SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.
น.ธ.เอก,ป.ธ.๘,พธ.บ.(อังกฤษ),พธ.ม.(บาลี),พธ.ด.
(พระพุทธศาสนา)
ความเป็นมาของจิตวิทยาศาสนา
วิชาจิตวิทยาศาสนา

เป็นศาสตร์ที่ผสม
ผสานระหว่างศาสนศึกษากับจิตวิทยา เป็น
ผลพลอยได้ที่เกิดจากความก้าวหน้า
วิทยาการทางสังคมศาสตร์ ตั้งแต่ปลายคริส
ศตวรรษที่ ๑๙
เอมีล เดร์กไคมน์ (Emile Durkheim) นัก
สังคมวิทยา ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ตั้งทฤษฎี
กำาเนิดศาสนาและศาสนาปฐมบรรพ์
แมกซ์

เวเบอร์ (Max Weber) บาทหลวงนัก
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ชาวเยอรมัน
เขียนบทวิเคราะห์ ทางศาสนา
ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นัก
จิตวิทยาผูเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาวิเคราะห์
้
ชาวออสเตรีย เขียนบทวิเคราะห์กำาเนิดของ
ศาสนา
คาร์ล

กุสตาฟ จุง (Carl Gustav Jung)
วิเคราะห์จิตสำานึกทางศาสนา

วิลเลี่ยม

เจมส์ (William James) วิเคราะห์
ประสบการณ์ศาสนาแบบต่างๆ
เป้าหมายของการศึกษาจิตวิทยาศาสนา
๑.

ศึกษาสภาวะต่างๆ ทางศาสนาที่ปรากฏ
อยู่ในชีวิตจิตใจของมนุษย์ โดยเจาะลึก
เข้าไปในโครงสร้างและองค์ประกอบ
ภายในบุคลิกภาพและพฤติกรรมของมนุษย์
ได้แก่
 ๑)​ อารมณ์
๒) ความรู้สึกนึกคิด
๓) สติปญญา
ั
๔) จิตสำานึก
๕)

จิตไร้สำานึก
๖) ประสบการณ์ทางศาสนา
๗) ลักษณะการแสดงออกเชิงปฏิกิริยาของ
มนุษย์ที่สนองตอบต่อธรรมชาติต่อส่ิิง
แวดล้อมรอบด้าน
๘) สภาวะของชีวิตที่มนุษย์ต้องเผชิญอยู่
เสมอ เช่น การเกิด แก่ เจ็บ ตาย
ความมุ่งหมายของการศึกษา
คือการหาความกระจ่างในคำาอธิบายทาง

พุทธศาสนาที่ว่าด้วย จิต (นาม) กาย (รูป)
และพฤติกรรม (กรรม) ว่ามีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์เชิงเหตุปจจัยอย่างไร และเมื่อนำามา
ั
ศึกษาเปรียบเทียบกับทฤษฎีทางจิตวิทยา
สมัยใหม่
แล้วมีความสอดคล้องหรือแตก
ต่างกันอย่างไร
ความรู้ที่ได้รับสามารถนำาไปใช้ประโยชน์

ในการดำารงชีวิต
ทำาให้มีสมรรถภาพใน
การปรับตัว และการแก้ปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น
รู้จักการอยู่กับผู้อื่นได้ดียิ่งข้ิึิ้น
มีความ
เข้าใจตนเอง
และประยุกต์ใช้กับการ
ประกอบอาชีพทุกด้าน
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อความรู้ความเข้าใจ
๑.บทบาทความสัมพันธ์ระหว่างร่างกาย

และจิตใจเชิงปฏิกิริยา
๒. ลักษณะของจิต
๓. การจำาแนกจิต
๔. กระแสการทำางานของจิต
๕. กระบวนการรับรู้และการเรียนรู้ของจิต
๖. กระบวนการทางอารมณ์
๗.

ปรากฏการณ์ที่จิตแสดงออกในรูปของ
ความฝัน
๘. การกำาหนดบุคลิกภาพของมนุษย์
๙. ประสบการณ์ทางพระพุทธศาสนา
๑๐. พุทธจิตเวช
๑๑. หลักคำาสอนเชิงประยุกต์ในเรื่องความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม
๑๒.

เสนอแนวทางการเรียนการสอนให้
เป็นประจักษ์วิทยาที่ทั้งผู้เรียนและผู้สอน
ต่างได้รับคุณค่าด้านการประเทืองปัญญา
ความสำานึกในมนุษยธรรม
และความสุข
ทางใจ
ความเหมือนกันและความต่างกันระหว่าง
จิตวิทยาเชิงพุทธและจิตวิทยาตะวันตก
๑.

ความเหมือนกัน
รูปแบบคำาสอนและแนวปฏิบัติทางพุทธ
ศาสนา และจิตวิทยาตะวันตก มีรากฐาน
ของการอธิบายเชิงจิตวิทยาศาสนาเหมือน
กัน
คำาสอนในพระสุตตันตปิฎก เป็นคำาอธิบาย
เชิงรูปธรรม
คำาสอนในพระอภิธรรมปิฎก

เป็นคำาสอน
เชิงอภิปรัชญา หรือคำาอธิบายเชิงนามธรรม
ทั้งสองปิฏกมีเนื้อหารเป็นจิตวิทยาเชิง
วิเคราะห์จิต
และพฤติกรรมของมนุษย์
เป็นกระบวนการทางร่างกายและจิตใจ อัน
เป็นผลมาจากการทำางานของขันธ์ทั้ง ๕
รากฐานของจิตวิทยาพุทธศาสนา

๑. ธรรมนิยามหลักแห่งความจริงของชีวิต
ธรรมนิยาม

คือกฏธรรมชาติที่มีความเป็น
สากลที่ครอบงำารูป (ร่างกาย) และนาม
(จิตใจ) ให้มีสภาพเป็นไป ตามกฏของ
ธรรมชาตินั้น ได้แก่ สามัญลักษณะหรือที่
รู้จักกันโดยทั่วไปว่า กฏไตรลักษณ์ และกฏ
วิเสสลักษณะ
๑)สามัญลักษณะ
สามัญลักษณะ

คือลักษณะที่เป็นไปเหมือนๆ
กันของสิงทั้งหลายที่ย่อมมีการเกิดขึ้น ตั้ง
่
อยู่หรือดำารงสภาพหนึ่งอยู่ในชัวระยะหนึ่ง
่
แล้วก็แปรเปลี่ยนไป หรือสลายไปตามกาล
เวลาภายใต้ลักษณะสากล ๓ ประการ เรียก
ว่า ไตรลักษณ์ คือ
๑) อนิจลักษณะ ไม่เที่ยง
๒) ทุกขลักษณะ เป็นทุกข์
๓)

อนัตตลักษณะ เป็นอนัตตา ไม่มีตัวตน
โครงสร้างของชีวิต
ขันธ์

๕
๑) ตัวสภาวะ
พุทธธรรม มองสิงทั้งหลายในรูปของส่วน
่
ประกอบต่างๆ ที่มาประชุมกันเข้า ตัวตน
แท้ๆ ของส่ิิงทั้งหลายไม่มี เมือแยกส่วน
่
ต่างๆ ที่มาประกอบกันเข้านั้นออกไปให้
หมดก็จะไม่พบตัวตนของสิงนั้นเหลืออยู่
่
เช่น รถ อาคาร เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่าง

สัญญา กับ สติ
สัญญา แปลว่า ความจำา
สติ แปลว่า ความระลึกได้ บางครั้งแปลว่า
ความจำา
ความจำาไม่ใช่กิจของธรรมข้อเดียว แต่เป็น
กิจของกระบวนธรรม
ในกระบวนธรรมแห่งความจำานี้สญญาและ
ั
สติเป็นองค์ธรรมใหญ่ ทำาหน้าที่เป็นหลัก
สัญญาและสติมีความหมายคาบเกี่ยวและ

เหลื่อมกันกับความจำา
ส่วนหนึ่งของสัญญา เป็นส่วนหนึ่งของ
ความจำา
อีกส่วนหนึ่งของสัญญาอยู่นอกเหนือความ
หมายของความจำา
ส่วนหนึ่งของสติ เป็นส่วนหนึ่งของความจำา
อีกส่วนหนึ่งของสติ อยู่นอกเหนือจากความ
จำา
สัญญาและสติทำาหน้าที่คนละอย่างใน

กระบวนการทรงจำา
สัญญา กำาหนดหมายหรือหมายรู้อารมณ์
เอาไว้ เมื่อประสบอารมณ์อีก ก็เอาข้อที่
กำาหนดหมายไว้นั้น มาจับเทียบเคียงว่าตรง
กันกับที่หมายไว้ ถ้าหมายรู้ว่าตรงกัน
เรียกว่า จำาได้
ลักษณะที่สำาคัญของสัญญา
ลักษณะที่สำาคัญของสัญญา

คือ ทำางานกับ
อารมณ์ที่ปรากฏตัวอยู่แล้ว เมื่อมีอารมณ์
ปรากฏอยู่หน้าจึงจำาได้
สติ

มีหน้าที่ดึงอารมณ์มาสูจิต เหนี่ยว
่
อารมณ์ไว้กับจิต
สติจึงมีขอบเขตความหมายคลุมถึง การ
ระลึก นึกถึง นึกได้ ระลึกได้
สติเป็นการริเริ่มเองจากภายใน โดยอาศัย
พลังแห่งเจตน์จำานง
ตัวอย่างความสัมพันธ์ของสัญญากับ
สติ

นาย

ก กับ นาย ข เคยรู้จักกันดี ต่อมาทั้ง
สองได้แยกจากกันไป แล้ววันหนึ่งมาพบกัน
อีก นาย ก จำานาย ข ได้ แล้วนึกต่อไปได้
อีกว่า เคยไปที่โน่น ที่นกับ นาย ข
ี่
การจำาได้ว่า เป็น นาย ข คือลักษณะของ
สัญญา
การนึกต่อไปอีกว่าเคยไปที่นั่นที่นี่กับนาย
ข เป็นลักษณะของ สติ
ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญา
วิญญาณ​ ปัญญา

สัญญา

วิญญาณ ปัญญา เป็นเรื่องของ
ความรู้ แต่เป็นองค์ธรรมต่างข้อกัน และอยู่
คนละขันธ์ สัญญาเป็นขันธ์หนึง วิญญาณ
่
เป็นขันธ์หนึ่ง ปัญญาอยู่ในสังขารขันธ์
ปัญญา คือ ความรู้ชด คือรู้ทั่วถึงความจริง
ั
เป็นการมองทะลุสภาวะและทะลุปญหา
ั
ช่วยเสริมสัญญาและวิญญาณ
ปัญญา

ช่วยให้สัญญาและวิญญาณ เก็บ
หรือจำาสิ่งที่ถูกต้องไว้ เพราะสัญญาและ
วิญญาณไม่สามารถจะแยกแยะได้ว่า อะไร
ผิด อะไรถูก มีหน้าที่รับรู้และจำา หรือบันทึก
ไว้อย่างเดียว
สัญญาและวิญญาณ

อาศัยอารมณ์ที่
ปรากฏอยู่จึงทำางานได้
ปัญญา เป็นตัวริเริ่มกระทำาต่ออารมณ์
เชื่อมโยงอารมณ์ต่างๆ แล้วพิเคราะห์ออก
มา ให้เห็น เห็นผล เห็นความสัมพันธ์ จาก
นั้นส่งให้สัญญาและวิญญาณรับรู้และทรง
จำาไว้
ลักษณะของวิญญาณและปัญญา
ปัญญา

เป็นภาเวตัพพธรรม คือเป็นสภาวะ
ที่ควรฝึกอบรมทำาให้เจริญขึ้น
วิญญาณ​ เป็น ปริญไญยธรรม คือ เป็น
สภาวะที่ควรกำาหนดรู้หรือทำาความรู้จักให้
เข้าใจ
อุปมาธรรมทั้ง ๓ เหมือนบุคคล ๓ คน
สัญญา

เปรียบเหมือน เด็ก ชาวบ้าน เห็น
เหรียญกษาปณ์
วิญญาณ เปรียบเหมือน ผู้ใหญ่ เห็น
เหรียญกษาปณ์
ปัญญา เปรียบเหมือน เจ้าหน้าที่หรือ
เหรัญญิก เห็นเหรียญกษาปณ์
กระบวนการทำางานร่วมกันของขันธ์
๕
ขันธ์

๕ ทำางานร่วมกับทั้ง ๒ ฝ่าย คือ ฝ่าย
กุศล และฝ่ายอกุศล
ขันธ์​ ๕ กับอุปาทานขันธ์ ๕
ชีวิตกับชีวิตที่เป็นปัญหา

ขันธ์

๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ สภาวะเหล่านี้ยังไม่ก่อทุกข์หรือ
ปัญหา
เมื่อใดมีการเข้าไปยึดถือว่า รูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณว่า เป็นตัว เป็นตน
ของเรา จึงทำาให้เป็นทุกข์แก่ผยึดถือ
ู้
อายตนะ ๖
๑.

ตัวรับรู้และเสพเสวยโลก
๒. ประเภทและระดับของการรับรู้
๓. ความถูกต้องและความผิดพลาดของ
การรับรู้
๑. ตัวรับรู้และเสพเสวยโลก
ตัวสภาวะ
อายตนะ

แปลว่า ที่ต่อ หรือแดน หมายถึงที่
ต่อกันให้เกิดความรู้ แดนเชือมต่อให้เกิด
่
ความรู้ หรือแหล่งที่มาของความรู้ หรือทาง
รับรู้ มี ๖ อย่าง คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
เรียกว่า อายตนะภายใน
อารมณ์ที่มาทำาให้เกิดการรับรู้ภายนอก
ได้แก่ รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ
ิ
(สัมผัส) ธรรมารมณ์ เรียกว่า อายนตนะ
ภายใน
ตากับรูปกระทบกันเกิดความรู้ทางตา

เรียก

ว่า เห็น
หูกับเสียงกระทบกันเกิดการรับรู้ทางหู
เรียกว่า ได้ยิน
จมูกกับกลิ่นกระทบกันเกิดการรับรู้ทางจมูก
เรียกว่า ได้กลิ่น
ฯลฯ
ตัวรู้เฉพาะด้าน

เรียกว่า “วิญญาณ” เช่น
ตากับรูปกระทบกันเกิดการรับรู้ขึ้นเรียกว่า
จุกขุวิญญาณ รู้ทางตา
หน้าที่ของอายตนะ
อายตนะทำาหน้าที่รับใช้มนุษย์

อ
๑. เป็นทางรับรู้โลก
๒.​เป็นช่องทางเสวยโลก
๑.

๒ อย่าง คื

เป็นทางรับรู้โลก หรือเป็นแหล่งนำาโลก
มาเสนอต่อมนุษย์ เป็นเครื่องมือสื่อสาร
ทำาให้มนุษย์ ได้รับข้อมูลแห่งความรู้ ซึ่ง
เป็นส่ิิงจำาเป็นที่จะช่วยให้มนุษย์สามารถ
เกี่ยวข้องกับโลกได้ถูกต้อง
๒.

เป็นช่องทางเสวยโลก หรือเป็นประตูที่
มนุษย์จะเปิดออกไปรับอารมณ์ที่เป็นรส
อร่อยของโลกมาเสพเสวย ด้วยการ ดู การ
ฟัง การดม การลิ้มรส การแตะต้องเสียดสี
เป็นต้น
๒. ประเภทและระดับของการรับรู้
ตามหลักพุทธธรรม

สามารถแยกประเภท
ของความรู้ได้หลายนัย ดังนี้
ก. จำาแนกโดยสภาวะ หรือโดยธรรมชาติ
ของความรู้
จำาแนกตามหลักขันธ์ ๕ ความรู้เป็น
นามธรรมจำาพวกหนึ่งซึ่งกระจายอยู่ในนาม
ขันธ์ ๓ คือ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และ
วิญญาณขันธ์ ได้แก่ สัญญา วิญญาณ และ
ปัญญา
ข.จำาแนกโดยทางรับรู้
ตามหลักพุทธธรรม

ผัสสะ เป็นแหล่งแห่ง
ความรู้ ความรู้ทั้งหมดทุกอย่างทุกประเภท
เกิดจาก ผัสสะ หรือเกิดขึ้นที่ผสสะ คือ
ั
อาศัยการรับรู้ โดยผ่านอายตนะ (แดนรับรู้)
ทั้ง ๖ คือ จักขุ ตา โสตะ หู ฆานะ จมูก
ชิวหา ลิ้น กาย มโน ใจ


๓. ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้
ความรู้ที่ควรทราบ
ก.

๒ อย่าง คือ

สัจจะ ๒ ระดับ
๑) สมมติสจจะ ความจริงโดยสมมติ
ั
(เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โวหารสัจจะ ความ
จริงโดยโวหารหรือโดยสำานวนพูด) คือจริง
ตามมติร่วมกัน ตามที่ได้ตกลงกันไว้ หรือ
หมายรู้ร่วมกัน ใช้เป็นเครื่องมือสือสาร ให้
่
สำาเร็จประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน เช่น คน
สัตว์ สถานที่ิี เมือง โต๊ะ เก้าอี้ สมุด ดินสอ
เป็นต้น
๒.

ปรมัตถสัจจะ ความจริงโดยปรมัตถ์ คือ
จริงตามความหมายสูงสุด ตามความหมาย
แท้ขั้นสุดท้ายที่ตรงตามสภาวะและเท่าที่พอ
จะกล่าวถึงได้ คือรู้จักสิ่งนั้นตามที่มันเป็น
เช่น
นำ้าแท้ๆ คือ Hydrogen Oxide (G2O)
เกลือสามัญทั่วไป Sodium Chloride
(NaCI)
ตัวอย่างสมมติสจจะและปรมัตถสัจจะ ที่
ั
ปรากฏในพระสูตร
คำาพูดของวชิราภิกษุณีว่า
“นี่แนะมาร

ท่านจะมีความเห็นยึดถือว่าเป็น
สัตว์ได้อย่างไร ในสภาวะที่เป็นเพียงกอง
แห่งสังขารล้วนๆ นี้ จะหาตัวสัตว์ไม่ได้เลย
เปรียบเหมือนว่า เพราะคุมส่วนประกอบเข้า
ด้วยกัน ศัพท์ว่า รถ ย่อมมี ฉันใด เมื่อขันธ์
ทั้งหลายมีอยู่ สมมติว่าสัตว์ ก็ย่อมมี ฉันนั้น”

ที่มา

สำ.ส.(ไทย) ๑๕/
ข.วิปลาส

หรือ วิปัลลาส ๓
วิปลาส คือ ความรู้คลาดเคลื่อน ความรู้ที่
ผันแปรผิดพลาดจากความเป็นจริง หมาย
ถึง ความรู้คลาดเคลื่อนขั้นพื้นฐาน ที่นำาไป
สู่ความเข้าใจผิด หลงผิด มี ๓ อย่างคือ
๑) สัญญาวิปลาส
๒) จิตตวิปลาส
๓) ทิฏฐิวิปลาส
๑) สัญญาวิปลาส
สัญญาวิปลาส

ความรู้คลาดเคลื่อน เช่น
คนตกใจเห็นเชือกเป็นงู กาและกวางป่า
มองเห็นหุ่นฟางสวมเสือกางเกงมีหม้อครอบ
้
เป็นคนเฝ้านา คนหลงทางเห็นทิศใต้เป็นทิศ
เหนือ เห็นทิศเหนือเป็นทิศใต้ คนเห็นแสง
ไฟโฆษณากระพริบอยู่กับที่เป็นไฟวิ่ง
เป็นต้น
๒) จิตตวิปลาส
จิตตวิปลาส

คือ ความคิดคลาดเคลื่อน เช่น
คนบ้าคิดเอาหญ้าเป็นอาหารของตน คนจิต
ฟั่นเฟือนมองเห็นคนเข้ามาหาคิดว่าเขาจะ
ทำาร้าย คนเห็นเงาเคลื่อนไหวในที่มืดสลัว
คิดวาดภาพเป็นผีหลอก กระต่ายตื่นตูม
ได้ยินเสียงลูกมะพร้าวหล่นคิดวาดภาพเป็น
ว่าโลกกำาลังจะแตก เป็นต้น
๓) ทิฏฐิวิปลาส
ความเห็นคลาดเคลื่อน

สืบเนื่องมาจาก
สัญญาวิปลาสและจิตตวิปลาส เพราะเมื่อ
หมายรู้ผด ก็เห็นผิดไปด้วย
ิ
ตัวอย่างวิปลาสทางธรรม
ในทางพระพุทธศาสนาแยกประเภทของ

วิปลาสออกเป็น ๔ อย่าง ดังพระพุทธพจน์
ว่า
“ภิกษุทั้งหลาย สัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส
ทิฏฐิวิปลาส มี ๔ อย่าง สี่อย่างอะไรบ้าง
(คือ)
๑. สัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส ทิฏฐิวิปลาส
ในส่ิิงไม่เที่ยง ว่าเที่ยง
๒. สัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส ทิฏฐิวิปลาส
ในส่ิิงที่เป็นทุกข์ ว่าเป็นสุข
๓.

สัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส ทิฏฐิวิปลาส
ในส่ิิงมิใช่ตัวตน ว่าเป็นตัวตน
๔. สัญญาวิปลาส จิตตวิปลาส ทิฏฐิวิปลาส
ในส่ิิงที่ไม่งาม ว่างาม”

ที่มา

องฺ.จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/
จิต _ เจตสิก
๑.

โครงสร้างของจิต _กระแสการทำางาน
ของจิต _เจตสิก
๒. ขั้นตอนการทำางานของจิตแต่ละขณะ
๓. การจำาแนกประเภทของจิต

โครงสร้างของจิต
จิต

เป็นธรรมชาติที่รู้อารมณ์ (อารมฺมณำ วิ
ชานนลกฺขณำ) คือได้รับอารมณ์อยู่เสมอนั้น
เอง ดังบาลีว่า
_ อารมฺมณำ จินฺเตตีติ จิตฺตำ
ธรรมชาติใดย่อมรู้อารมณ์ คือได้รับ
อารมณ์อยู่เสมอ ฉะนั้น ธรรมชาติ นั้น ชื่อ
ว่า จิต
จินฺเตนฺติ สมฺปยุตฺตธมฺมา เอเตนาติ จิตฺตำ
สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย คือ เจตสิกทั้ง
หลายย่อมรู้อารมณ์โดยอาศัยธรรมชาตินั้น
ฉะนั้น ธรรมชาติเป็นเหตุแห่งการรู้อารมณ์
ของเจตสิกเหล่านั้น จึงชือว่า จิต
่
_
จินฺตนมตฺตำ จิตฺตำ
ธรรมชาติที่รู้อารมณ์ ได้รับอารมณ์นั้น
แหละ ชื่อวา จิต
_ จิตฺตี กโรตีติ จิตฺตำ
ธรรมชาติใดทำาความเป็นอยู่ของสัตว์ทั้ง
หลายให้วิจิตร ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
จิต
_
สรุปความว่า

ธรรมชาติของจิตนั้น มีอยู่ ๓

ประการ คือ
๑. มีการรับอารมณ์อยู่เสมอ
๒. เป็นเหตุให้เจตสิกทั้งหลายรู้อารมณ์ได้
คล้ายๆ กับผู้นำา
๓. ทำาให้สิ่งมีชวิต และไม่มีชีวิตวิจิตร
ี
พิสดาร
ขั้นตอนการทำางานของจิตแต่ละขณะ
ขั้นตอนการทำางานของจิต
๑.

ปฏิสนธิกิจ
๒. ภวังคกิจ
๓. อาวัชชนกิจ
๔. ทัสสนกิจ
๕. สวนกิจ
๖. ฆายตนกิจ
๗. สายตนกิจ

มี ๑๔ ขณะ คือ
๘.

ผุสสนกิจ
๙. สัมปฏิจฉนกิจ
๑๐. สันตีรณกิจ
๑๑. โวฏฐัพพนกิจ
๑๒. ชวนกิจ
๑๓. ตทาลัมพนกิจ
๑๔. จุติกิจ
เจตสิก
เจตสิก

เป็นธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด (จิตฺ
ตนิสฺสิตลกฺขณำ) เจตสิกที่อาศัยจิตเกิดขึ้นนี้
ต่างกันกับต้นไม้ที่อาศัยพื้นแผ่นดินเกิดขึ้น
เพราะว่าพื้นแผ่นดินกับต้นไม้นั้นพื้นแผ่น
ดินเป็นฐานอาธาระ
ส่วนต้นไม้เป็นฐาน
อาเธยยะ สำาหรับจิตและเจตสิกนั้น จิตเป็น
นิสสยะ เจตสิกเป็นนิสสิตะ เหมือนกันกับ
อาจารย์และลูกศิษย์ ทั้งนี้ก็เพราะว่า เจตสิก
ทั้งหลายจะรู้อารมณ์ได้ก็เพราะอาศัยจิต
เป็นหัวหน้า
ยกเว้นจิตเสียแล้ว

เจตสิกก็รู้อารมณ์ไม่ได้
จำาเป็นที่จะต้องอาศัยจิตเกิดเสมอไป ฉะนั้น
จึงกล่าวได้ว่า ธรรมชาติของเจตสิกนั้นย่อม
เกิดในจิต หรือย่อมประกอบในจิตเป็นนิตย์
_ เจตสิ ภวำ เจตสิกำ
ธรรมชาติที่เกิดในจิต ชื่อว่า เจตสิก (วา
หรือ)
_ เจตสิก นิยุตฺตำ เจตสิกำ
ธรรมชาติที่ประกอบในจิตเป็นนิตย์ ชือว่า
่
เจตสิก
อุปมาการทำางานของจิต เจตสิก
ความเป็นไปของ

จิต เจตสิก และอารมณ์
เปรียบเหมือนกับช่างวาดเขียน
ที่กำาลัง
เขียนรูปภาพต่างๆ ลงบนผืนผ้า เมื่อยกจิต
เจตสิก และอารมณ์ ทั้ง ๓ อย่างขึ้นมา
เปรียบเทียบกันแล้ว
จิตเหมือนกับนำาิ้ที่ถูกผสมกับสีต่างๆ
เจตสิกเหมือนสีต่างๆ
อารมณ์เหมือนส่ิิงมีชวิตและไม่มีชีวิต
ี
พู่กัน

เหมือนกับทวารทั้ง ๖ มี ตา หู จมูก
เป็นต้น
ช่างเขียน เหมือนกับสัตว์ทั้งหลาย
อริยสัจ ๔ จุดเริ่ม และหัวใจจิตวิทยาพุทธ
ศาสนา
๑. ความจริงเกี่ยวกับทุกข์

ชนิดและระดับของทุกข์
๒. เหตุแห่งทุกข์

แนวโน้มพื้นฐานแห่งชีวิต รูปแบบ
แห่งปฏิจจสมุปบาท
๓. ความสิ้นทุกข์

ความจริงเกี่ยวกับความสุข ลักษณะ
และความสำาคัญของโสมนัส ปีติ สุข มุทิตา
และทุกข์ ตามหลักอภิธรรม
๔.

ทางพ้นทุกข์

อริยมรรคมีองค์ ๘ ความสัมพันธ์
ระหว่างอริยสัจ ๔ อริยมรรคมีองค์ ๘ และ
ปฏิจจสมุปบาท ๑๒
๕. ข้อสังเกตทางจิตวิทยา

More Related Content

What's hot

ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 

Similar to จิตวิทยาในพระไตรปิฎก

Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
9789740335863
97897403358639789740335863
9789740335863CUPress
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 

Similar to จิตวิทยาในพระไตรปิฎก (20)

ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
9789740335863
97897403358639789740335863
9789740335863
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
10
1010
10
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

จิตวิทยาในพระไตรปิฎก