด ไม่มีกิเลสดังตะปู ผู้ข้ามโอฆะ (โอฆะ หมายถึงโอฆะ ๔ คือ (๑) กาม (๒) ภพ (๓) ทิฏฐิ (๔) อวิชชา) ได้แล้ว ไม่มีอาสวะ ผู้พ้นโอฆะได้แล้ว ล่วงพ้นธรรมดา ดังดวงจันทร์พ้นจากเมฆฉะนั้น [๓๔๑] สุพรหมและปรมัตตพรหม ผู้เป็นบุตร (บุตร ในที่นี้ หมายถึงพุทธบุตรผู้ที่เป็นอริยสาวกผู้ เป็นพรหม) ของพระผู้ทรงฤทธิ์ (พระผู้ทรงฤทธิ์ หมายถึงพระพุทธเจ้า) ก็มาด้วย สนังกุมารพรหมและติสส พรหมก็มายังป่าที่ประชุม ท้าวมหาพรหม ๑,๐๐๐ องค์ ปกครองพรหมโลก ท้าวมหาพรหมนั้น อุบัติขึ้นในพรหมโลก มีความ รุ่งเรือง มีกายใหญ่ มียศก็มา มีพรหม ๑๐ องค์ ผู้เป็นใหญ่กว่าพรหม ๑,๐๐๐ องค์ มีอานาจเฉพาะองค์ละ อย่างก็มา มหาพรหมชื่อหาริตะ มีบริวารห้อมล้อม มาอยู่ท่ามกลางพรหม ๑,๐๐๐ องค์นั้น’ [๓๔๒] เมื่อเสนามารมาถึง พระศาสดาได้ตรัสกับพวกเทพทั้งหมดเหล่านั้น พร้อมทั้งพระอินทร์ และพระพรหมผู้ประชุมกันอยู่ จงดูความโง่เขลาของกัณหมาร มหาเสนามารได้ส่งเสนามารไปในที่ประชุม ใหญ่ของเหล่าเทพด้วยคาว่า “พวกท่านจงไปจับหมู่เทพผูกไว้ พวกท่านจงผูกไว้ด้วยราคะเถิด จงล้อมไว้ทุกด้าน ใครๆ อย่าได้ ปล่อยให้ผู้ใดหลุดพ้นไป” แล้วก็เอาฝ่ามือตบแผ่นดินทาเสียงน่ากลัว (แต่) ในเวลานั้น ไม่อาจ ทาให้ใครตก อยู่ในอานาจได้ จึงกลับไปทั้งที่เกรี้ยวโกรธ เหมือนเมฆฝนที่บันดาลให้ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ ฉะนั้น [๓๔๓] พระศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงทราบเหตุทั้งหมด ทรงกาหนดแล้ว จึงรับสั่งเรียกพระสาวกผู้ ยินดีในศาสนามาตรัสว่า ‘ภิกษุทั้งหลาย เสนามารมุ่งมากันแล้ว พวกเธอจงรู้จักพวกเขา’ ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว พากันทาความเพียร เสนามารหลีกไปจากเหล่าภิกษุผู้ ปราศจากราคะ ไม่อาจแม้ทาขนของภิกษุเหล่านั้นให้ไหวได้ (พญามารกล่าวสรรเสริญว่า)
  • 7. 7 ‘หมู่พระสาวกของพระพุทธเจ้า ชนะสงครามแล้วทั้งสิ้น ล่วงพ้นความหวาดกลัว มียศปรากฏอยู่ ในหมู่ชน บันเทิงอยู่กับภูต (ภูต ในที่นี้ หมายถึงพระอริยะในศาสนาของพระทศพล) ทั้งหลาย” มหาสมยสูตรที่ ๗ จบ ------------------ อรรถกถา ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสมัยสูตร คาอธิบายนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถามหาสมัยสูตร ต่อไปนี้ เป็นการพรรณนาตามลาดับบทในมหาสมัยสูตรนั้น. บทว่า ในแคว้นของพวกชาวสักกะ ความว่า ชนบทแม้แห่งเดียวเป็นที่อยู่แห่งพระราชกุมารที่ได้ พระนามว่าสักกะ เพราะอาศัยพระอุทานว่า ท่าน! พวกเด็กช่างเก่งแท้ตามนัยแห่งการเกิดขึ้นที่กล่าวไว้ใน อัมพัฏฐสูตร ก็เรียกว่า สักกะทั้งหลาย ในชนบทของพวกชาวสักกะนั้น. บทว่า ที่ป่าใหญ่ คือ ในป่าใหญ่ที่เกิดเองมิได้ปลูกไว้ ติดต่อเป็นอันเดียวกันกับหิมพานต์. บทว่า ล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งหมด คือ ผู้สาเร็จพระอรหัตในวันที่ตรัสพระสูตรนี้ เอง. ต่อไปนี้ เป็นลาดับถ้อยคา. เล่ากันมาว่า ชาวศากยะและโกลิยะช่วยกันกั้นแม่น้าชื่อโรหิณี ในระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และ เมืองโกลิยะ ด้วยเขื่อนเดียวเท่านั้นแล้วหว่านกล้า. ต่อมาในต้นเดือนเจ็ด เมื่อกล้ากาลังเหี่ยว พวกคนงาน ของชาวเมืองทั้งสองก็ประชุมกัน. ในที่ประชุมนั้น พวกชาวเมืองโกลิยะพูดว่า น้านี้ เมื่อถูกทั้งสองฝ่ายนาเอาไป (ใช้) พวกคุณก็จะ ไม่พอ พวกฉันก็จะไม่พอ แต่กล้าของพวกฉันจะสาเร็จด้วยน้า แต่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ขอให้พวกคุณจงให้ น้าแก่พวกฉันเถิดนะ. ชาวเมืองกบิลพัสดุ์ก็พูดว่า เมื่อพวกคุณใส่ข้าวจนเต็มยุ้งแล้ว พวกฉันจะเอาทองแดงมณีเขียวและ กหาปณะดา มีมือถือกระบุงและไถ้เป็นต้น เดินไปใกล้ประตูบ้านของพวกคุณก็ไม่ได้ ถึงข้าวกล้าของพวกฉัน ก็จะสาเร็จด้วยน้าครั้งเดียวเหมือนกัน ขอให้พวกท่านจงให้น้านี้ แก่พวกฉันเถิดนะ พวกฉันให้ไม่ได้. ถึงพวกฉันก็ให้ไม่ได้. เมื่อทะเลาะกันลามปามอย่างนี้ แล้ว คนหนึ่งก็ลุกไปตีคนหนึ่ง. แม้คนนั้นก็ตีคนอื่น ต่างทุบตีกัน และกันอย่างนี้ แล้วก็ทะเลาะกันลามปาม จนเกี่ยวโยงไปถึงชาติของพวกราชตระกูลด้วยประการฉะนี้ . พวกคนงานฝ่ายโกลิยะพูดว่า พวกแกจงพาเอาพวกชาวกบิลที่ร่วมสังวาสกับพี่น้องสาวของตน เหมือนกับพวกสุนัขและหมาจิ้งจอกเป็นต้นไป ต่อให้ช้าง ม้าและโล่และอาวุธของพวกนั้นก็ทาอะไรพวกข้า ไม่ได้. พวกคนงานฝ่ายศากยะก็พูดบ้างว่า พวกแกก็จงพาเอาเด็กขี้เรื้อน ซึ่งเป็นพวกอนาถาหาคติมิได้
  • 8. 8 อยู่ใต้ไม้กระเบาเหมือนพวกดิรัจฉานไปเดี๋ยวนี้ ต่อให้ช้างม้าและโล่และอาวุธของพวกนั้นก็ทาอะไรพวกข้า ไม่ได้หรอก. ครั้นพวกเหล่านั้นกลับไปแล้วก็แจ้งแก่พวกอามาตย์ที่เกี่ยวกับงานนั้น. พวกอามาตย์ก็กราบทูล พวกราชตระกูล จากนั้น พวกเจ้าศากยะก็ว่าพวกเราจะแสดงความเข้มแข็งและกาลังของเหล่าผู้ร่วมสังวาส กับพี่สาวน้องสาว แล้วก็เตรียมยกทัพไป. ฝ่ายพวกเจ้าโกลิยะก็ว่าพวกเราจะแสดงความเข้มแข็งและกาลังของ เหล่าผู้อยู่ใต้ต้นกระเบา แล้วก็เตรียมยกทัพไป. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อเวลาใกล้รุ่งนั้นเอง เสด็จออกจากมหากรุณาสมาบัติ เมื่อทรง ตรวจดูโลกได้ทรงเห็นพวกเหล่านี้ กาลังเตรียมยกทัพไปอย่างนี้ ครั้นทรงเห็นแล้วก็ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า เมื่อ เราไป การทะเลาะนี้ จะสงบหรือไม่หนอ ได้ทรงทาการสันนิษฐานว่า เมื่อเราไปที่นั้นแล้วจะแสดงชาดกสาม เรื่อง เพื่อระงับการทะเลาะกัน แต่นั้นการทะเลาะกันก็จะสงบ ต่อจากนั้น เพื่อประโยชน์การส่องถึงความ พร้อมเพรียงกัน เราจะแสดงอีกสองชาดก แล้วแสดงถึงเรื่อง อัตตทัณฑสูตร เมื่อชาวเมืองทั้งสองได้ฟังเทศน์ แล้วจะให้เด็กฝ่ายละสองร้อยห้าสิบคน เราจะให้เด็กเหล่านั้นบวช. ทีนั้น การประชุมใหญ่ก็จะมี เพราะเหตุนั้น ขณะที่พวกเหล่านี้ กาลังเตรียมยกทัพออกไป ไม่ทรง แจ้งใครๆ พระองค์เองนั่นแหละเสด็จถือบาตรจีวร ไปขัดบัลลังก์ประทับนั่ง เปล่งพระรัศมีหกสีที่อากาศ ระหว่างกองทัพทั้งสอง. พอชาวเมืองกบิลพัสดุ์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเข้าเท่านั้น ก็คิดว่า พระศาสดาพระญาติ ประเสริฐของพวกเราเสด็จมาแล้ว พระองค์ทรงเห็นความที่พวกเรากระทาการทะเลาะกันหรือหนอ แล้วคิด ว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแล้ว พวกเราจะให้ศัสตราถึงสรีระผู้อื่นไม่ได้อย่างเด็ดขาด แล้วก็ทิ้งอาวุธ นั่งไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. แม้พวกชาวเมืองโกลิยะก็คิดเหมือนกันอย่างนั้นแหละ พากันทิ้งอาวุธ นั่ง ไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. ทั้งที่ทรงทราบอยู่เทียว พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสถามว่า มหาบพิตร! พวกพระองค์เสด็จมา ทาไม. พวกเหล่านั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า! พวกข้าพระองค์เป็นผู้มาที่นี้ ไม่ใช่เพื่อเล่นที่ท่า น้า ไม่ใช่เพื่อเล่นที่ภูเขา ไม่ใช่เพื่อเล่นแม่น้า ไม่ใช่เพื่อชมเขา แต่มารบกัน. มหาบพิตร! เพราะอาศัยอะไร พระองค์จึงทะเลาะกัน. น้า พระพุทธเจ้าข้า. น้ามีค่าเท่าไร มหาบพิตร. มีค่าน้อย พระเจ้าข้า. ชื่อว่าแผ่นดิน มีค่าเท่าไร มหาบพิตร. หาค่ามิได้ พระเจ้าข้า. ชื่อว่าพวกกษัตริย์มีค่าเท่าไร มหาบพิตร. ชื่อว่าพวกกษัตริย์หาค่ามิได้ พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า มหาบพิตร! พวกพระองค์อาศัยน้าที่มีค่าน้อย แล้วมาทาให้พวก กษัตริย์ซึ่งหาค่ามิได้ ฉิบหายเพื่ออะไร แล้วตรัสว่า ในการทะเลาะกัน ไม่มีความชื่นใจ มหาบพิตรทั้งหลาย! ด้วยอานาจการทะเลาะกัน ความเจ็บใจที่รุกขเทวดาตนหนึ่งผู้ทาเวรในที่ที่ไม่น่าเป็นไปได้แล้วผูกไว้กับหมีได้ติดตามไปตลอดกัปทั้งสิ้น แล้วตรัส ชาดกเรื่องต้นสะคร้อ. ต่อจากนั้น ตรัสอีกว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! ไม่พึงเป็นผู้แตกตื่น เพราะฝูงสัตว์สี่เท้าในป่าหิม
  • 9. 9 พานต์ซึ่งกว้างตั้งสามพันโยชน์ แตกตื่นเพราะคาพูดของกระต่ายตัวหนึ่ง ได้แล่นไปจนถึงทะเลหลวง เพราะฉะนั้น ไม่พึงเป็นผู้แตกตื่น แล้วตรัส ชาดกเรื่องแผ่นดินถล่ม ต่อจากนั้น ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! บางทีแม้แต่ผู้ที่อ่อนกาลัง ก็ยังเห็นช่องผิดของผู้มีกาลัง มากได้ บางทีผู้มีกาลังมาก ก็เห็นช่องพิรุธของผู้อ่อนกาลังได้ จริงอย่างนั้น แม้แต่นางนกมูลไถ ก็ยังฆ่าช้างได้ แล้วตรัส ชาดกเรื่องนกมูลไถ. เมื่อตรัสชาดกทั้งสามเรื่องเพื่อระงับการทะเลาะกันอย่างนี้ แล้ว เพื่อประโยชน์การส่องถึงความ พร้อมเพรียงกัน จึงตรัสชาดก (อีก) สองเรื่อง. ตรัสอย่างไร ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย! ก็ใครๆ ไม่สามารถเพื่อจะเห็นช่องผิดของพวกผู้พร้อม เพรียงกันได้ แล้วตรัส รุกขธัมมชาดก. จากนั้น ตรัสว่า มหาบพิตรทั้งหลาย ใครๆ ไม่อาจเห็นช่องผิดของ เหล่าผู้พร้อมเพรียงกันได้ แต่เมื่อพวกเขาได้ทาการวิวาทกันและกัน เมื่อนั้นลูกพรานก็ฆ่าพวกนั้นถือเอาไป ขึ้นชื่อว่าความชื่นใจ ย่อมไม่มีในการวิวาทกัน แล้วตรัส ชาดกเรื่องนกคุ่ม ครั้นตรัสชาดกทั้ง ๕ เรื่องเหล่านี้ เสร็จแล้ว สุดท้ายตรัส เรื่องอัตตทัณฑสูตร. พระราชาทั้งหลายทรงเลื่อมใส ตรัสว่า หากพระศาสดาจักมิได้เสด็จมา พวกเราก็จะฆ่ากันเอง ด้วยมือของตนแล้วทาให้แม่น้าเลือดไหลไป พวกเราจะไม่พึงเห็นลูกและพี่น้องของเราที่ประตูเรือน พวกเรา จะไม่ได้มีแม้แต่ผู้สื่อสารโต้ตอบกัน พวกเราได้ชีวิตเพราะอาศัยพระศาสดา ก็ถ้าพระศาสดาจะทรงครองเรือน ราชสมบัติในทวีปใหญ่สี่อันมีทวีปน้อยสองพันเป็นบริวาร ก็ คงจะได้อยู่ในอุ้งพระหัตถ์ของพระองค์ ก็ลูกๆ ของพวกเราตั้งพันกว่าคน ก็จะได้มี และแต่นั้นพระองค์ก็จะมี กษัตริย์เป็นบริวารท่องเที่ยวไป แต่พระองค์มาทรงละสมบัตินั้นแล้ว ทรงออกไปบรรลุพระสัมโพธิญาณแล้ว ถึงบัดนี้ ก็ขอให้จงทรงมีกษัตริย์เป็นบริวารเที่ยวไปนั่นเทียว. กษัตริย์ชาวสองพระนครก็ได้ถวายพระกุมารฝ่ายละสองร้อยห้าสิบองค์. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง ให้พระกุมารเหล่านั้นทรงผนวชแล้ว ก็เสด็จไปป่าใหญ่ เพราะความที่ท่านเหล่านั้นเคารพอย่างหนัก ความไม่ ยินดีจึงได้เกิดแก่พวกท่านผู้ซึ่งมิได้บวชตามความพอใจของตน. แม้พวกภรรยาเก่าของท่านเหล่านั้นก็พูดคาเป็นต้นว่า ขอให้พระลูกเจ้าทั้งหลายจงสึกเถิด การ ครองเรือนจะทรงอยู่ไม่ได้ แล้วก็ส่งข่าวไป. พวกท่านก็ยิ่งกระสันหนักขึ้นอีก. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงใคร่ครวญอยู่ก็ทรงทราบความไม่ยินดีของพวกท่านเหล่านั้น ทรงคิดว่า พวกภิกษุเหล่านี้ อยู่ร่วมกันกับพระพุทธเจ้าเช่นเรา ยังกระสัน ถ้าไฉน เราจะกล่าวยกย่องสระดุเหว่าแก่พวก เธอ แล้วก็ทรงพาไปที่นั้น ทรงคิดว่า เราจะบรรเทาความไม่ยินดี จึงทรงกล่าวคุณของสระดุเหว่า. พวกภิกษุได้เป็นผู้อยากเห็นสระนั้นแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอเป็นผู้อยากจะเห็นสระดุเหว่าหรือ. พวก ภิกษุกราบทูลว่า อย่างนั้นพระเจ้าข้า. ถ้าอย่างนั้น มา พวกเราไปกัน. ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า! พวกข้า พระองค์จะไปสู่ที่สาหรับไปของพวกท่านผู้มีฤทธิ์ได้อย่างไร. พวกเธอเป็นผู้อยากไปสระนั้น เราจะพาไปด้วย อานุภาพของเราเอง. ดีแล้ว พระพุทธเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงพาภิกษุ ๕๐๐ รูปเหาะไปในอากาศ ลงที่ใกล้สระดุเหว่า และ
  • 10. 10 ตรัสกะภิกษุเหล่านั้นว่า ภิกษุทั้งหลาย! ที่สระดุเหว่านี้ ใครไม่รู้จักชื่อพวกปลา ก็จงถามเรา. ท่านเหล่านั้นทูล ถามแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสบอกสิ่งที่ภิกษุถามแล้วถามอีก. และไม่ใช่แต่ชื่อพวกปลาเท่านั้น ยังให้ ถามถึงชื่อของต้นไม้ทั้งหลายในราวป่านั้นด้วย ของสัตว์สองเท้าสี่เท้าและนกในเชิงเขาด้วย แล้วก็ทรงบอก. ครั้งนั้น พญานกดุเหว่าจับที่ท่อนไม้ซึ่งนกสองตัวใช้ปากกัดคาบไว้ มีพวกนกล้อมหน้าหลังทั้ง สองข้างกาลังมา. เมื่อภิกษุได้เห็นนกนั้น ก็ทูลถามว่า พระเจ้าข้า! นั่นคงจะเป็นพญานกของนกเหล่านี้ ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเข้าใจว่า พวกเหล่านั่นคงจะเป็นบริวารของพญานกนั่น. ภิกษุทั้งหลาย! ข้อนั้นเป็น อย่างนั้น แม้นี้ ก็เป็นวงศ์ของเรา เป็นประเพณีของเรา. พระเจ้าข้า! พวกข้าพระองค์จะดูนกเหล่านี้ สัก ประเดี๋ยวก่อน และก็พวกข้าพระองค์อยากจะฟังข้อที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า แม้นี้ ก็เป็นวงศ์ของเรา เป็น ประเพณีของเรา. อยากฟังหรือ ภิกษุทั้งหลาย. อย่างนั้น พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น จงฟัง แล้วก็ตรัสชาดกเรื่องนกดุเหว่า ประดับด้วยคาถา สามร้อย ทรงบรรเทาความไม่ยินดีแล้ว เมื่อจบเทศน์แม้ภิกษุเหล่านั้น ก็ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลทุกรูป และแม้แต่ฤทธิ์ของท่านเหล่านั้น ก็ มาพร้อมกับมรรคนั่นเอง. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงคิดว่า สาหรับภิกษุเหล่านี้ เพียงเท่านี้ ก่อนเถิด แล้วก็ทรงเหาะไปใน อากาศเสด็จไปสู่ป่าใหญ่นั่นแล. แม้ภิกษุเหล่านั้นเวลาไป ไปด้วยอานาจของพระทศพล แต่เวลามาแวดล้อม พระผู้มีพระภาคเจ้าลงในป่าใหญ่ด้วยอานาจของตนเอง. พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับบนที่นั่งที่ปูไว้แล้ว ตรัสเรียกภิกษุเหล่านั้น แล้วตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย จงมานั่งลง เราจะบอกกัมมัฏฐานเพื่อให้พวกเธอละกิเลส ที่ต้องละด้วยสามมรรคเบื้องบน แล้วก็ทรงบอก กัมมัฏฐานให้. พวกภิกษุพากันคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่า พวกเราไม่มีความยินดี จึงทรงพาไปสระ ดุเหว่า ทรงบรรเทาความไม่ยินดี บัดนี้ ได้ทรงประทานกัมมัฏฐานสาหรับมรรคทั้งสามในที่นี้ แก่พวกเราซึ่ง บรรลุโสดาปัตติผลในที่นั้นแล้ว ก็แล พวกเราไม่ควรให้เสียเวลาด้วยคิดว่า พวกเราเป็นพระโสดาบันแล้ว พวกเราควรเป็นอุดมบุรุษ ท่านเหล่านั้นจึงไหว้พระบาทของพระทศพล แล้วลุกขึ้นสลัดที่นั่ง แยกกันไปนั่งที่ เงื้อมและโคนไม้. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ แม้โดยปกติก็ไม่ทิ้งการงาน และก็สาหรับภิกษุที่ ได้อุบายจะไม่มีเหตุแห่งการเหน็ดเหนื่อย และเมื่อไปตั้งวิปัสสนาแล้วบรรลุอรหัตต์ ก็จะพากันมาสู่สานักเรา ด้วยคิดว่า พวกเราจะกราบทูลคุณวิเศษที่แต่ละคนได้เฉพาะแล้ว เมื่อพวกเธอเหล่านั่นมาแล้วพวกเทวดาใน หมื่นจักรวาลก็จะประชุมกันในจักรวาลหนึ่ง การประชุมใหญ่ก็จะมี เราควรนั่งในโอกาสที่สงัด. ลาดับนั้น ก็รับสั่งให้ปูพุทธอาสน์ในโอกาสที่สงัดแล้วประทับนั่งลง. พระเถระที่ไปรับกัมมัฏฐานก่อนเขาหมด สาเร็จพระอรหัตพร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลายแล้ว. ต่อไปก็อีกรูป ถัดไปก็อีกรูป ดังนี้ ก็เป็นอันว่าภิกษุทั้ง ๕๐๐ รูป เบิกบานเหมือนปทุมที่บานในสระปทุม ฉะนั้น. ภิกษุที่สาเร็จพระอรหัตก่อนเขาหมด คิดว่า เราจะกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงคลายบัลลังก์ สลัด ที่นั่งลุกขึ้นบ่ายหน้าไปหาพระทศพล. อีกรูปหนึ่งก็อย่างนั้น อีกรูปหนึ่งก็อย่างนั้น ดังนี้ ก็เป็นอันว่า ภิกษุทั้ง
  • 11. 11 ๕๐๐ รูปทยอยกันมาเหมือนเข้าสู่โรงอาหาร ฉะนั้น. ผู้ที่มาก่อนเขาหมด ไหว้และปูที่นั่งแล้วนั่งในที่ควรส่วนหนึ่ง เป็นผู้อยากจะกราบทูลถึงคุณพิเศษ ที่ได้โดยเฉพาะ คิดว่า ใครอื่นมีหรือไม่มีหนอ กลับไปมองดูทางมาได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง ได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง. ด้วยประการฉะนี้ เป็นอันว่า ท่านทั้งหมดแม้นั้นก็มานั่งในที่ควรส่วนหนึ่งแล้ว ก็ต่างคิดว่า รูปนี้ กาลังละอาย จึงไม่บอกแก่รูปนี้ รูปนี้ ก็กาลังละอายจึงไม่บอกแก่รูปนี้ ได้ยินว่า สาหรับพวกผู้สิ้นอาสวะแล้วย่อมมีอาการสองอย่างคือ ๑. เกิดความคิดว่า ชาวโลกพร้อมกับเทวดาจะพึงรู้แจ้งแทงตลอดคุณวิเศษที่เราได้เฉพาะแล้ว พลันทีเดียว ๒. ไม่ประสงค์จะบอกคุณที่ตนได้แล้วแก่ผู้อื่น เหมือนคนที่ได้ขุมทรัพย์ฉะนั้น. ก็เมื่อสักว่าวงของพระอริยเจ้านั้นหยั่งลงแล้ว พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหลุดพ้นจากตัวการที่ทาให้ เศร้าหมอง คือหมอก น้าค้าง ควัน ฝุ่น ราหู จากขอบเขตรอบเขายุคนธรทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยสิริ แห่งล้อเงิน ซึ่งกาลังจับขอบกงหมุนไป คล้ายกับวงแว่นส่องแผ่นใหญ่ที่สาเร็จด้วยเงินที่ยกขึ้นในด้านทิศ ตะวันออก เพื่อทัศนะอันเป็นที่น่ารื่นรมย์ของโลกที่ประดับด้วยพุทธุปบาท ลอยเด่นดาเนินไปสู่ทางลม. พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่ป่าใหญ่ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ในแคว้นแห่งพวกชาวสักกะกับหมู่ภิกษุ จานวนมาก คือภิกษุมีจานวน ๕๐๐ รูป ทุกรูปล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ในขณะ คือในลยะ ได้แก่ในครู่หนึ่ง เห็นปานนี้ ด้วยประการฉะนี้ . ในที่ประชุมนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงเกิดในวงศ์พระเจ้ามหาสมมต เหล่าภิกษุทั้ง ๕๐๐ รูป นั้นเล่า ก็เกิดในตระกูลพระเจ้ามหาสมมต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเกิดในพระครรภ์กษัตริย์ ท่านเหล่านั้น เล่าก็เกิดในครรภ์กษัตริย์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเป็นนักบวชชั้นเจ้า ท่านเหล่านั้นเล่าก็เป็นนักบวชชั้นเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงละเศวตฉัตร ทรงสละราชสมบัติจักรพรรดิที่อยู่ในกาพระหัตถ์ ทรงผนวช ท่าน เหล่านั้นเล่าก็สละเศวตฉัตร ทิ้งราชสมบัติที่อยู่ในกามือบวช. ดังว่ามานี้ จึงเป็นอันว่า องค์พระผู้มีพระภาคเจ้าเองทรงหมดจด ทรงมีบริวารที่หมดจด ใน โอกาสที่หมดจด ในส่วนราตรีที่หมดจด ทรงปราศจากราคะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากราคะ ทรงปราศจาก โทสะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากโทสะ ทรงปราศจากโมหะ ทรงมีบริวารที่ปราศจากโมหะ ทรงไม่มีตัณหา ทรง มีบริวารที่ไม่มีตัณหา ทรงไม่มีกิเลส ทรงมีบริวารที่ไม่มีกิเลส ทรงสงบ ทรงมีบริวารที่สงบ ทรงฝึกแล้ว ทรงมี บริวารที่ฝึกแล้ว ทรงพ้นแล้ว ทรงมีบริวารที่พ้นแล้ว ทรงรุ่งเรืองเกินเปรียบด้วยประการฉะนี้ . นี่ชื่อว่าเป็นชั้นวรรณะสามารถพูดได้เท่าใด ก็พึงพูดเท่านั้น. ดังที่ว่ามานี้ ท่านพระอานนท์หมายเอาภิกษุเหล่านี้ จึงกล่าวว่า คือภิกษุมีจานวน ๕๐๐ รูป ทุก รูปล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งนั้น. เทพโดยมากประชุมกันแล้ว ที่น้อยยกเว้นเทพไม่มีสัญญา เทพชั้นอรูปาวจร และเทพที่เข้า สมาบัติ ไม่ได้เข้าประชุม. -------------------
  • 12. 12 ต่อไปนี้ เป็นลาดับการเข้าประชุมในมหาสมัยสูตรนั้น. เล่ากันมาว่า เหล่าเทวดาโดยรอบป่าใหญ่เคลื่อนไหวแล้ว ทาเสียงดังว่า มาเถิดผู้เจริญทั้งหลาย ชื่อว่าการเห็นพระพุทธเจ้ามีอุปการะมาก การฟังพระธรรมมีอุปการะมาก การเห็นหมู่ภิกษุมีอุปการะมาก มา มาเถิด พวกเรา แล้วก็พากันมานมัสการพระผู้มีพระภาคเจ้า และเหล่าพระขีณาสพผู้บรรลุพระอรหัต เมื่อครู่นั้น แล้วยืน ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. โดยอุบายนี้ นั่นแหละ พึงทราบว่า ทวยเทพทั้งหลายในแสนจักรวาลมาประชุมกัน เพราะฟังเสียง เทวดาเหล่านั้นๆ โดยลาดับ คือเทวดาผู้อยู่ในจักรวาลทั้งสิ้น ซึ่งอยู่ในสกลชมพูทวีป ปุพพวิเทหทวีป อมรโค ยานทวีป อุตตรกุรุทวีป ในทวีปน้อยสองพันทวีป คือพวกเทวดาที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ซึ่งกว้างประมาณ สามพันโยชน์ โดยฟังเสียงเทวดาผู้อาศัยอยู่ในที่กึ่งคาวุต หนึ่งคาวุต กึ่งโยชน์ หนึ่งโยชน์ โดยลาดับต่อกันไป เทวดาในนคร ๑๘๙,๐๐๐ นคร เทวดาอยู่ที่โทณมุข ๙,๙๐๐,๐๐๐ แห่ง เทวดาอยู่ที่ปฏนะ ๙๖ แสนโกฏิ และ อาศัยอยู่ที่ทะเล ๕๖ แห่ง มาประชุมกันแล้ว แต่นั้น ก็เทวดาในจักรวาลที่สองที่สามเป็นต้น มาประชุมกันด้วยประการฉะนี้ . ก็หมื่นจักรวาล ท่านหมายเอาว่า ๑๐ โลกธาตุในที่นี้ . เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า เทวดาจาก ๑๐ โลกธาตุโดยมากเป็นผู้เข้าประชุมแล้ว. ห้องจักรวาลทั้งสิ้น จนถึงพรหมโลกเต็มแน่นไปด้วยพวกเทวดาที่เข้าประชุมอย่างนั้น เหมือน กล่องเข็มที่เต็มแน่นไปด้วยเข็มที่ใส่ไปจนหาที่ว่างไม่ได้. ในห้องจักรวาลทั้งสิ้นนั้น พึงทราบว่า ที่สูงกว่าเขาได้แก่ห้องจักรวาลของพรหมโลก. เล่ากันมาว่า ผู้ยืนในพรหมโลกเอาก้อนหินเท่าเรือนยอดเจ็ดชั้นในโลหปราสาท โยนลงล่างสี่ เดือนจึงถึงแผ่นดิน. ในโอกาสใหญ่ขนาดนั้น ได้มีเทวดาจนหาที่ว่างไม่ได้ เหมือนดอกไม้ที่คนยืนข้างล่างโยน ไป หรือเหมือนควันไม่ได้ช่องเพื่อขึ้นไปเบื้องบน หรือเหมือนเมล็ดผักกาดที่คนยืนข้างบนโรยไปไม่ได้ช่อง เพื่อลงล่างฉะนั้น. ก็ที่ประทับนั่งของพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่คับแคบ พวกเทวดาและพวกพรหมที่มีศักดิ์ใหญ่ซึ่ง มาแล้วๆ ย่อมได้ช่องทุกองค์ เหมือนที่ประทับนั่งของพระเจ้าจักรพรรดิย่อมเป็นที่ไม่คับแคบ พวกกษัตริย์ชั้น ผู้ใหญ่ที่เสด็จมาแล้วๆ ก็ยังทรงได้ช่องว่างอยู่นั่นเองฉะนั้น. เออก็ยังเล่ากันมาว่า ประเทศขนาดเท่ากับปลายขนทราย ตามนัยที่กล่าวไว้ใน มหาปรินิพพาน สูตร ในที่ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้านั่นเอง ก็ยังมีเทวดา ๑๐ องค์บ้าง ๒๐ องค์บ้าง เนรมิตร่างละเอียดยืนอยู่. ข้างหน้าทั้งหมดมีเทวดา ๖๐ๆ องค์ยืนอยู่. บทว่า พวกชั้นสุทธาวาส คือชาวสุทธาวาส. พรหมโลก ๕ ชั้นอันเป็นที่อยู่ของพระอนาคามีและ พระขีณาสพผู้หมดจดชื่อว่าสุทธาวาส. คาว่า ได้มีคาดาริอย่างนี้ คือ ทาไมจึงได้มี. ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พวกพรหมเหล่านั้นเข้าสมาบัติแล้วออกตามกาหนด เมื่อมองดูที่อยู่ของ พรหมก็ได้เห็นว่าง เหมือนโรงอาหารในเวลาหลังอาหาร แต่นั้นเมื่อใคร่ครวญดูว่า พวกพรหมไปไหน ก็ ทราบว่าไปที่ประชุมใหญ่ คิดว่า สมาคมนี้ ใหญ่ ฝ่ายพวกเรามามัวชักช้า ก็สาหรับพวกผู้ชักช้าจะหาโอกาสได้
  • 13. 13 ยาก เพราะฉะนั้น เมื่อจะไปพวกเราอย่ามีมือเปล่า แต่งคาถาองค์ละบทแล้วค่อยไป พวกเราจะให้พระผู้มีพระ ภาคเจ้าทรงทราบว่าตนมาในสมาคมเหมือนกันด้วยคาถานั้น และจะกล่าวพระเกียรติคุณของพระทศพล ด้วย. ความดาริอย่างนี้ จึงได้มี เพราะความที่พรหมเหล่านั้นออกจากสมาบัติแล้วใคร่ครวญด้วยประการฉะนี้ . บทว่า ปรากฏข้างหน้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ความว่า ท่านทาพรหมเหล่านั้นให้เหมือนหยั่งลงใน ที่เฉพาะพระพักตร์ ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้านั่นเองกล่าวไว้แล้ว. ในบาลีแต่ในที่นี้ ไม่พึงเข้าใจความอย่างนี้ เลย. ก็พรหมเหล่านั้นแต่งคาถาแต่ยังอยู่ในพรหมโลกเสร็จแล้วองค์หนึ่ง ลงที่ขอบปากจักรวาลด้าน ตะวันออก องค์หนึ่งลงที่ขอบปากจักรวาลด้านใต้ องค์หนึ่งลงที่ขอบปากจักรวาลด้านตะวันตก องค์หนึ่งลงที่ ขอบปากจักรวาลด้านเหนือ. ต่อจากนั้น พรหมที่ลงที่ขอบปากจักรวาลด้านตะวันออก ก็เข้ากสิณเขียว แล้วปล่อยรัศมีเขียว เหมือนกาลังสวมหนังแก้วมณีให้เทวดาในหมื่นจักรวาลทราบว่าตนมาแล้ว ธรรมดาวิถีของพระพุทธเจ้าไม่มีใครสามารถจะผ่านไปได้ เพราะฉะนั้น จึงมาด้วยวิถีของ พระพุทธเจ้าที่กระทบแล้วไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้า ยืนในที่ควรส่วนหนึ่งแล้วก็ได้กล่าวคาถาที่ตนได้แต่งไว้. พรหมที่ลงที่ขอบปากจักรวาลด้านใต้ ก็เข้ากสิณเหลืองปล่อยรัศมีแสงทอง เหมือนกาลังห่มผ้า ทอง ประกาศให้เทวดาในหมื่นจักรวาลทราบว่าตนมาแล้ว ได้ยืนอยู่ในนั้นนั่นเอง. พรหมที่ลงทางขอบปากจักรวาลด้านตะวันตก เข้ากสิณแดง เปล่งรัศมีแดง เหมือนห่มผ้าขนสัตว์ ชั้นดีสีแดง ประกาศให้ทรงทราบว่าตนมาแล้ว แก่เทวดาในหมื่นจักรวาลแล้วได้ยืนอย่างนั้นเหมือนกัน. พรหมที่ลงทางขอบปากจักรวาลด้านเหนือ เข้ากสิณขาว เปล่งรัศมีขาวเหมือนนุ่งผ้าดอกมะลิ ประกาศให้ทราบว่าตนมาแล้ว แก่เทวดาในหมื่นจักรวาลได้ยืนอย่างนั้นเหมือนกัน. แต่ในบาลี ท่านกล่าวว่า พรหมทั้งหลายเหล่านั้นปรากฏข้างหน้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ว่า ครั้งนั้น เทวดาเหล่านั้นอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้ยืนในที่ควรส่วนหนึ่งดังนี้ แล้ว ได้กล่าวความปรากฏ ข้างหน้า และการอภิวาทแล้วยืนในที่ควรส่วนหนึ่ง เหมือนกับในขณะเดียวกันอย่างนั้น. การปรากฏและการ ยืนได้มีตามลาดับนี้ แต่ท่านกระทาเป็นพร้อมกันแสดงไว้แล้ว. ส่วนการกล่าวคาถาในบาลี ท่านแยกกล่าวไว้เป็นแผนกๆ ทีเดียว. ในบทเหล่านั้น บทว่า มหาสมัย แปลว่า การประชุมใหญ่ ป่าชัฏเรียกว่าป่าใหญ่. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า การประชุมใหญ่ คือการเข้าประชุมพร้อมกันครั้งใหญ่มีในวันนี้ ที่ชัฏ ป่านี้ แม้ด้วยบททั้งสอง. แต่นั้น เพื่อแสดงพวกที่เข้าประชุมนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า หมู่เทพมา ประชุมกันแล้ว. ในบทว่า หมู่เทพนั้น คือ พวกเทวดา. บทว่า พวกเราเป็นผู้มาสู่การประชุมธรรมนี้ คือ เมื่อได้เห็นหมู่เทพมาประชุมกันอย่างนี้ แม้พวก เราก็มาสู่การประชุมธรรมนี้ . เพราะเหตุไร เพราะเหตุ เพื่อเห็นหมู่ที่ไม่มีใครปราบได้นั่นเอง. อธิบายว่า พวกเราได้เป็นผู้มา เพื่อชมหมู่ที่ไม่มีใครปราบได้นี้ ผู้ชื่อว่า พิชิตสงคราม เพราะเป็นผู้ที่ไม่มีใครทาให้พ่ายแพ้ได้แล้ว ย่ายีมารทั้ง
  • 14. 14 สามชนิดได้ในวันนี้ นั่นเอง. ก็พรหมนั้น ครั้นกล่าวคาถานี้ แล้ว ก็อภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วได้ยืนทาง ขอบปากจักรวาลด้านตะวันออก. ถัดมาองค์ที่สองก็มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ. ในบทว่า ภิกษุทั้งหลายใน...นั้น นั้นได้แก่ พวกภิกษุในที่ประชุมนั้น. บทว่า ตั้งมั่นแล้ว คือประกอบด้วยสมาธิ. บาทคาถาว่า ได้ทาจิตของตนให้ตรงแล้ว ได้แก่ ได้นา ความคดโกง และความโค้งออกจนหมด แล้วทาจิตของตนให้ตรง. บาทคาถาว่า เหมือนสารถีถือเชือก ความว่า เมื่อพวกม้าสินธพไปอย่างเรียบร้อย สารถีวางปฏัก ลงแล้วคอยจับเชือกทั้งหมดไว้ ไม่เตือนไม่รั้งตั้งอยู่ฉันใด ภิกษุหมดทั้งห้าร้อยนี้ ถึงพร้อมด้วยความวางเฉยมี องค์หก คุ้มทวารได้แล้ว บัณฑิตรักษาอินทรีย์ทั้งหลายไว้ฉันนั้น พรหมกล่าวว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้มาที่นี้ เพื่อชมภิกษุเหล่านี้ . แล้วพรหมแม้นั้นก็ไปยืนตามตาแหน่งทีเดียว. ถัดมาองค์ที่สามก็มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ. ในบทเหล่านั้น บทว่า ตัดตาปูได้แล้ว คือ ตัดตาปูอันได้แก่ราคะโทสะและโมหะ. บทว่า ลิ่ม สลัก ก็ได้แก่ลิ่มสลัก คือราคะโทสะและโมหะนั่นเอง. บทว่า เสาเขื่อน ก็ได้แก่เสาเขื่อน คือราคะโทสะและ โมหะนั่นเอง. บทว่า ถอนแล้วไม่มี คือ ภิกษุเหล่าชื่อว่าไม่มีความหวั่นไหว เพราะไม่มีความหวั่นไหว คือ ตัณหา ถอนแล้ว คือกระชากเสาเขื่อนจนหลุดแล้ว. บทว่า ท่านเหล่านั้นเที่ยวไป คือ เที่ยวจาริกไปชนิดที่ไม่กระทบกระทั่งใคร ในสี่ทิศ. บทว่า หมด จด คือไม่มีตัวการที่เข้ามาทาให้จิตใจเศร้าหมอง. บทว่า ปราศจากมลทิน คือไม่มีมลทิน. คาว่า ปราศจาก มลทินนี้ ก็เป็นคาสาหรับใช้แทนคาว่า หมดจด นั่นเอง. บทว่า มีตา คือ มีดวงตาด้วยดวงตา ๕ ชนิด. บทว่า ฝึกแล้วเป็นอย่างดี คือ ทางตาก็ฝึกแล้ว ทาง หู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ก็ฝึกแล้ว. บทว่า นาคหนุ่ม คือ นาครุ่นๆ. พรหมอธิบายว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์เป็นผู้มาแล้วเพื่อชมนาครุ่น ที่ฝึกแล้ว ด้วยความเพียรเป็นเครื่องประกอบอันยอดเยี่ยมเห็นปานนี้ เหล่านี้ . แม้พรหมองค์นั้นก็ได้ไปยืนตามตาแหน่ง นั่นแล. ถัดมาองค์ที่สี่ ก็ได้มากล่าวตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นเอง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ถึงแล้ว คือ ถึงแล้วด้วยการถึงสรณะที่ไม่มีความสงสัย. แม้พรหมองค์นั้นก็ได้ไปยืนตามตาแหน่งนั่นแล. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อได้ทรงสารวจดูตั้งแต่พื้นแผ่นดินจนจรดกาหนดขอบปาก จักรวาล จากกาหนดขอบปากจักรวาลจนจรดพรหมโลก ทอดพระเนตรเห็นการประชุมของเทวดาแล้ว จึง ทรงพระดาริว่า สมาคมเทวดานี้ ใหญ่. ฝ่ายพวกภิกษุไม่ทราบว่า สมาคมเทวดานี้ ใหญ่อย่างนี้ เอาเถิด เราจะ บอกพวกเธอ เมื่อทรงพระดาริอย่างนั้นเสร็จแล้ว ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกภิกษุ ด้วย ประการฉะนี้ . พึงขยายให้กว้างทั้งหมด. บรรดาคาเหล่านั้น คาว่า มีเท่านี้ เป็นอย่างยิ่ง คือ ชื่อว่ามีเท่านี้ เป็นอย่างยิ่ง เพราะเท่านี้ เป็น ประมาณอย่างยิ่งของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น. แต่เพราะบัดนี้ ไม่มีพระพุทธเจ้าทั้งหลาย จึงไม่ตรัสครั้งที่สามว่า