SlideShare a Scribd company logo
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพระพุทธศาสนามหายาน
๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมหายาน
๒. บ่อเกิดนิกายมหายาน
๓. แนวคิดสาคัญของมหายาน
ขอบข่ายเนื้อหา
ความสาคัญของนิกายทั้งสอง
นิกายทั้งสองเจริญควบคู่กันมา เหมือนปีกทั้งสองของนก
นาพานก คือ พระพุทธศาสนาโผบินไปในโลกกว้าง
“Two wings of Buddhism”
เถรวาท มหายาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมหายาน
•มหายาน คือ ยานขนาดใหญ่ที่สามารถจะขนสรรพสัตว์ให้
ข้ามพ้นสังสารวัฏได้ทีละมากๆ
•หินยาน คือ ยานเล็กๆ ขนสัตว์ได้จานวนน้อยๆ
• คาว่า มหายาน จึงเป็ นคาเรียกเพื่อเปรียบเทียบกับ หินยาน
• หินยาน มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเถรวาท เหตุที่เรียกว่า เถรวาท
(วาทะของพระเถระผู้ใหญ่) เพราะพระในนิกายนี้ถือปฏิบัติตามหลัก
คาสอนที่สืบต่อกันมาโดยพระเถระตั้งแต่ครั้งที่ทาปฐมสังคายนา
(สังคายนาครั้งที่ ๑)
• มหายาน มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาจริยวาท (วาทะของพระ
อาจารย์) เพราะพระในนิกายนี้ถือปฏิบัติตามคาสอนของอาจารย์ใน
แต่ละสานักเป็ นหลักและแก้ไขพระวินัยให้สอดคล้องกับสภาพ
ท้องถิ่นเหตุการณ์และตามความประสงค์ของตนเองได้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมหายาน
คาถามชวนคิด
การแสดงความโดดเด่น
ของตนเองเพื่อให้คนอื่นด้อย
เช่น มหายานและหินยาน
เหมาะสมหรือไม่?
เป็ นไวพจน์ของคาว่า “โพธิสัตวยาน”
คือยานของพระโพธิสัตว์ ซึ่งได้แก่ผู้มีน้าใจกว้างขวางประกอบด้วย
มหากรุณาในสรรพสัตว์ ไม่ต้องการอรหัตภูมิ ปัจเจกภูมิ แต่ปรารถนา
พุทธภูมิ เพื่อโปรดสัตว์ได้กว้างขวางและเป็ นผู้รู้แจ้งในศูนยตาธรรม
คัมภีร์ที่ปรากฏคาว่า มหายาน
ปรากฏมีคาว่า “มหายานและหินยาน” ขึ้นใน “สัทธัมมปุณฑริกสูตร”
ประมาณคริสตศตวรรษที่ ๒
ความหมายของคาว่า “มหายาน”
ประเทศที่นับถือมหายาน
บ่อเกิดนิกายมหายาน
มุขปาฐะ
• ในสมัยพุทธกาลการถ่ายทอดหลัก
คาสอน จากคนหนึ่งไปยังอีกคน
หนึ่งใช้วิธีบอกด้วยวาจาแล้วให้
จดจา เป็นธรรมดาของการจดจา
ย่อมมีการหลงลืม
• เมื่อพระองค์ทราบข่าวความ
ผิดเพี้ยนของคาสอน พระพุทธองค์
จะทรงทาหน้าที่ชาระสะสางความ
เข้าใจผิดด้วยตัวพระองค์เอง
เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว
ใคร? จะเป็นผู้ชาระสะสาง
ความผิดเพี้ยนของหลักธรรมคาสอน
ให้ยึดพระธรรมวินัยเป็ นศาสดาแทน
“อานนท์ บางทีพวกเธอ
อาจจะคิดว่าปาพจน์ มีพระศาสดา
ล่วงลับไปแล้ว พวกเราจะไม่มีพระ
ศาสดา ข้อนี้พวกเธอไม่พึงเห็นอย่าง
นั้น ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว
บัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย
จะเป็ นศาสดาของเธอทั้งหลาย
หลังจากเราล่วงลับไป”
(ที.ม. ๑๐/๒๑๖/๑๖๔)
เหตุการณ์ก่อนพุทธปรินิพพาน
อนุญาตให้ยกเลิก
สิกขาบทเล็กน้อยได้
“อานนท์
เมื่อเราล่วงลับไป
ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะถอน
สิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้าง
ก็ถอนได้”
(ที.ม. ๑๐/๒๑๖/๑๖๕)
เหตุการณ์ก่อนพุทธปรินิพพาน
พระกายของพระพุทธเจ้า
“บัดนี้ เราเป็ นผู้ชรา
แก่ เฒ่า ล่วงกาลมานาน
ผ่านวัยมามาก เรามีวัย ๘๐ ปี
ร่างกายของตถาคตประหนึ่ง
แซมด้วยไม้ไผ่ ยังเป็ นไปได้
ก็เหมือนเกวียนเก่าที่ซ่อมแซม
ด้วยไม้ไผ่ฉะนั้น”
(ที.ม. ๑๐/๑๖๕/๑๑๐)
เหตุการณ์ก่อนพุทธปรินิพพาน
“ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนท่านทั้งหลายว่า
สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไป สิ้นไปเป็นธรรมดา ขอท่านทั้งหลาย
จงมีชีตอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด”
ปัจฉิมโอวาท
พุทธปรินิพพาน
พุทธปรินิพพาน ศิลปะอินเดียโบราณ
พุทธปรินิพพาน ศิลปะอินเดีย
พุทธปรินิพพาน ศิลปะอินเดีย
พุทธปรินิพพาน ศิลปะศรีลังกา
พุทธปรินิพพาน ศิลปะศรีลังกา
พุทธปรินิพพาน ศิลปะจีน
พุทธปรินิพพาน ศิลปะจีน
พุทธปรินิพพาน ศิลปะญี่ปุ่น
พุทธปรินิพพาน ศิลปะอยุธยา วัดใหญ่ชัยมงคล
พุทธปรินิพพาน ศิลปะไทย จังหวัดสุพรรณบุรี
• พระสุภัททะกล่าวจ้วงจาบ
พระพุทธเจ้า
“พอเถิดท่านทั้งหลาย
อย่าโศกเศร้าร่าไรไปเลย
พวกเราพ้นไปดีแล้วจาก
พระมหาสมณะนั้น
ด้วยว่าพวกเราถูกเบียดเบียนว่า
สิ่งนี้ควรแก่พวกเธอ
สิ่งนี้ไม่ควรแก่พวกเธอ...”
สถานการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
• มติสังคายนาครั้งที่ ๑
(พ.ศ.๑)
“สงฆ์ไม่พึงบัญญัติสิกขาบท
ที่ยังมิได้บัญญัติ
ไม่พึงถอนสิกขาบท
ที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว...”
สถานการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
• ท่าทีของกลุ่มพระปุราณะ
ต่อการสังคายนา
“พระธรรมวินัยที่ท่านทั้งหลาย
ได้ทาไปนั้น เป็ นการดีแล้ว
ส่วนข้าพเจ้าเคยได้ฟัง
ได้รู้จากสานักของ
พระบรมศาสดามาอย่างไร
ก็จักรักษาไว้อย่างนั้น”
• ประเด็นที่กลุ่มพระปุราณะไม่เห็นด้วย คือ มติที่ว่า
๑. เก็บตุน (ของฉัน) ไว้ในที่อยู่อาศัยไม่ได้
๒. ให้คนปรุงให้ฉันในที่อยู่อาศัยไม่ได้
๓. ปรุงฉันเองไม่ได้
๔. หยิบเอาเองโดยไม่ได้รับประเคนไม่ได้
๕. หยิบติดมาจากที่รับนิมนต์ไม่ได้
๖. รับประเคนไว้ก่อนเวลาภัตตาหารไม่ได้
๗. หยิบของสิ่งที่อยู่ในป่ าไม่ได้
๘. หยิบของที่มีอยู่ในสระน้าไม่ได้
เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
 กลุ่มพระปุราณะเห็นว่า ทั้ง ๘ ข้อนี้ พระพุทธเจ้าทรง
อนุญาตให้ทาได้ แต่คณะสงฆ์ที่ทาสังคายนาครั้งที่ ๑
เห็นว่าทาได้เฉพาะเวลาเกิดทุพภิกขภัยเท่านั้น
เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
(สังคายนาครั้งที่ ๒) พ.ศ. ๑๐๐
• สาเหตุของการทาสังคายนาครั้งที่ ๒ เกิดจากทัศนะที่ขัดแย้งกันของ
ภิกษุชาววัชชี เช่น
• สะสมเกลือไว้ในกลักเขาสัตว์ได้ (๑)
• ฉันอาหารในเวลาบ่ายไปแล้ว ๒ องคุลีได้ (๒)
• ฉันอาหารในวัดแล้วเข้าไปฉันในบ้านอีกได้ (๓)
• ข้อปฏิบัติที่ประพฤติตามครูอาจารย์ต่อๆมา
แม้ผิดวินัย ก็ถือว่าใช้ได้ (๖)
• ภิกษุฉันเหล้าอ่อน ๆ ที่ยังไม่ได้เป็ นสุราได้ (๘)
• ภิกษุรับเงินและทองได้ (๑๐)
คณะสงฆ์แตกเป็ น ๑๘ นิกาย
• หลังสังคายนาครั้งที่ ๒ คณะสงฆ์แตกออกเป็ น ๑๘ นิกาย
โดยมี ๒ กลุ่มใหญ่ ดังนี้
สังคายนา
ครั้งที่ ๒
กลุ่มมหาสังฆิกะ
(ไม่ยึดมติสังคายนาครั้งที่ ๑)
กลุ่มเถรวาท
(ยึดตามมติสังคายนาครั้งที่ ๑)
พัฒนามาเป็น
นิกายมหายาน
นิกายเถรวาท
ในปัจจุบัน
กาเนิดพระพุทธศาสนามหายาน
ให้ถอนสิกขาบทเล็กน้อยได้
ให้ยึดพระธรรมวินัยเป็นศาสดา
กายพระพุทธเจ้าเหมือนคนทั่วไป
มติสังคายนาครั้งที่ ๑
(ไม่ถอนสิกขาบท)
กลุ่มที่ยึดมติสังคายนา
(กลุ่มเถรวาท)
กลุ่มที่ไม่ยึดมติสังคายนา
(กลุ่มพระปุราณะ/
กลุ่มภิกษุชาววัชชี/ กลุ่มมหาสังฆิกะ)
วิพากษ์อุดมการณ์แบบอรหันต์
เกิดแนวคิดเรื่องกายพระพุทธเจ้า
แบบใหม่
เสนออุดมการณ์แบบโพธิสัตว์
วิพากษ์การตีความหลักธรรมบางอย่าง
เกิดนิกายมหายาน
วิพากษ์วิถีแบบอารามนิยม
(Monasticism)
โต้แย้ง
คาถามชวนคิด
ขณะเรียบเรียงพระธรรมวินัย
เป็นพระสูตรนั้น มีสาระสาคัญ
แห่งพุทธธรรมบางตอนสูญ
หายไปหรือไม่?
พระเถระทั้งหลายแน่ใจได้
อย่างไรว่า ไม่มีสาระสาคัญแห่ง
พุทธธรรมบางตอนหายไป?
พระองค์จะทรงมอบแนวทาง
ปฏิบัติ และแต่งตั้งผู้สืบทอด
พระศาสนาหรือไม่ ?
พวกเธอคาดหวังสิ่งใดจากเรา?
เมื่อเราดับขันธ์ลง
พวกเธอแต่ละคนต้องแสวงหา
ความหลุดพ้นด้วยตัวของตัวเอง
เราปรารถนาที่จะยึดถือ
แนวทางการปฏิบัติตาม
วินัยบัญญัติไว้แล้ว
วิเคราะห์มูลเหตุความแตกแยก
ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมใหม่
๑.ความไม่เสมอกันทางศีล (ความประพฤติ)
• สิกขาบทเล็กน้อยมีอะไรบ้าง ?
• ภิกษุชาววัชชีละเมิดสิกขาบท ๑๐ ข้อ
ฯลฯ
๒.ความเห็นไม่ตรงกัน
ผู้นาศาสนาพรามหณ์ปฏิรูปศาสนาของตนเอง มีการแต่ง
มหากาพย์ ขึ ้นมา ๒ เรื่อง มีสานวนและเนื ้อหาเป็ นที่
ประทับใจ ทาให้ศาสนาพราหมณ์แพร่เข้าสู่มวลชนได้อย่าง
รวดเร็ว
๓. แรงกดดันจากศาสนาพรามหณ์
ศาสนาพราหมณ์สร้างตรีมูรติ
ขึ้นมาเป็ นที่พึ่งสูงสุด แข่งกับไตรสรณคมน์
คณาจารย์ฝ่ายพระพุทธศาสนา
จึงสร้างบุคคลในอุดมคติขึ้น
ซึ่งเป็นคนมีปัญญาเฉียบแหลม
มีเมตตา มีกรุณา ยิ่งใหญ่
มีอภินิหาร สามารถที่จะเป็น
ทุกอย่างตามที่ผู้ประสงค์
อ้อนวอนขอไว้ เรียกว่า
“พระโพธิสัตว์”
• พระพุทธองค์ทรงบาเพ็ญ
พระบารมีมานานเป็ นแสนกัป
ไฉนเมื่อตรัสรู้แล้วมีพระชนม์
ต่อมาอีก ๔๕ พรรษา
ก็นิพพานดับหายไปเลย
ดูไม่สมควรแก่เหตุ
๔.บุคลิกภาพเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
ธรรมชาติของนักปรัชญา
อินเดียที่จะก่อตั้งสานักใหม่
จะต้องตาหนิสานักเดิมของ
ตนเองว่ามีข้อบกพร่อง
อย่างไร และสานักที่ก่อตั้ง
มาใหม่นี้ มีจุดเด่นและ
สมบูรณ์อย่างไร
คณาจารย์ชุดแรกของนิกาย
มหายานก็เช่นเดียวกัน
๕. คณาจารย์ผู้ก่อตั้ง
แนวคิดสาคัญของมหายาน
การเข้าถึงนิพพานมีกี่วิธี ?
๑. เพียรพยายามหาหนด้วยตนเอง
๒. ดาเนินตามทางที่ท่านผู้รู้ได้
ดาเนินไปก่อนแล้ว
วิธีไหนยากง่ายกว่ากัน ?
ผลลัพธ์เหมือนหรือต่างกัน ?
พระอนุพุทธะ
(อรหันตสาวก)
ผู้ตรัสรู้ตาม
พระพุทธเจ้า
พุทธะ ๓
พระปัจเจกพุทธะ
ผู้ตรัสรู้เฉพาะตน
ไม่สามารถสอน
ผู้อื่นให้รู้ตามได้
พระสัมมาสัมพุทธะ
ผู้ตรัสรู้ชอบด้วย
พระองค์เอง และ
สอนให้ผู้อื่นรู้ตาม
ได้
การรีบเข้าถึงนิพพาน
ด้วยการปฏิบัติตาม
หลักคาสอนของ
พระพุทธเจ้าอย่างที่
พระอรหันตสาวกทากัน
เป็นการกระทาที่แฝง
ความเห็นแก่ตัวหรือไม่ ?
คาถามชวนคิด
๑.ความเชื่อเรื่องตรียาน
๑) สาวกยาน
๒) ปัจเจกยาน
๓) โพธิสัตวยาน
มุ่งเพียงอรหันตภูมิเท่านั้น
รู้แจ้งเห็นธรรมด้วยตนเอง
แต่ไม่อาจสั่งสอนสัตว์อื่นได้
มุ่งพุทธิภูมิเป็นจุดหมาย
เพื่อโปรดสัตว์ได้กว้างขวาง
๒. ความเชื่อเรื่องตรีกาย
๑) นิรมาณกาย
๒) สัมโภคกาย
๓)ธรรมกาย
กายเนื้อ มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย
กายทิพย์
ประทับอยู่ ณ พุทธเกษตร
องค์แท้ของพระพุทธเจ้า
ไม่ดับสูญ เป็นนิรันดร์
ธรรมกาย
สัมโภคกาย
นิรมาณกาย
ความสัมพันธ์ระหว่ากายทั้งสาม
พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วเสด็จไปไหน ?
เถรวาทตอบอย่างไร?
มหายานตอบอย่างไร?
พระพุทธองค์ทรงอยู่ในภาวะอย่างไร?
คาถามชวนคิด
เมื่อนิพพานมี ที่ตั้งของนิพพานก็น่าจะมี ?
“ผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นเรา”
ธรรม ในที่นี้หมายถึงอะไร?
ส.ข. ๑๗/๘๗/๑๕๙
อะไรคือมูลเหตุความเชื่อเรื่องตรีกาย ?
เปรียบเทียบกับแนวคิดฮินดู
ปรมาตมัน
พระวิษณุ พระพรหม พระอิศวร
มนุษย์ มนุษย์ มนุษย์
ตรีกาย & ฮินดู
ธรรมกาย
สัมโภคกาย
นิรมาณกาย
ปรมาตมัน
พระวิษณุ
พระราม
มนุษย์/สัตว์/พืช/สรรพสิ่งในจักรวาล
“ตรีกาย” กับ “เต๋า
• จิตที่ปรารถนาจะบรรลุ
พระสัมมาสัมโพธิญาณ
เป็ นพระพุทธเจ้า
เพื่อประโยชน์สูงสุดของ
สัตว์ทั้งหลาย
เป็ นจิตของโพธิสัตว์
๓. แนวคิดเรื่องโพธิจิต
๔. แนวคิดเรื่องตถาคตครรภ์
หมายถึง แหล่งกาเนิด หรือ
เชื้อแห่งความเป็ พระพุทธเจ้า
ที่มีอยู่ภายใจของสัตว์ทั้งหลาย
ซึ่งถูกหุ้มห่อหุ้มปกปิ ดไว้ด้วย
กิเลสทั้งหลาย
เมื่อได้ทาลายกิเลสทั้งหลายไห้
ห ม ด สิ ้น ไ ป สัต ว์นั ้น ย่อ ม มี
สถานะเป็ นพระพุทธเจ้าอย่าง
สมบูรณ์
๔. แนวคิดเรื่องตถาคตครรภ์
• เป็ นแหล่งกาเนิดของสรรพสิ่ง ทั้งจิตใจและร่างกาย
• เป็ นภาวะที่จิตเราบริสุทธิ์ถึงที่สุดหมดสิ้นซึ่งกิเลสอาสวะ
• ถ้าพูดถึงในฐานะ “ความมีอยู่” (ontology) หมายถึง
“ภาวะของความเป็ นอย่างนั้น”
ทาให้เกิดเหตุผลของความเป็ นพุทธะ
• ตถาคตเหมือนแก้วมณีล้าค่าซุกซ่อนอยู่ในกระท่อมคนจน
พระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึ้นในโลก เพื่อให้ประชาชนค้นพบ
คุณสมบัติแห่งพุทธภาวะที่รับรู้ไม่ได้ซึ่งอยู่
“ภายในบ้านคือจิตใจ”
ตถาคตครรภ์ในนัยต่างๆ
มหายานเชื่อว่า สัตว์ทั้งหลาย
สามารถเป็ นพระพุทธเจ้าได้
ทั้งหมด และพระพุทธเจ้าก็มี
มากมายกว่าเม็ดทรายในแม่น้า
คงคา
คาถามชวนคิด
ในทัศนะของเถรวาทมนุษย์ทุกคน
มีสิทธิเข้าถึงนิพพานได้หรือไม่?
ทัศนะเถรวาทจิตของทุกคนเป็น
จิตของพระพุทธเจ้าหรือไม่
เพราะอะไร?
คาถามชวนคิด
ทาไมมหายานถึงมุ่งเน้น
ให้คนเป็นพระโพธิสัตว์
ตั้งจิตปรารถนาพุทธภูมิ ?
ต้องบาเพ็ญบารมี ๖ ตามแนวโพธิสัตว์ให้ครบสมบูรณ์
วิธีการเข้าถึงตถาคตครรภ์
๑. ทาน
๒. ศีล
๓. ขันติ
๔. วิริยะ
๕. สมาธิ
๖. ปัญญา
คาถามชวนคิด
มีคนอยู่สิบคน สิบคนนี้เป็นศาสนิก
ของฝ่ายมหายาน ทั้งหมดจึงตั้งจิต
ปรารถนาพุทธภูมิ หลักจากบาเพ็ญบารมี
ทุกคนก็ได้บรรลุถึงที่หมาย
ในกรณีนี้ความเป็น
พระพุทธเจ้ามี
ประโยชน์อย่างไร?
๕. แนวคิดเรื่องพระโพธิสัตว์
พระโพธิสัตว์ หมายถึง
ผู้มุ่งมั่นปรารถนาบรรลุภูมิ
คือ ตั้งจิตเป็ นประพุทธเจ้า
ต่อไปในอนาคต
การเกิดเป็ นพระพุทธเจ้า
เท่านั้นจึงจะสามารถ
ช่วยเหลือสรรพสัตว์ได้อย่าง
แท้จริงและไม่จากัด
ความหมาย
๑. เราจะละกิเลสทั้งหลายให้หมด
๒. เราจะศึกษาธรรมทั้งหลาย
ให้เจนจบ
๓. เราจักโปรดสัตว์ทั้งหลายให้สิ้น
๔. เราจะต้องบรรลุพุทธภูมิ
ปณิธานของพระโพธิสัตว์
อุดมการณ์โพธิสัตว์เกิดจากการที่พระมหาเทวะแสดงทรรศนะในเชิง
ลดคุณค่าแห่งความเป็ นอรหันต์ ดังนี้
๑. พระอรหันต์อาจถูกมารยั่วยวนในความฝันได้
๒. บุคคลจะรู้ว่าตนเป็ นพระอรหันต์ก็ด้วยอาศัยคาพยากรณ์ของผู้อื่น
๓. พระอรหันต์ยังมีความสงสัยในคาสอนของพระพุทธเจ้า
๔. บุคคลจะบรรลุอรหันต์โดยไม่มีอาจารย์ไม่ได้
๕. บุคคลจะบรรลุอรหันต์ได้ โดยเปล่งอุทานว่า “ทุกข์หนอๆ”
ข้อมูลจากคัมภีร์
“เภทธรรมติจักรศาสตร์”
แต่งโดยท่านวสุมิตร
กาเนิดและพัฒนาการ
จุดนี้เองทาให้สถานะของพระอรหันต์
ถูกประเมินจากสังคมต่าลง
คาถามชวนคิด
พระโพธิสัตว์เถรวาทเป็นอย่างไร ?
เราจาเป็นต้องตั้งความปรารถนา
เป็นพระพุทธเจ้าหรือไม่
เพราะอะไร?
คุณสมบัติของพระโพธิสัตว์
๑) มหาปัญญา
๒) มหากรุณา
๓) มหาอุบาย
ปัญญาเห็นแจ้งในสัจธรรม
มีจิตกรุณาต่อสัตว์ทั้งหลาย
อย่างไรขอบเขต
มีวิธีการชาญฉลาดในการสั่ง
สอนสัตว์ให้เข้าถึงสัจธรรม
ความโดดเด่นของพระโพธิสัตว์
ท่านจะมีความสุขได้หรือเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ยังทุกข์ทรมานอยู่?
ท่านจะพ้นจากทุกข์ขณะที่ทั้งโลกยังร่าให้อยู่หรือ?
• ถือเอาความรับผิดชอบต่อการหลุดพ้น
ของสรรพสัตว์เหนือกว่าการหลุดพ้น
ของปัจเจกบุคคล
มีนิพพิทากล้าต่อสังสารวัฏ แต่หันหน้าเข้าหาสังสารวัฏ
มีศรัทธาปสาทะต่อนิพพาน แต่หันหลังให้แก่นิพพาน
กลัวสรรพกิเลส แต่ไม่ควรละกิเลส
มีอัตตา แต่ไม่ยึดถืออัตตา
มัจักษุรอบด้าน แต่มองสรรพสิ่งเป็ นหนึ่งเดียว
มองสรรพสิ่งเป็ นหนึ่งเดียว แต่แบ่งแยกบาเพ็ญประโยชน์
แบกภาระเต็มบ่า แต่เบาเหมือนปุยนุ่น
คิดฟุ้ งซ่าน แต่จุดประสงค์เดียว
ไม่เคยให้สัญญา แต่รักษาสัญญา
คิดโดยไม่คิด พูดโดยไม่พูด ทาโดยไม่ทา
ขั้นตอนการเป็ นพระโพธิสัตว์
ขั้นที่ ๑
ประพฤติกุศลกรรมบถ
ขั้นที่ ๒
ตั้งมหาปณิธาน
ขั้นที่ ๓
บาเพ็ญบารมี
ขั้นที่ ๔
บรรลุโพธิสัตว์ทศภูมิ
โพธิสัตว์ทศภูมิ
โพธิสัตว์
ทศภูมิ
มุทิตา
วิมลา
ประภา
กรี
อรรถจี
สมดี
ทุรชยา
อภิมุขี
ทูรัง
คมา
อจลภูมิ
สาธุมดี
ธรรม
เมฆ
ภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอจงจาริกไปเพื่อประโยชน์สุข
แก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก
เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์
แท้จริงแล้วจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาคืออะไร?
วิ. ม. ๔/๓๒/๔๐
คาถามชวนคิด
พุทธศาสนามหายานเป็น
คาสอนของพระพุทธเจ้า
ที่แท้จริงหรือไม่ ?
มหายานปฏิเสธ
พระไตรปิฎกหรือไม่ ?
เอกสารอ้างอิง
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ. โพธิสัตวจรรยา: มรรคาเพื่อมหาชน. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ. พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ
และสารัตถธรรม. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
สมภาร พรมทา. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๓๔.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : ศยาม, ๒๕๕๐.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์Nareerat Keereematcharu
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 

Viewers also liked (6)

ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 

Similar to ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Jupiter Jringni
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธreemary
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 

Similar to ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน (20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน

Editor's Notes

  1. มหายาน มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาจริยวาท (วาทะของพระอาจารย์) เพราะพระในนิกายนี้ถือปฏิบัติตามคำสอนของอาจารย์ในแต่ละสำนักเป็นหลักและแก้ไขพระวินัยให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นเหตุการณ์และตามความประสงค์ของตนเองได้ โดยยึดถือพระดำรัสของพระพุทธเจ้าที่ตรัสไว้เมื่อครั้งใกล้จะเสด็จดับขันธปรินิพพานว่า “หากสงฆ์ประสงค์จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยก็ให้ถอนได้” เพราะฉะนั้น ในนิกายนี้จึงมีการแก้ไขพระวินัยหลายข้อด้วยกัน และบางสาขาในนิกายนี้แก้ไขพระวินัยถึงขนาดที่ว่า พระมีครอบครัวได้
  2. พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญ พระบารมีมานานเป็นแสนกัป ไฉนเมื่อตรัสรู้แล้วมีพระชนม์ต่อมาอีก ๔๕ พรรษา ก็นิพพานดับหายไปเลย ดูไม่สมควรแก่เหตุ ฉะนั้น มหายานจึงถือว่าพระพุทธเจ้า ทรงมีพระชนม์ชีพถาวร อยู่ในแดนพุทธเกษตร
  3. พระพุทธศาสนาเถรวาทกล่าวถึงพระโพธิ์สัตว์ในแง่ของย้อนกลับไปกล่าวถึงการสร้างบารมีในอดีตชาติของพระพุทธเจ้า เพื่อสร้างความเลื่อมใสศรัทธาและให้เห็นแบบอย่างในการทำความดีของมหาบุรุษ แต่ไม่ถึงกลับต้องยึดถือเป็นอุดมการณ์ของชีวิตที่จะต้องเป็นพระพุทธเจ้าให้ได้เหมือนพระองค์
  4. เนื้อหาจากการสรุปจากหนังสือ โพธิสัตว์จรรยา ของ อ.ประพจน์ หน้า ๑๑๔
  5. ๒. ขั้นตอนการเป็นโพธิ์สัตว์ ตอบ ๑) ประพฤติกุศลกรรมบถ ๑๐ - กายกรรม ๓ คือ ไม่ฆ่าสัตว์, ไม่ลักทรัพย์, ไม่ประพฤติผิดในกาม - วจีกรรม ๔ คือ ไม่พูดเท็จ, คำหยาบ, เพ้อเจ้อ, ส่อเสียด - มโนกรรม ๓ คือ ไม่โลภอยากได้ของเขา ไม่พยาบาทปองร้าย เห็นชอบตามคลองธรรม (สัมมาทิฐิ) ๒) มหาปณิธาน ของพระโพธิสัตว์มี ๔ อย่างคือ ๑. ช่วยเหลือสรรพสัตว์ทั้งหลายให้พ้นทุกข์ ๒. ทำลายกิเลสตัณหาทั้งหลายให้หมดสิ้นไป ๓. เข้าถึงสัจจะและสั่งสอนธรรมนั้นให้แก่คนทั้งหลายเหล่าอื่น ๔. นำสัตว์ทั้งหลายให้เข้าสู่พุทธภาวะ ๓) บำเพ็ญบารมี ๖ คู่ปรับโลภะ คู่ปรับโทสะ คู่ปรับโมหะ ๑. ทาน การให้เป็นสิ่งที่ควรให้ ๒. ศีล การประพฤติในทางที่ชอบ ๓. ขันติ ความอดทนอดกลั้น ๔. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร ๕. ฌาน การเพ่งพิจารณาให้เห็นตามความเป็นจริง ๖. ปรัชญา (ปัญญา) ความมีปัญญารอบรู้ ๔) ผลของการบำเพ็ญโพธิสัตว์ คือ ภูมิ ๑๐ ๑. ประมุทิตาภูมิ พระโพธิสัตว์มีความยินดีในความไร้ทุกข์ของสัตว์ (ภูมินี้บำเพ็ญหนักในทานบารมี) ๒. วิมลาภูมิ (ปราศจากมลทิน) พระโพธิสัตว์ละมิจฉาจริยาได้เด็ดขาด ปฏิบัติแต่ในสัมมาจริยา (ภูมินี้มีศีลบารมีเป็นใหญ่) ๓. ประภากรีภูมิ (มีความสว่าง) พระโพธิสัตว์ทำลายอวิชาได้เด็ดขาด มีความอดทนทุกประการ (ภูมินี้มีขันติบารมีเป็นใหญ่) ๔. อรรถจีษมตีภูมิ (รุ่งเรือง) พระโพธิสัตว์มีความเพียรในการบำเพ็ญธรรม (ภูมินี้มีวิริยะบารมีเป็นใหญ่) ๕. สทุรชยาภูมิ (ชนะได้ยาก) พระโพธิสัตว์ละสภาวะสาวกญาณ กับปัจเจกโพธิญาณ ซึ่งเป็นธรรมเครื่องกั้นพุทธภูมิ (ภูมินี้มีญาณบารมีเป็นใหญ่) ๖. อภิมุขีภูมิ (มุ่งหน้าต่อทางนิพพาน) พระโพธิสัตว์บำเพ็ญยิ่งในปัญญาบารมี เพื่อรู้แจ้งเห็นชัดในปฏิจจสมุปบาท (ภูมินี้มีปัญญาบารมีเป็นใหญ่) ๗. ทูรังคมาภูมิ (ไปไกล) พระโพธิสัตว์มีอุบายอันฉลาดแม้บำเพ็ญกุศลน้อย แต่ได้ผลแก่สรรพสัตว์มาก สามารถตัดกิเลสออกจากทั้ง ๓ ภพได้ (ภูมินี้มีอุบายบารมีเป็นใหญ่) ๘. อจลาภูมิ (ไม่คลอนแคลน มั่นคง) พระโพธิสัตว์บำเพ็ญหนักในปณิธานบารมี ฝึกภาวนาด้วยภาวนาศูนยตา เลยขั้นอรหันต์และปัจเจกพุทธเจ้า ๙. สาธุบดีภูมิ พระโพธิสัตว์แตกฉานในอภิญญา และปฏิสัมภิทาญาณ ภูมินี้บำเพ็ญหนักในพลบารมี (ขั้นที่ไม่มีการเคลื่อนไหว) ๑๐. ธรรมเมฆาภูมิ พระโพธิสัตว์บำเพ็ญหนักในญาณบารมีมีจิตอิสระ ไม่ติดในรูปธรรม นามธรรม (บำเพ็ญหนักญาณบารมี) มีสติปัญญาเยี่ยมยอด สามารถพูดอบรมสั่งสอนผู้อื่นให้บรรลุธรรมได้ด้วยความง่ายดาย เมื่อพระโพธิสัตว์บำเพ็ญทศภูมิเต็มบริบูรณ์แล้ว ย่อมมีลักษระของธรรมกายที่สมบูรณ์