SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
1
เอกสารประกอบการสอนเข้ม
“เตรียมความพร้อมสู่สนามสอบ Admission ปี 2559”
O-NET วิทยาศาสตร์
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (วท.บ. , มหาวิทยาลัยมหิดล)
ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร
“ความภาคภูมิใจของครู คือ วันที่ได้เห็นความสาเร็จของศิษย์”
2
O-NET วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
1.1 องค์ประกอบของเซลล์
1.2 การลาเลียงผ่านเซลล์แบบต่าง ๆ
1.3 กลไกการรักษาดุลยภาพ - น้าในพืช น้าและสารต่าง ๆ ในร่างกาย กรด-เบสในร่างกาย ฯลฯ
1.4 ลักษณะทางพันธุกรรมและกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม
1.5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
1.6 เทคโนโลยีชีวภาพ
2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
2.1 ระบบนิเวศ
2.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
2.3 ความหลากหลายทางชีวภาพ
2.4 คนกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. สารและสมบัติของสาร
3.1 สารชีวโมเลกุล / ไขมันและน้ามัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรด
3.2 ปิโตรเลียม / การกาเนิดและแหล่ง การกลั่นและผลิตภัณฑ์แก๊สธรรมชาติ สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน
3.3 พอลิเมอร์ / พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สัง เคราะห์ พลาสติก ยางสังเคราะห์
เส้นใยสังเคราะห์
3.4 ปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.5 โครงสร้างของอะตอมและตารางธาตุ
3.6 ธาตุและสารประกอบ / พันธะเคมี สมบัติของธาตุตามหมู่ธาตุ
4. แรงและการเคลื่อนที่
4.1 การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง / ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดและเวลา อัตราเร็ว ความเร็ว
ความเร่ง
4.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่แบบวงกลมและแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
4.3 แรงและสนามของแรง / สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า สนามโน้มถ่วง
4.4 การเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคในสนามต่าง ๆ
3
5. พลังงาน
5.1 คลื่น / คลื่นกล องค์ประกอบและสมบัติของคลื่น
5.2 เสียงและการได้ยิน
5.3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5.4 กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
6.1 โครงสร้างของโลก
6.2 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา / การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แหล่งภูเขาไฟ
6.3 แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่
6.4 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาค / รอยต่อ รอยแยกแผ่นธรณีภาค อายุหิน ซากดึกดาบรรพ์
6.5 อายุทางธรณีวิทยา การลาดับชั้นหิน
7. ดาราศาสตร์และอวกาศ
7.1 กาเนิดเอกภพ
7.2 กาแลกซี / กาแลกซีทางช้างเผือก กาแลกซีเพื่อนบ้าน
7.3 ดาวฤกษ์/ วิวัฒนาการ ความสว่าง สี และอุณหภูมิ ระยะห่าง
7.4 กาเนิดระบบสุริยะ
7.5 เทคโนโลยีอวกาศ / ดาวเทียมและยานอวกาศ แระโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ
4
สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง
สารและสมบัติของสาร
(เคมี)
5
วิทยาศาสตร์ O-NET ม.6
สารและสมบัติของสาร (เคมี)
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
สัญลักษณ์ของธาตุ
A
XZ
@ n = บน – ล่าง
@ ถ้าธาตุเป็น (-) = e > p [ได้รับ e : อโลหะ] ถ้าธาตุเป็น (+) = e < p[เสีย e : โลหะ] โดย p คงที่เสมอ เพราะ
กาหนดชนิดของธาตุ (e เท่านั้นที่เปลี่ยนแปลง)
ไอโซโทป = p เท่า (ธาตุเดียวกัน) n ต่าง (มวลต่าง)
ไอโซโทน = p ต่าง (ธาตุต่างกัน) n เท่า (มวลต่าง)
ไอโซบาร์ = p ต่าง (ธาตุต่างกัน) n ต่าง (มวลเท่า) เช่น
ธาตุ N p e isotope isotone isobar
11
A3
25
A3
25
B5
35
C13
25
A3
3-
35
C13
5+
การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม = ระดับพลังงาน (e = 2n
) 1, 2 ,3, 4 = 2 ,8 ,18 ,32
กฎออกเตท คือ e วงนอกสุด (เวเลนซ์) ไม่เกิน 8
ระดับพลังงาน คือ เลขคาบ (แนวนอน)
เวเลนซ์อิเล็กตรอน คือ เลขหมู่ (แนวตั้ง)
e (-) เล็กสุด มวลน้อยมาก นอกนิวเคลียส
p (+) และ n (0) มวลเท่า (มวลอะตอม) ในนิวเคลียส
มวลอะตอม = p+n
สัญลักษณ์ธาตุ เช่น Na คือ โซเดียม
p (โดยปกติเป็นกลางทางไฟฟ้ า p = e)
n = 4 (32e)
n = 3 (18e)
n = 2 (8e)
n = 1 (2e)
6
ตารางธาตุ
เช่น
ธาตุ คาบที่ หมู่ที่ ธาตุ การจัดเรียง e
24
A12
12
B6
31
C15
80
D35
23
E11
20
F10
หมู่ 1 = แอลคาไลน์ (โลหะไวสุด ,+1)
หมู่ 2 = แอลคาไลน์เอิร์ท (โลหะพบมากสุด ,+2)
หมู่ 6
(-2)
หมู่ 7 = แฮโลเจน (อโลหะไวสุด,-1)
หมู่ 8 = แก๊สเฉื่อย (อโลหะเสถียร ,0)
โลหะทรานซิชั่น (+ ไม่แน่นอน สารเชิงซ้อน ,สีเฉพาะตัว)
หมู่ 5
(-3)
หมู่ 4
(- +4)
หมู่ 3
(+3)
บันไดธาตุ (กึ่งโลหะ)
โลหะทรานซิชั่น (แลนทาไนด์)
โลหะทรานซิชั่น (แอกทิไนด์)
7
ธาตุและสารประกอบ
โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
- แข็ง ณ อุณหภูมิห้อง (เว้นปรอท)
- มันวาว
- นาไฟฟ้า (ลดเมื่อร้อน)/ความร้อนดี
- เคาะกังวาน
- แข็งเหนียว (แผ่น/เส้นได้)
- จุดหลอมเหลว (แข็งเหลว)
/เดือด (เหลวไอ) สูง
- หนาแน่น/ถ่วงจาเพาะสูง
- ให้อิเล็กตรอน (+)
- หมู่ 1 2 3 4 และทรานซิชั่น
- ทุกสถานะ ณ อุณหภูมิห้อง
- ไม่มี
- ไม่ดี เว้น แกรไฟต์(ไฟฟ้า)
- ไม่มี
- แข็งเปราะ
- ส่วนมากต่า
- ส่วนมากต่า
- รับอิเล็กตรอน (-)
- หมู่ 4 5 6 7 (8 ด้วย = Kr Xe Rn )
- ธาตุระหว่างบันไดธาตุ
- อะลูมิเนียม
- บอกไซด์ = วัตถุดิบ ,
ฟลอยด์ ,อิเล็กทรอนิกส์
- คอรันดัม = สีอัญมณี
- ซัลเฟต = สารส้ม
- ซิลิกอน = ออกไซด์ สีเทาเงิน
ทาแก้ว (ทราย) อิเล็กทรอนิกส์
(สารกึ่งตัวนา)
พันธะเคมี
ไอออนนิก โควาเลนซ์
- โลหะ (+:ให้) กับ อโลหะ (-:รับ)
- แข็ง ผลึกเรขาคณิต เปราะ
- จุดหลอมเหลว/เดือดสูง
- ไม่นาไฟฟ้า (เว้นหลอมเหลว/ละลาย : ไอออนเคลื่อนที่ได้)
- อโลหะ กับ อโลหะ (แชร์:ใช้ร่วมกัน)
- แข็ง เหลว แก๊ส
- จุดหลอมเหลว/เดือดต่า
- ไม่นาทุกกรณี
สมบัติโลหะหมู่ 1และ 2
โลหะหมู่ 1 โลหะหมู่ 2
- ปฏิกิริยารุนแรงกับน้า/อากาศ  ไฮโดรเจน + ความร้อน
(ลุกไหม้รวดเร็ว)
- ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน  เบส (เปลี่ยนลิตมัสแดงน้า
เงินหรือฟีนอฟทาลีนชมพู)
- น้อยกว่า
- เหมือนกัน
ธาตุกัมมันตรังสี – ไม่เสถียร(p ตั้งแต่ 84 และ n>>>>p) จึงแผ่รังสี (แอลฟา เบต้า แกมมา) เปลี่ยน p n และ
พลังงานจนเสถียร
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น (รวมนิวเคลียสเล็ก  ใหญ่ เช่น 4H  He ที่ ดวงอาทิตย์)
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิกชั่น(  เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช่ยูเรเนียมเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ โดย n)
8
ครึ่งชีวิต คือ ระยะเวลาที่ธาตุสลายตัวไปจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง เช่น
I-131 มีครึ่งชีวิต 8 วัน ถ้าเริ่มต้น 1 กรัม อีก 32 วันจะเหลือ....... กรัม
ปฏิกิริยาเคมี สารตั้งต้น (สลายพันธะ)  สารผลิตภัณฑ์: สารชนิดใหม่สมบัติต่างจากเดิม (สร้างพันธะ)
@@@ ไม่ใช่การเปลี่ยนสถานะ (ละลาย ระเหย ระเหิด) เช่น หินปูน + กรด  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
หรือ ด่าทับทิม + กรด  ก๊าซคลอรีน (สังเกต: ฟองก๊าซ ตะกอน อุณหภูมิเปลี่ยน สี)
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา
- คายความร้อน (พลังงานสลายพันธะ < สร้าง) เรารู้สึกร้อน เช่น กรด + ด่าง เผาไหม้หายใจ (ส่วนใหญ่)
- ดูดความร้อน (พลังงานสลายพันธะ > สร้าง) เรารู้สึกเย็น เช่น เกลือแกง + น้าแข็ง การสังเคราะห์ด้วยแสง
กราฟดูดความร้อน กราฟคายความร้อน
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารตั้งต้นที่ลด หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม
เช่น หินปูน + กรด  ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์
- อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
- อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วง 2 ถึง 3 วินาที
ปริมาณก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์
(ลูกบาศก์เซนติเมตร)
เวลา
(วินาที)
2
4
6
8
1
2
3
4
พลังงาน
เวลาที่ใช้
พลังงาน
เวลา
ปริมาณ
เวลา
เวลา
ปริมาณ
เวลา
ผลิตภัณฑ์
สารตั้งต้น เร็ว (เริ่ม)
ปานกลาง สิ้นสุด (คงที่)
9
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1) อุณหภูมิ  : 
2) ความเข้มข้นของสารตั้งต้น  : 
3) พื้นที่ผิวสัมผัส (สารตั้งต้นของแข็งเท่านั้น)  : 
4) ตัวเร่งปฏิกิริยา (ในสิ่งมีชีวิต คือ เอนไซม์)  :   ตัวหน่วงปฏิกิริยา
สม็อกและฝนกรด
- สม็อก = กดอากาศสูง แก๊ส SO3 [ NO2 O3 ] ฝุ่นละออง ไฮโดรคาร์บอนละอองเล็ก (มากจะบดบังการ
มองเห็น อุบัติเหตุ )
- ฝนกรด = กัดกร่อน pH < 7 อากาศปลอดโปร่ง แก๊ส SO3 NO2 ลอยสูงตามลม + ชื้นจากเมฆ/ฝน เกิดกรด
H2SO4 และ HNO3 (+หินปูน  CO2)
ปิโตรเลียม
- สารวจโดยนักธรณี (เทคนิคทางธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์  แผนที่)
- วัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลก (ทราบชนิด ความหนา ขอบเขต กว้างแอ่ง ลึกชั้นหิน)
- วัดความโน้มถ่วงของโลก (ชนิดชั้นหิน)
- วัดคลื่นความสั่นสะเทือน (รูปร่างโครงสร้างชั้นหินละเอียด)
- ขุดเจาะโดยวิศวกรปิโตรเลียม ได้ 2 ส่วน คือ น้ามันดิบ และ แก๊สธรรมชาติ
การกลั่นลาดับส่วน
น้ามันดิบ (ร้อนสูง 350-400 C)  หอกลั่น
ระคายเคืองดวงตา/ทางเดินหายใจ มากอันตราย
แก๊ส
ซิน
ก๊าด
เซล
ลื่น
เตา
ไข
ตอย (บิทูเมน)
จุดเดือดต่า
จุดเดือดสูง
ออกก่อน
ออกหลัง
10
การกาหนดคุณภาพเชื้อเพลิง
- น้ามันเบนซิน : เลขออกเทน = นอร์มัลเฮปเทน (7C สายตรง) x% โดยมวล + ไอโซออกเทน (8C สายกิ่ง)
y% โดยมวล = 100%
@ y คือ เลขออกเทน (มาก = ดีเดินเรียบไม่กระตุก) เช่น น้ามันเบนซินปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ
ออกเทน 91 หมายถึง ............................................................................................................................
ออกเทน 95 หมายถึง ............................................................................................................................
เบนซินจากโรงกลั่นมีเลขออกเทน < 50 การเพิ่มเลขออกเทน อดีตเติมสารตะกั่ว = TML ,TEL (เผาไหม้ได้
สารประกอบออกไซด์/คาร์บอเนต  พิษต่อตับ) ปัจจุบัน MTBE = น้ามันไร้สารตะกั่ว
แก๊สโซฮอร์ = เบนซิน + เอทานอล (9:1) ใกล้เคียงเบนซิน 95
- น้ามันดีเซล : เลขซีเทน = ซีเทน (16C โซ่ตรง) x% โดยมวล + แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (2 วง) y% โดลมวล
= 100%
@ x คือ เลขซีเทน (มาก = ดี)
แก๊สธรรมชาติ
- แก๊สธรรมชาติ (ผสมหลายชนิด) หน่วยแยกแก๊ส [หน่วยแยกปรอทหน่วยแยก CO2 หน่วย
แยกความชื้น] เพิ่มความดันลดอุณหภูมิ  กลั่นลาดับส่วน
- มีเทนมากสุด (เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ปุ๋ ยเคมี)
- โพรเพนและบิวเทน = แก๊สหุ้งต้ม (LPG)
@ การเผาไหม้เชื้อเพลิง : สารประกอบไฮโดรคาร์บอน(CH) + O2 CO2 + H2O
2 แบบ คือ สมบูรณ์ (O2 เพียงพอ ไม่มีเขม่า) ไม่สมบูรณ์ (O2 ไม่เพียงพอ มีเขม่าและCO)
สารชีวโมเลกุล
บทบาทในร่างกาย = เจริญเติบโต ถ่ายทอดพันธุกรรม ให้พลังงาน ฮอร์โมน/เอนไซม์/ภูมิ รักษาสมดุลน้า/pH
ผิวหนังชุ่มชื้น/ผิวเล็บดี
กระบวนการย่อย = คาร์โบไฮเดรต  กลูโคส /โปรตีน  กรดอะมิโน / ไขมัมและน้ามัน  กรดไขมัน
กับกลีเซอรอล
ไขมันและน้ามัน
บทบาท คือ กันกระแทก ,รักษาความร้อน/พลังงานสูงสารอง 9kcal/g ,ผิวชุ่มชื้น ,ผมเล็บดี ,ละลาย A D E K
11
ไขมัน น้ามัน
แข็งที่อุณหภูมิห้อง
กรดไขมันอิ่มตัว
สัตว์
เหม็นหืนยาก
เกิดคลอเรสเตอรอล (โรดหัวใจ)
เหลวที่อุณหภูมิห้อง
กรดไขมันไม่อิ่มตัว
พืช
เหม็นหืนง่าย (เติม E ต้าน)
ปลอดภัย (ทาเนยเทียมหรือมาการีน : hydrogenation)
องค์ประกอบ คือ กลีเซอรอล + กรดไขมัน (เอสเทอริฟิเคชั่น)
กรดไขมัน มี 2 ชนิด คือ อิ่มตัว (C-C ทั้งหมด) มากที่สุด : สเตียริก กับ ไม่อิ่มตัว (C=C บางตัว) มากที่สุด
โอเลอิก
กรดไขมันจาเป็นทั้งหมดไม่อิ่มตัว= ไลโนเลอิก ,ไลโนเลนิก และ อะราชิโดนิก
จุดหลอมเหลว  : C (อิ่มตัว) : C=C  (ไม่อิ่มตัว)
เช่น จุดหลอมเหลว C11H23COOH < หรือ > C15H31COOH
จุดหลอมเหลว C17H35COOH < หรือ > C17H29COOH
สมบัติ ได้แก่ หนาแน่น < น้า ,ไม่ละลายน้าแต่ละลายอินทรีย์/ไม่มีขั้ว ,จุดเดือด/หลอมเหลวไขมัน > น้ามัน ,
สะปอนนิฟิเคชั่น (ไขมันต้มกับเบสได้สบู่) ,กรดไขมันไม่อิ่มตัว (เติมไฮโดรเจนและฟอกสีจางไอโอดีน)
(สัตว์และพืช = waxเคลือบผิวผล/ใบ/ก้าน ,เคลือบผิวหนัง/ขน/รังผึ้ง/คาร์นูบา(ปาล์มบราซิล)/โจโจบา(เทียน
ไข,เครื่องสาอาง)/ลาโนลิน(สบู่,ครีมทาผิว)
การทดสอบ : สัมผัสกระดาษ ทึบแสง  โปร่งแสง
โปรตีน
สารอินทรีย์C H O N (ต่างกับคาร์โบไฮเดรต) พันธะเปปไทด์ (CONH) = dipeptide (2 กรดอะมิโน)
tripeptide (3 กรดอะมิโน)
โครงสร้างกรดอะมิโน
(บริสุทธิ์ : ผลึกไม่มีสี หลอมเหลวสูง ละลายน้า)
กรดอะมิโน มี 2 ชนิด คือ จาเป็น 8-10 ชนิด (สร้างเองไม่ได้= ทริป ฟี ทรี เมท เว นิล ไล ไอ [อาร์ ฮิส])
นอกนั้น ไม่จาเป็น (สร้างเองได้)
แตกต่างกัน 20 แบบ (ชนิด,สมบัติ)
เหมือนกันทุกชนิด
12
การทดสอบ ไบยูเร็ต (NaOH + CuSO4) สีฟ้า  สีม่วง (พันธะเปปไทด์ 2 )
ประเภท หน้าที่ ตัวอย่างโปรตีน
เอนไซม์
โครงสร้าง
ลาเลียงสาร
ฮอร์โมน
แอนติบอดี
ย่อยสลายคาร์โบไฮเดรต
ย่อยสลายโปรตีน
สร้างเอ็นและกระดูกอ่อน
สร้างผม ขน ผิวหนัง และเล็บ
ลาเลียงออกซิเจน
เพิ่มประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสในร่างกาย
ทาให้ร่างกายเจริญเติบโตปกติ
ภูมิคุ้มกัน
อะไมเลส ซูเครส แลกเทส มอลเทส
ทริปซิน เปปซิน เปปทิเดส
คลอลาเจน
เคอราติน
ฮีโมโกลบิน
อินซูลิน
โกรทฮอร์โมน
อิมมูโนโกลบูลิน
การแปลงสภาพ โครงสร้างหน้าที่ (+ ความร้อน กรด-เบส/pH โลหะหนัก ตัวทาละลาย  เสียสภาพ
และหน้าที่) เช่น ตกตะกอน ไม่ละลายน้า
การให้พลังงาน(ยามจาเป็นขาดแคลน/แหล่งสุดท้าย) = 4 kcal/g
คุณค่าทางชีววิทยา (ร้อยละโดยน้าหนัก) = น้าหนักของโปรตีนที่ถูกน้าไปใช้สร้างเนื้อเยื่อ x 100
ไข่ > นมวัว > เนื้อสัตว์/ปลา > ถั่วเหลือง > ข้าว > ข้าวโพด > ถั่วเมล็ดแห้ง
@ โปรตีนสมบูรณ์ = เนื้อสัตว์ไข่ นม
@ โปรตีนไม่สมบูรณ์ = ถั่วเมล็ดแห้ง (ขาดเมทไทโอนีน) ข้าว (ขาดไลซีนและทรีโอนีน)
คาร์โบไฮเดรต
สารอินทรีย์C H O โดย H : O = 2:1 (H2O) แบ่งตามสมบัติกายภาพและเคมี 2 ประเภท คือ
1. คาร์โบไฮเดรตที่เป็นน้าตาล – รสหวาน ละลายน้า
1.1 โมเลกุลเดี่ยว เล็กสุด ผลึกขาว C3-8 เน้น C6H12O6 ไม่ต้องย่อยดูดซึมได้เลย ได้แก่ กลูโคส (มาก
สุดอาหารทั่วไป เลือด) ฟรักโทส (หวานสุด อ้อย ผลไม้สุก น้าผึ้ง น้ากาม) แลกโทส (นมและผลิตภัณฑ์)
@ ปกติกลูโคสในเลือด = 100 mg/100cc ถ้า > 160 เบาหวาน(พบในปัสสาวะ)
1.2 โมเลกุลคู่ พันธะไกลโคซิดิก
@ มอลโทส = กลูโคส + กลูโคส (ข้าวมอลล์ข้าวบาร์เล่) : มอลเทส
แลกโทส = กลูโคส + กาแลกโทส (นมและผลิตภัณฑ์) : แลกเทส
ซูโครส = กลูโคส + ฟรักโทส (น้าตาลทราย) : ซูเครส
การทดสอบ เบเนดิกต์(สีฟ้า)  ต้ม  ตะกอนสีแดงอิฐ (ยกเว้น ซูโครสต้องต้มด้วยกรดอ่อนก่อน)
2. คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่น้าตาล – ไม่หวาน โมเลกุลใหญ่ซับซ้อนจึงค่อยไม่ละลายน้า กลูโคสต่อเป็นสายยาว
2.1 แป้ง อาหารสะสมในพืช(ผล หัว ราก) 2 ชนิด คือ อะไมโลส (สายตรง) อะไมโลเพกติน (สายกิ่ง)
น้าหนักของโปรตีนที่ได้รับเข้าไป
13
การทดสอบ ไอโอดีน (น้าตาล)  สีน้าเงินเข้ม
2.2 ไกลโคเจน อาหารสะสมในสัตว์(ตับและกล้ามเนื้อ) เป็นสายกิ่งคล้ายอะไมโลเพกติน แต่แตก
แขนงมากกว่า
2.3 เซลลูโลส เป็นโครงสร้างแข็งผนังเซลล์พืช โครงสร้างเป็นสายตรง เราย่อยไม่ได้(ไม่มีเซลลู
เลส) แต่เป็นกากใยช่วยขับถ่าย
หน้าที่ = ให้พลังงานหลัก (4kcal/g) ,โครงสร้าง ,เก็บสะสมรูปสารอื่น [การหมักแอลกอฮอร์]
กรดนิวคลีอิก
สารอินทรีย์C H O N [P] พบเฉพาะ
หน้าที่ = สารพันธุกรรมของเซลล์ ควบคุมถ่ายทอดสืบพันธุ์การสร้างโปรตีน การเจริญเติบโตและ
กระบวนการต่างๆ
หน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ (น้าตาล 5C + หมู่ฟอสเฟต + ไนโตรเจนเบส[รหัสพันธุกรรม]) เชื่อมต่อด้วย
พันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์
ลักษณะเปรียบเทียบ DNA (ดีออกซีไรโบนิวคลีอิกแอซิด) RNA (ไรโบนิวคลีอิกแอซิด)
ชนิดของน้าตาล
หมู่ฟอสเฟต
ชนิดของไนโตรเจนเบส
โครงสร้างโมเลกุล
หน้าที่
ดีออกซีไรโบส (ออกซิเจนหาย 1 ตัว)
มี
A = T ,CG
เกลียวคู่เวียนขวา
สารพันธุกรรมส่วนใหญ่
ต้นแบบสร้างโปรตีน
ไรโบส
มี
A = U ,CG
โซ่ยาวเส้นเดียว
สารพันธุกรมบางชนิด
หน่วยปฏิบัติสร้างโปรตีน
พอลิเมอร์
มอนอเมอร์ (มาจากปิโตรเลียม)  พอลิเมอร์สังเคราะห์ (เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ พลาสติก)
@ พอลิเมอร์ธรรมชาติ = แป้ง/เซลลูโลส/ไกลโคเจน (กลูโคส) ,โปรตีน (กรดอะมิโน) ,กรดนิวคลีอิก (นิวคลี
โอไทด์ โดยการควบแน่น และยางพารา (ไอโซพรีน)
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน(อุณหภูมิและความดันสูง)
14
มอนอเมอร์ ต้องเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (C=C) เช่น
เอทิลีน(แก๊สธรรมชาติ)  พอลิเอทีลีน (PE) : นง.ขอบเหลือง พาราฟิน ไม่ดับเอง รอยเล็บ ไม่
ละลายในสารละลายในสารละลายทั่วไป ได้แก่ ถุง ภาชนะ ฟิล์ม ของเล่น ดอกไม้
โพรพิลีน(แก๊สธรรมชาติ)  พอลิโพรพิลีน (PP) : นง.ขอบเหลือง ควันขาว พาราฟิน ไม่เป็นรอย
แตก ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ เชือก พรม บรรจุภัณฑ์ รถยนต์
สไตรีน(เอทีลีน+เบนซิน)  พอลิสไตรีน (PS) : ติดยาก เหลืองขอบเขียว ก๊าซจุดตะเกียง เปราะ
ละลายในคาร์บอนเตตระฟูออไรด์/โทลูอีน ได้แก่ โฟม อุปกรณ์ไฟฟ้า เลนส์ ของเล่น กีฬา สื่อสาร
ไวนิลคลอไรด์ (เอทีลีน+คลอรีน) พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) : ติดยาก เหลืองขอบเขียว ควันขาว
กรดเกลือ อ่อนคล้ายยาง ได้แก่ wallpaper ภาชนะ รองเท้า กระเบื้อง ท่อPVC ฉนวนหุ้มไฟฟ้า
@ เทฟลอน คือ พอลิเตตระฟลูออโรเอทีลีน เตรียมจากเอทีลีน+ฟลูออรีน (> 1500)
พลาสติก สมบัติพิเศษ = ขึ้นรูปทรง เหนียว แข็งแรง เบา ทนทาน ฉนวนไฟฟ้า
2 ชนิด คือ เทอร์มอพลาสติก = โซ่ยาวและกิ่ง ยืดหยุ่น โค้งงอได้มาก ร้อนอ่อนตัว หลอมเหลวได้เมื่อลดเย็น
จะแข็งเมือนเดิม (recycle) เช่น PE PP PS PVC
พลาสติกเทอร์มอเซต = แบบร่างแห ขึ้นรูปแล้วได้ความร้อนไม่อ่อนตัวกลับแตกหัก (ไม่สามารถ
recycleได้) เช่น พอลิยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ (ติดยาก เหลืองอ่อนขอบฟ้าแกมเขียว แอมโนเนีย ได้แก่ เต้าเสียบ
วัสดุวิศวกรรม) และอีพอกซี (ติดง่าย เหลือง ควันดา ข้าวคั่ว ไม่ละลายน้าและอินทรีย์ได้แก่ กาวสี สาร
เคลือบผิว)
ยาง 2 ประเภทใหญ่
1. ยางธรรมชาติ(พอลิไอโซพรีน) ต้นยางพารา(1500-150000 ไอโซพรีน) ขดม้วนเป็นวง บิดเป็นเกลียว
รูปร่างไม่แน่นอน แรงดึงดูดระหว่างสูง ยืดหยุ่นต้านแรงดึงสูง
ข้อดี ยืดหยุ่นสูงที่อุณหภูมิปกติ ทนขัดถู/น้า/น้ามันพืชหรือสัตว์ฉนวนที่ดีมาก
ของเสีย ไม่ทนเบนซินและตัวทาละลายอินทรีย์เมื่อร้อนเหนียวอ่อนตัว เมื่อเย็นแข็งเปราะ
2. ยางสังเคราะห์ (สารผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม) เช่น
IR (ยางไอโซพรีน) โครงสร้างเหมือนธรรมชาติ แต่เด่นที่เจือปนน้อย คุณภาพสม่าเสมอ ขาว นิยม
ทาจุกนมยาง อุปกรณ์การแพทย์
SBR (ยางสไตรีนบิวทาไดอีน) เกิดจากมอนอเมอร์สไตรีน+บิวทาไดอีน ทนขัดถูมากแต่แรงดึงต่า
เช่น พื้นรองเท้า ท่อสายยาง สายรัด สายพาน ยางปูพื้น
15
@ กระบวนการวัลคาไนเซชั่น (เกิดพันธะไดซัลไฟด์) คือ ยาง+กามะถันปริมาณเหมาะสม ณ อุณหภูมิสูงกว่า
จุดหลอมเหลวของกามะถัน  สภาพคงตัวในอุณหภูมิต่างๆ ทนร้อน แสง และตัวทาละลายมากขึ้น
เส้นใย สายยาวเรียงตัวเป็นระเบียบ ปั่นเป็นเส้นด้าย มี 3 ชนิด
1. เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ พืช (เซลลูโลส = ลินิน ปอ ฝ้าย นุ่น: ส่วนใหญ่ ดูดซึมน้า/ระบายความร้อนดี ยับ
ง่ายแห้งช้า ไม่ทนรา-ฝ้าย/หดตัวเมื่อร้อน/ชื้น-ไหม ) สัตว์(เส้นใยโปรตีน = ไหม ขนแกะ ขนแกะ) และใยหิน
2. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เป็นเส้นใยธรรมชาติ+สารเคมี เช่น เรยอน เซลลูโลสแอซีเตต (เซลลูโลส+กรดแอ
ซีติกเข้มข้นมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง ใช้ทาเส้นใยและแผ่นพลาสติก)
3. เส้นใยสังเคราะห์ จากสารเคมีสมบัติต่างธรรมชาติ (ยับยาก ไม่ดูดซึมน้า/ระบายความร้อน แห้งเร็ว ทนต่อ
สารเคมี/กรด/เบส/รา เช่น
พอลิเอสเทอร์ = หมู่คาร์บอกซิล (COOH) + หมู่ไฮดรอกซิล (OH)  COO
พอลิเอไมด์ (ไนลอน) = หมู่อะมิโน (NH2) + หมู่คาร์บอกซิล (COOH)  CONH
@ การเตรียมเรยอนในห้อง lab
กระดาษทิชชู่ + คอปเปอร์ (II) คาร์บอเนต  สารเหนียวใส สีน้าเงิน  เส้นใยยาวเหนียวใสสีน้าเงิน
(คิวพรัมโมเนียมเรยอน)  ย้อมสีปั่นเป็นเส้นยาวตามต้องการ
ซิลิโคน ไม่ไวต่อปฏิกิริยา(โดยเฉพาะร่างกายมนุษย์) สลายตัวยาก ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี ไม่ยึด
ติดกับวัตถุ ประโยชน์กว้างขวาง (มอนอเมอร์ = ซิลิคอนไดออกไซด์+ แอลคิลคลอไรด์) มี 3 โครงสร้าง
1. โซ่ยาว คล้ายน้ามันใช้ขัดเงาเฟอร์นิเจอร์ เคลือบผ้า/หนัง
2. โซ่กิ่ง คล้ายไข ใช้เป็นสารหล่อลื่นในนาฬิกา/ตลับลูกปืน
3. ร่างแห ยางเหนียว ใช้เป็นเรซินผสมสีทาบ้าน ฉนวนหุ้มสายไฟ เคลือบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อวัยวะเทียม
แม่พิมพ์หล่อพลาสติก น้ายางถอดแบบ
การแยกขยะ ออกเป็นประเภทต่างๆ สะดวกกาจัด recycle แปรรูป ซึ่งช่วยลดปริมาณได้4 แบบ คือ ทั่วไป
(รูปคนทิ้งขยะ:น้าเงิน) ย่อยสลายได้(รูปต้นไม้:เขียว) รีไซเคิล (รูปสามเหลี่ยม:เหลือง) อันตราย (หัว
กะโหลก: แดง)
ขยะรีไซเคิล หมายเลข 1 (PETE) 2 (HDPE) 3 (PVC) 4 (LDPE) 5 (PP) 6 (PS) 7 (อื่นๆ)
สารละลายแอมโมเนียเข้มข้น ใส่หลอดฉีดฉีดลงกรดซัลฟิวริกเจือจาง
16
17
18
19
20
สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง
พลังงาน
แรงและการเคลื่อนที่
(ฟิสิกส์)
21
การเคลื่อนที่
ปริมาณทางฟิสิกส์ 2 ประเภท คือ เวกเตอร์ = ขนาด+ทิศทาง (ความเร็ว/เร่ง ,น้าหนัก ,การกระจัด)
ส่วนสเกลาร์ = ขนาด (อัตราเร็ว/เร่ง ,มวล ,ระยะทาง)
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การระบุตาแหน่งวัตถุ(เทียบกับอ้างอิง) จุดเริ่มต้น/สิ้นสุด = การกระจัด (เส้นตรง) ระยะทาง (เส้นโค้ง/หยัก)
โดยปกติ ระยะทาง > การกระจัด เว้น วัตถุเคลื่อนที่ทางตรงระยะทาง = การกระจัด
การหาระยะทาง ผลรวมทั้งหมด (ไปกลับ) ,เส้นรอบรูป/วง
การหาการกระจัด + (ทิศเดียวกัน),- (ทิศตรงข้ามกัน) ,สามเหลี่ยมมุมฉาก ,เส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม [ถ้า
กลับมาที่เดิม = 0]
ความเร็ว (เมตร/วินาที) = การกระจัด (เมตร) อัตราเร็ว (เมตร/วินาที) = ระยะทาง (เมตร)
ความเร่ง (เมตร/วินาที2
) = ความเร็วปลาย– ต้น (เมตร/วินาที) @ เริ่มเคลื่อน/จากจุดหยุดนิ่งเร็วต้น = 0
@ เคลื่อนที่แนวดิ่งความเร่ง = 9.8 (10)
อัตราเร่ง (เมตร/วินาที2
) = อัตราเร็วปลาย– ต้น (เมตร/วินาที)
เช่น (1) นาย A เดินออกจากบ้านไปทางทิศเหนือ 3 เมตร จากนั้นเดินไปทางตะวันออกอีก 4 เมตรจึงถึงตลาด
ถ้านาย A ใช้เวลาเดิน 2 นาที จงหา การกระจัด ระยะทาง ความเร็วและอัตราเร็ว
(2) นาย B เริ่มออกวิ่งบนถนนตรงเมื่อเวลาผ่านไป 3 วินาทีนาย A มีความเร็วเท่ากับ 10 เมตร/วินาที ถ้าวิ่ง
ต่อไปอีก 10 วินาที นาย A จะมีความเร็วเท่าไร และถ้าวิ่งต่อด้วยความเร็วคงที่ 20 วินาทีจะได้ระยะทาง
เท่าไหร่
เวลาที่ใช้ (วินาที) เวลาที่ใช้ (วินาที)
เวลาที่ใช้ (วินาที)
เวลาที่ใช้ (วินาที)
22
@ เร็วปลาย > ต้น : เร่ง  (+) ,เร็วต้น > ปลาย : เร่ง  (-) ,เร็วปลาย = ต้น : ไม่มีเร่ง (0)
@ โยนวัตถุขึ้นแนวดิ่ง : ความเร็วลดลงคงที่เรื่อยๆ จนกระทั่งเป็น 0 (จุดสูงสุด) # ปล่อยวัตถุลงแนวดิ่ง
ความเร็วเพิ่มขึ้นคงที่เรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นมากสุด (ถึงพื้น # 0)
แถบกระดาษดึงผ่านเครื่องเคาะสัญญาณความถี่คงที่ (Hz) มี 3 แบบ
ความเร็งคงที่ ความเร่ง = 0
ความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความเร่ง > 0 (+)
ท ความเร็วลดลงเรื่อยๆ ความเร่ง < 0 (-)/ความหน่วง
เวลาที่จุดใดๆ = เลขตาแหน่งจุด x (1/ความถี่เครื่องเคาะสัญญาณ)
หาความเร็วเฉลี่ย (คิดทั้งแถบกระดาษ) /ความเร็ว ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (เฉพาะ 1 จุดในแถบกระดาษ)
กราฟการเคลื่อนที่
เช่น จงหาความเร่งช่วง 10-15 ,ช่วง 15-20 และการกระจัด
@ กรณีฉุกเฉินต้องหยุดรถกะทันหัน ระยะหยุด ประกอบด้วย ระยะคิด (ระยะทางที่รถเคลื่อนที่ได้ก่อน
เหยียบเบรก) + ระยะเบรก (ระยะที่รถเคลื่อนที่ได้หลังเหยียบเบรก) ถ้าความเร็ว : ระยะหยุด  : ระยะคิด
 : ระยะเบรก 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ วิถีโค้ง 2 มิติ คือ แนวราบ(นอน)และแนวดิ่ง(ตั้ง)พร้อมกัน ณ เวลาเดียวกัน
ความเร็วการกระจัด
เวลา เวลา
มีความเร็วไปหน้า
ไม่มีความเร็ว(หยุดนิ่ง)
มีความเร็วถอยหลัง
มีความเร่ง
การกระจัด
ไม่มีความเร่ง (เร็วคงที่)
มีความหน่วง
ความเร็ว
เวลา
10 20
10
150
23
ความเร็วแนวราบคงที่ตลอด  ความเร็วแนวดิ่งเปลี่ยนแปลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (เคลื่อนที่ขึ้นจะลด#
เคลื่อนที่ลงจะเพิ่ม)
ที่จุดสูงสุดความเร็วแนวดิ่ง = 0 แต่ความเร็วแนวราบ # 0
มุมยิงที่วัตถุจะตกได้ไกลสุด = 45 องศา
ถ้ายิงด้วยความเร็วเท่ากันและตกที่เดียวกัน มุมยิง A + B = 90 องศาเสมอ
ถ้ายิงด้วยความเร็วเท่ากัน : มุมมาก  สูงมาก  ตกใกล้
ถ้ายิงด้วยมุมเท่ากัน : เร็วมาก  สูงมาก  ตกไกล
การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ รอบจุดคงตัว (ศูนย์กลาง) และอยู่ห่างเท่าเดิมเสมอตลอดการเคลื่อนที่ (รัศมี)
เกิดปริมาณที่เกี่ยวข้อง คือ อัตราเร็วเชิงมุม อัตราเร่งเชิงมุม ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
ความถี่ = รอบ / วินาที  คาบ = วินาที/รอบ [ f = 1/T]
การเหวี่ยงจุกยาง 2 แนว คือ แนวราบ (ความเร็วคงที่) แนวดิ่ง (ความเร็วเปลี่ยนแปลงตามแรงโน้มถ่วง)
ถ้าตัดเชือกของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่แบบวงกลม วัตถุจะเคลื่อนที่ต่อในแนววิถีโค้งตามทิศความเร็ว
การโคจรตามวงโคจร เช่น ดาวเทียม ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ = แรงดึงดูดระหว่างมวล (แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง)
การเลี้ยวโค้งของรถยนต์/จักรยานบนถนนโค้งปลอดภัยไม่ไถลออก คือ ดอกยาง (เพิ่มแรงเสียดทาน) + การ
เอียงพื้นถนนเข้าใน (เพิ่มแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง)
24
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (ซ้าแนวเดิมกลับไปมาโดยมีความเร็ว คาบ ความถี่และระยะคงที่
ตลอด) มี 2 รูปแบบ คือ
1. มวล-สปริง ถ้า มวล : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ
ถ้าค่านิจสปริง  (อ่อนยืดหยุ่นดี) : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ
2. เพนดูลัม (ลูกตุ้ม) ถ้า ความยาวเชือก : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ
ความเร่งโน้มถ่วง : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ
สนามของแรง
หลายชนิด เช่น ไฟฟ้า แม่เหล็ก โน้มถ่วง เป็นต้น การสารวจ
- มักใช้วิธีการวางวัตถุทดสอบแล้วตรวจสอบว่ามีแรงกระทา (มีสนามของแรง) หรือไม่ เช่น สารแม่เหล็กกับ
สนามแม่เหล็กประจุไฟฟ้ากับสนามไฟฟ้า มวลกับสนามโน้มถ่วง
สนามแม่เหล็ก อยู่รอบแท่งแม่เหล็ก เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหล หรือผิวโลก เพราะมีแรงกระทาต่อสาร
แม่เหล็ก/แท่งแม่เหล็ก (วัตถุทดสอบ) @ เข็มทิศวางตัวตรงข้าม
@ ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก = ใกล้-มาก เข้มสูง ,ไกล-น้อย เข้นต่า (ไม่สม่าเสมอ)
@ แท่งแม่เหล็ก 2 แท่งวางขนานแนวเดียวกัน = สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ(ทุกจุเข้มเท่ากัน)
25
แรงแม่เหล็กต่อประจุไฟฟ้า ได้แก่ อิเล็กตรอน (-) ทาให้หลุดอิสระได้[ส่วนใหญ่] เช่น ปืนอิเล็กตรอน
ของหลอดภาพ TV/com ที่ยิงออกมากวาดบนจอ และ โปรตอน (+) เป็นตัวกาหนดทิศกระแสไฟฟ้าทาให้
หลุดอิสระไม่ได้เคลื่อนที่ตรงข้ามอิเล็กตรอน ประจุที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก (ทิศตั้งฉากกัน) ย่อมเกิดแรง
แม่เหล็กกระทา
แรงแม่เหล็กต่อกระแสไฟฟ้า ลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรง
สนามแม่เหล็กกระทา
@ ทิศทางของแรงแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงตามทิศทางกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก  การหมุน
ตัวอย่าง คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ (ขดลวดวางระหว่างแท่งแม่เหล็กขั้วเหนือ-ใต้) = พัดลม เครื่องสูบน้า
สว่าน [พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล]  เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือเจเนอเรเตอร์/ไดนาโม [พลังงานกล 
พลังงานกลไฟฟ้า]
สนามไฟฟ้ า คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟ้ามากระทากับประจุทดสอบ
NS
สนามแม่เหล็ก
แรงแม่เหล็ก
แรงแม่เหล็ก
กระแสไฟฟ้ า
แรงแม่เหล็ก
กระแสไฟฟ้ าสนามแม่เหล็ก
S
N
+
+
+
-
-
-+
-
แรงแม่เหล็ก
การเคลื่อนที่ประจุ
หางลูกศร
หัวลูกศร
สนามแม่เหล็ก
หางลูกศร (X) สนามแม่เหล็กพุ่งเข้า)
หัวลูกศร () สนามแม่เหล็กพุ่งออก)
โปรตอน (+) ใช้มือขวา
อิเล็กตรอน (-) ใช้มือซ้าย
นิวตรอน (0) ไม่เปลี่ยนทิศทาง
26
การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า
ตัวอย่าง เช่น เครื่องดักฝุ่นขนาดเล็กมารับอิเล็กตรอน (-) จากแผ่นขั้วลบ แล้วจะถูกดูดเข้าไปเกาะที่แผ่น
ขั้วบวก ,จอแสดงผล(เรดาร์ หลอดรังสีแคโทด เครื่องอัลตราซาวด์) มีปืนอิเล็กตรอนตรงไปบนจอให้สว่าง
ต้องใช้สนามไฟฟ้า 2 ชุด เพื่อเบนทางเดินอิเล็กตรอน (แนวดิ่งและแนวราบ) ตกกระทบจอที่ตาแหน่งต่างๆ
สนามโน้มถ่วง วัตถุหรือมวลทุกชนิดบนโลกถูกแรงดึงดูดทิศพุ่งเข้าหาศูนย์กลาง เกิดการตกอิสระหรือตก
แบบเสรีกลับสู่พื้นโลกเสมอ ด้วยความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2
(ยิ่งสูงยิ่งลดลง) ดวงดาวอื่นก็มีเป็นของตัวเอง
(ยิ่งมวลมากยิ่งเพิ่มขึ้น) @ ดวงจันทร์มีน้อยกว่าโลก 6 เท่า
น้าหนัก คือ ขนาดของแรงโน้มถ่วงโลกที่กระทาต่อมวล = มวล x ค่าสนามโน้มถ่วง (W = mg)
ประโยชน์ การสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานน้า (เขื่อน)
@ สภาวะสุญญากาศ ที่ระดับความสูงเดียวกันวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาเดียวกัน (ไม่เกี่ยวกับรูปร่าง ,มวล)
ตามหลักกาลิเลโอ
คลื่น มี 2 ประเภท คือ คลื่นกล และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. คลื่นกล ต้องอาศัยตัวกลาง (สั่น) ในการเคลื่อนที่ 2 ลักษณะ คือ คลื่นตามยาว (สปริง ,เสียง) คลื่นตามขวาง
(เส้นเชือก ,ผิวน้า)
ความเร็วหลุดพ้น 11.2 กิโลเมตร/วินาที
- - - -
@ การสั่นของตัวกลางจะเกิดอยู่กับที่ไม่ได้เคลื่อนที่ตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น (ถ่ายทอดแต่พลังงานไป)
27
ความถี่คลื่น = รอบต่อวินาที (Hz)  คาบของคลื่น = วินาทีต่อรอบ (วินาที)
ความเร็วคลื่น (เมตร/วินาที) = ความยาวคลื่น (เมตร) = ความยาวคลื่น (เมตร) x ความถี่คลื่น (Hz)
ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ (เมตร) = ความเร็วคลื่นคงที่ (เมตร/วินาที) x เวลาใช้ในการเคลื่อนที่ (วินาที)
เช่น
คลื่นเสียง เป็นคลื่นกลตามยาว (ส่วนตัวกลางอากาศ : อัดดันสูง-ขยายดันต่า) สุญญากาศจึงไม่ได้ยินเสียง
เสียงที่มนุษย์ได้ยิน ความถี่ = 20 – 20000 Hz ,ความดัง = 0 – 120 dB (ระดับปลอดภัย = 75-85 dB)
สภาพความยืดหยุ่นของวัตถุต่าง  การถ่ายทอดพลังงาน/เคลื่อนที่ของเสียง (แข็ง>เหลว>ก๊าซ)
อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิต่างๆ = 331 + 0.6 t (อุณหภูมิองศาเซลเซียส)
เช่น จงหาระยะทางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ในเวลา 15 วินาที ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
การสะท้อนของคลื่นเสียง เมื่อตกกระทบพื้นผิวของตัวกลางที่แตกต่างกันจากที่เดินทางอยู่= เสียงก้อง (เอค
โค่) ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 0.1 วินาทีและระยะห่างอย่างน้อย 17 เมตร จึงจะเกิดได้
ระบบโซนาร์ ใช้อัตราโซนิกหาระยะไกลหรือตาแหน่งวัตถุ (ประมง ธรณี วิศวกรรมและอุตสาหกรรม
ทหาร) ระยะไกล = (เวลา/2 ) x ความเร็วคลื่นในตัวกลางนั้น
เช่น พบฝูงปลาโดยใช้ระบบโซนาร์ ระยะเวลาที่ปล่อยโซนาร์และตรวจจับได้ คือ 6 วินาที จงหาระยะไกล
ของฝูงปลา ถ้าความเร็วโซนาร์เท่ากับ 1540 เมตร/วินาที
การหักเหของคลื่นเสียง เกิดเมื่อความหนาแน่นตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่แตกต่างกัน
@ หนาแน่นมาก (น้าลึก กดอากาศสูง อุณหภูมิต่า) = ความเร็ว  ความยาวคลื่น มุม 
@ หนาแน่นน้อย (น้าตื้น กดอากาศต่า อุณหภูมิสูง) = ความเร็ว  ความยาวคลื่น มุม  ความถี่เท่าเดิม
เสียงสูง (ความถี่สูง เสียงแหลม)  เสียงต่า (ความถี่ต่า เสียงทุ้ม)
คาบของคลื่น (วินาที)
5 10 15 20
เมตร
จากภาพถ้าใช้เวลา 5 วินาที จงหาความเร็ว
ของคลื่น และถ้าคลื่นนี้ใช้เวลาเคลื่อนที่ 20
วินาที จะได้ระยะทางเท่าใด
28
เสียงดัง (แอมพลิจูดสูง)  เสียงเบา (แอมพลิจูดต่า)
คุณภาพของเสียง ใช้แยก/ระบุแหล่งกาเนิดเสียงที่ต่างกัน (ไม่ใช่เสียงด/ไม่ดี)
หูกับการได้ยิน ชั้นนอก (ใบหู รูหู เยื่อแก้วหู)  ชั้นกลาง (กระดูกค้อน/ทั่ง/โกลน ยูสเตเชียนทิวป์ ) 
ชั้นใน (คลอเคลีย ท่อครึ่งวงกลม)  สมอง (แปล ประมวล ตอบสนอง)
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง/กลับไป-กลับมา
 ปลดปล่อยพลังงานรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วย
สนามแม่เหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าซึ่งจัดเป็นคลื่นตามขวาง
ความสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า  การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก (แมกเวลล์)
@ ความถี่และพลังงานน้อยมาก (ความยาวคลื่นมาก น้อย)
ไมโครเวฟ  วิทยุ  อินฟาเรด (ความร้อน)  แสงมองเห็น (ขาว)  UV (อัตราไวโอเรต) เอ็กซ์
(X-ray) แกมม่า  คอสมิก
ความถี่ ชนิด สมบัติ
106
108
1012
1013
1014
1015
1018
1020
วิทยุ AM
วิทยุ FM
TV ,ไมโครเวฟ
อินฟาเรด
แสงขาว
อัลตราไวโอเรต
รังสีเอ็กซ์
รังสีแกมม่า
สะท้อน (ชั้นไอโอโนสเฟียร์)ส่ง
ส่งโดยตรง
เตาไมโครเวฟ สื่อสาร (มือถือ)
ความร้อน สื่อสารระยะไกล
การมองเห็น สังเคราะห์แสง
มะเร็งผิวหนัง
ถ่ายภาพ x-ray
ทาลายเซลล์มะเร็งและเนื้อเยื่อ
แสงขาว เมื่อผ่านปริซึม : ม่วง  คราม  น้าเงิน  เขียว  เหลือง  แสด  แดง (พลังงาน/
ความถี่ มาก  น้อย  ความยาวคลื่น น้อย มาก : 400-700 นาโนเมตร)
29
คลื่นวิทยุความยาวคลื่น 10-4
-108
เมตร เกิดจาก คลื่นเสียง  สัญญาณไฟฟ้า + คลื่นวิทยุ(พาหะ)  ขยาย
กาลังสูงขึ้น  สายอากาศ  เครื่องรับ (รับ  แยก  เสียง) แบ่ง 2 ประเภท
- AM แอมพลิจูดเปลี่ยนแต่ความถี่คงที่ กระจายด้วยความถี่ 530 – 1600 kHz ระยะใกล้สะท้อนชั้น
บรรยากาศได้(ไอโอโนสเฟียร์)
- FM แอมพลิจูดคงที่แต่ความถี่เปลี่ยนแปลง กระจายด้วยความถี่ 88-108 MHz ระยะไกล ทะลุชั้นบรรยากาศ
ได้(อวกาศ) รับส่งโดยตรงความคมชัดดีกว่า
การใช้งานคลื่นวิทยุและไมโครเวฟ(ระบบเรดาร์) (ความถี่ต่า  สูง)
สื่อสารทางทะเลส่งคลื่นวิทยุAM ส่งคลื่นสั้นระหว่างประเทศ  ส่งคลื่นวิทยุ FM  ส่งคลื่น
โทรทัศน์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ สื่อสารผ่านดามเทียม
การคานวณ ความเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (3x108
เสมอ) = ความถี่คลื่น(ระวังหน่วย) X ความยาวคลื่น
@ หน่วย k (กิโล) = 103
M (เมกะ) = 106
G (จิกะ) = 109
เช่น สถานีวิทยุกรีนเวฟส่งกระจายคลื่นด้วยความถี่ 106.5 MHz จงหาความยาวคลื่นกรีนเวฟ
อะตอม นิวเคลียสและกัมมันตภาพรังสี
อะตอม ส่วนประกอบของสาร รัศมี 10-25
เมตร มวล 10-10
กิโลกรัม ประกอบด้วย
1. แบบจาลองอะตอมดอลตัน ”อะตอมมีลักษณะทรงกลม และเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งแบ่งแยก
ไม่ได้และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทาให้สูญหายไปได้”
2. แบบจาลองอะตอมของทอมสัน “อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลุม มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน
อนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน และจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปใน
ทรงกลม”
3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด “อะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยู่ตรงกลาง มี
ขนาดเล็ก และมีมวลมาก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวลน้อยวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส”
4. แบบจาลองอะตอมของโบร์ “การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเป็นวงคล้ายกับวงโคจรของ
ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว และเรียกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่
30
อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ซึ่งมีระดับพลังงานต่าที่สุด เรียกว่า ระดับพลังงาน K และเรียกระดับพลังงานถัด
ออกมาว่า ระดับพลังงาน L, M, N, …. ตามลาดับ
แบบจาลองอะตอมปัจจุบัน = กลุ่มหมอก
นิวเคลียส วิลเฮล์ม เรินต์เกน ขณะทดลองเกี่ยวกับรังสีแคโทดได้ค้นพบรังสีเอกซ์โดยบังเอิญ อานาจทะลุสูง
ประสิทธิภาพดีในการเคลื่อนที่ผ่านวัตถุ
1. กัมมันตภาพรังสี เป็นปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง จากการสลายนิวเคลียสเกิดธาตุใหม่
พบครั้งแรกโดย เฮนรี่ เบ็กเคอเรล ขณะศึกษาการเรืองแสงของสารและพบยูเรเนียม (รังสียูเรนิก) = ธาตุ
กัมมันตรังสีตัวแรก
@ มารี คูรีและปิแอร์ คูรี = พอโลเนียม เรเดียม เรดอน (รางวัลโนเบล)
31
2. ชนิดและสมบัติของรังสี
สมบัติ รังสีแอลฟา (α-ray) รังสีบีตา (-ray) รังสีแกมมา(-ray)
1. มวล
2. ประจุ
3. สถานะ
4. สัญลักษณ์
5. อานาจการทะลุผ่าน
6. การทาให้อากาศ
แตกตัวเป็นไอออน
7. การเบี่ยงเบนใน
สนามแม่เหล็ก
8. การสลายให้รังสี
4 ยูนิต
+2
นิวเคลียสของฮีเลียม
4
He2
น้อยผ่านอากาศ 3-5 ซ.ม.
กั้นด้วยกระดาษบางๆ
ดี
โค้งออกจากแนวเดิม
นิวเคลียสใหญ่เลขอะตอม
ตั้งแต่ 84
2 ยูนิต
-1
อิเล็กตรอนอัตราเร็วสูง
0
e-1
ปานกลาง ผ่านอากาศ1-3 ม. กั้น
ด้วยแผ่นอะลูมิเนียม 1-2 ซ.ม.
ปานกลาง
โค้งออกจากแนวเดิมมากกว่าทิศ
ตรงข้าม
นิวเคลียสที่มีนิวตรอนมาก
เกินไป
0 ยูนิต
0
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

มาก 100 เท่า  กั้นด้วย
ตะกั่วหรือคอนกรีตหนา
น้อย
ไม่เบี่ยงเบน
จากการเปลี่ยนระดับ
พลังงานนิวเคลียสสูงต่า
การแตกตัวเป็นไอออนในสารที่รังสีทั้ง 3 ชนิดผ่าน
3. นิวเคลียสและไอโซโทป
- นิวเคลียส = ทรงกลม p(+) + n(0) เรียกว่า นิวคลีออน ที่ยึดเหนี่ยวไว้ด้วยกันด้วยแรงนิวเคลียร์มหาศาล(p
และ n ถูกอัดแน่น) ดั้งนั้น พลังงานยึดเหนี่ยว (ทาให้นิวคลีออนในนิวเคลียสแยกอิสระจากกันได้พอดี) จึงมี
ค่าสูงมาก
4. สัญลักษณ์นิวเคลียสของธาตุ
A
XZ
@ n = บน – ล่าง
@ ธาตุหนึ่งธาตุอาจมีหลายไอโซโทป (p เท่า n ต่าง) แบ่งเป็น ไอโซโทปกัมมันตรังสี (ไม่เสถียรแผ่รังสี)
ไอโซโทปเสถียร
5. การสลายกัมมันตรังสี +
(ผลผลิตของการสลาย)
เกิดอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งนิวเคลียสเสถียร เรียกกระบวนการนี้ว่า อนุกรมการสลาย
มวลอะตอม = p+n : เลขนิวคลีออน
α


เลขอะตอม p (โดยปกติ p = e)
นิวเคลียสตั้งต้น นิวเคลียสลูก รังสีที่ปล่อยออกมา
32
@ ผลรวมของเลขมวล/เลขอะตอมก่อนสลาย = ผลรวมของเลขมวล/เลขอะตอมหลังสลาย
เช่น โพรแทกทิเนียม (226
Pa91) สลายให้อนุภาคแอลฟาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียสเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่
คืออะไร
โซเดียม (24
Na11) สลายให้อนุภาคบีตาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียสเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่คืออะไร
เรดอนซึ่งอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น (222
Rn*86) สลายให้อนุภาคแกมมาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียส
เปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่คืออะไร
ตัวเลือก 222
Rn86
24
Mg12
222
Ac89
กัมมันตภาพ
การสลายไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อมแต่เป็นไปตามหลักสถิติ (สมบัติเฉพาะตัว # อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี)
บอกอัตราการสลายตัว/แผ่รังสี  : ครึ่งชีวิต 
เรเดียม (Ra) – 220 = 52 วินาที สทรอนเทียม (Sr) -90 = 28 ปี
ไอโอดีน (I) – 128 = 25 นาที เรเดียม (Ra) – 226 = 1,602 ปี
เรเดียม (Ra) – 222 = 3.8 วัน คาร์บอน (C) – 14 = 5,730 ปี
โคบอลล์ (Co) – 60 = 5.24 ปี พูโตเนียม (Pu) – 239 = 24,400 ปี
โพแทสเซียม (K) – 40 = 1.3 x 109
ปี ยูเรเนียม (U) – 238 = 4.5 x 109
ปี
เช่น ฟอสฟอรัส (P)-32 มีครึ่งชีวิต 14 วัน ใช้เวลาเท่าใดที่เหลือ 25%
@ รังสีพื้นฐาน เป็นส่วยหนึ่งของสิ่งแวดล้อมที่ทุกคนได้รับตลอดเวลาหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่ปริมาณไม่มากจึง
ไม่อันตราย ได้แก่ เรเดียม (อากาศ หินดิน ต้นไม้) คอสมิก (อวกาศ) สิ่งประดิษฐ์และกิจกรรมมนุษย์(วิทย์
อุต แพทย์อาหาร)
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ/ระดับพลังงานทาให้เกิด
นิวเคลียสใหม่ X+a  Y+b หรือ X(a,b) Y
หลักการ 1. คงตัวของประจุไฟฟ้า (ก่อน = หลัง)
2. คงตัวของจานวนนิวคลีออน (เลขมวลก่อน = หลัง)
3. มวล+พลังงานก่อน = หลัง (ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์)
4. พลังงานที่ปลดปล่อย = พลังงานนิวเคลียร์
เวลา
ปริมาณ
1/2
1
ครึ่งชีวิต
33
2 ประเภท
1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (นิวเคลียสธาตุหนักไม่เสถียรแตกตัวให้เบากว่า 2 นิวเคลียส + n ความเร็วสูง + พลังงาน
นิวเคลียร์) = โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ,ระเบิดนิวเคลียร์
2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (หลอมตัวของ 2 นิวเคลียสเบาเป็นหนัก พร้อมทั้ง
ปลดปล่อยพลังงานนิวเคลียร์ (เทอร์โมนิวเคลียร์ซึ่งมากกว่าฟิสชัน)
มนุษย์ยังไม่สามารถควบคุมได้= ดวงอาทิตย์
ประโยชน์ของกัมมันตรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ด้านเกษตรกรรม ฟอสฟอรัส-32 ผสมปุ๋ ยศึกษาการดูดซึมของพืช
ไอโอดีน-131 ผสมในอาหารสัตว์ศึกษาการทางานต่อมไทรอยด์
กาจัดแมลงโดยการอาบรังสี
ถนอมอาหารโดยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย/รา
ด้านการแพทย์ วินิจฉัยโรค (โซเดียม-24 เพื่อดูระบบการหมุนเวียนโลหิต)
รังษาโรค (แกมมา – มะเร็ง)
ด้านอุตสาหกรรม ตรวจสภาพวัตถุโดยไม่ทาลาย(ภ่ายภาพรังสี – รอยร้าว/เชื่อม)
ควบคุมความหนาบางโลหะ
ตรวจตาแหน่งรั่วท่อประปา
ด้านการหาอายุ โบราณวัตถุ (คาร์อน-14) ธรณีวิทยา (ยูเรเนียม-238)
ด้านพลังงาน ผลิตกระแสไฟฟ้า ,ขับเคลื่อนเครื่อนยนต์ขนาดใหญ่
ด้านการทหาร ระเบิดนิวเคลียร์
อันตรายและการป้ องกันกัมมันตภาพรังสี
อันตราย = เกิดการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อ (ตาย/มะเร็ง) ความรุนแรง α ปริมาณที่รับ (ส่วนใหญ่คลื่นไส้เบื่อ
อาหาร ปวดหัวและผมร่วง) ตาแหน่งที่ไว คือ เยื่อสมองและอวัยวะสืบพันธุ์ (พิการในรุ่นลูกได้)
การป้องกัน = อยู่ให้ห่างที่สุด เครื่องป้องกัน (ตะกั่ว) ระยะสั้นที่สุด ใช้หุ่นยนต์/แขนกลสัมผัสแทน เครื่องมือ
วัดปริมาณรังสีติตัวตลอดระยะการทางาน
สัญลักษณ์สีชมพู
พื้นสีเหลือง
34
35
36
37
38
สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
(ชีววิทยา)
39
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต)
สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต
ชีวนิเวศ (Biome) หมายถึง ระบบนิเวศที่แบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน
คือ
องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน น้า อุณหภูมิ
องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
ไบโอมแบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ เช่น ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมทะเลทราย ไบโอมป่าสน
ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่
กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่
ร่วมกัน
สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี้
1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสี
เขียว
2. ผู้บริโภค = สามารถสร้างอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์
3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็น
ประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์
การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในระบบนิเวศ โดยพืชจะเปลี่ยนให้เป็นพลังงานเคมี (อาหาร)โดย
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และจะถูกถ่ายทอดในสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ (ห่วงโซ่อาหารและ
สายใยอาหาร) แต่พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการ
ดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภคไม่ได้เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) ซึ่งจะมีการ
ถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมในสิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต
แต่พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับพลังงานขั้นสุดท้าย
40
พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid)
การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิต
จนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด
1. พีระมิดจานวน เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร
2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่อาหาร
3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
1. อุณหภูมิ
1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของ
เอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ)
1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิ
ร่างกายให้คงที่
1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทยซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น
1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง
2. แสง
2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก
2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน
2.3 การหุบบานของดอกไม้เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
3. น้าและความชื้น
3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง
3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า
41
4. ดิน
4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต
4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ
42
การปรับตัว (Adaptation) เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ การปรับตัวมี 3 แบบ
1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น
1.1 หมีขั้วโลกหรือสัตว์ในเขตหนาวมีขนยาวปกคลุม และมีชั้นไขมันใต้ผิวหนังป้องกันความหนาว
1.2 จระเข้ผิวลาตัวเป็นเกล็ด ป้องกันการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย
1.3 โกงกางและพืชป่าชายเลน มีใบอวบน้าเพื่อเก็บน้าจืดและผลจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นเพื่อป้องน้าพัด
1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศช่วยให้ลอยน้าได้
2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทางานอวัยวะ) เช่น
2.1 การขับเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย
2.2 สัตว์เลือดอุ่นผลิตฮอร์โมนเพศ/สืบพันธุ์เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณแสงต่อวันลดลง/เริ่มผสมพันธุ์ฤดูใบไม้ร่วง
2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเลทรายจะกินเมล็ดพืชที่แห้งและไม่ดื่มน้าแต่ได้จากเมแทบอลิซึม (คล้ายอูฐ)
3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย)
3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของนกจากเขตหนาวมาเขตอบอุ่น
3.3 สัตว์ป่ากินดินโป่งที่มีแร่ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
วัฏจักรสาร ร่างกายประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น O, C, H, N, Ca, P, S (สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์)
- วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด และหมุนเวียนผ่านหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงในรูป
แก๊ส CO2
- วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนใน
สิ่งมีชีวิต โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์และจุลินทรีย์
- วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่บรรยากาศ
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร

More Related Content

What's hot

Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์พาราฮัท มิวสิค
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 

What's hot (19)

กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
Bond
BondBond
Bond
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
กรด เบส 3
กรด เบส 3กรด เบส 3
กรด เบส 3
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)findgooodjob
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์nn ning
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์พัน พัน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร (20)

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(เคมี)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
สาร
สารสาร
สาร
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร

  • 1. 1 เอกสารประกอบการสอนเข้ม “เตรียมความพร้อมสู่สนามสอบ Admission ปี 2559” O-NET วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (วท.บ. , มหาวิทยาลัยมหิดล) ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร “ความภาคภูมิใจของครู คือ วันที่ได้เห็นความสาเร็จของศิษย์”
  • 2. 2 O-NET วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต 1.1 องค์ประกอบของเซลล์ 1.2 การลาเลียงผ่านเซลล์แบบต่าง ๆ 1.3 กลไกการรักษาดุลยภาพ - น้าในพืช น้าและสารต่าง ๆ ในร่างกาย กรด-เบสในร่างกาย ฯลฯ 1.4 ลักษณะทางพันธุกรรมและกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 1.6 เทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 2.1 ระบบนิเวศ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต 2.3 ความหลากหลายทางชีวภาพ 2.4 คนกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. สารและสมบัติของสาร 3.1 สารชีวโมเลกุล / ไขมันและน้ามัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรด 3.2 ปิโตรเลียม / การกาเนิดและแหล่ง การกลั่นและผลิตภัณฑ์แก๊สธรรมชาติ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน 3.3 พอลิเมอร์ / พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สัง เคราะห์ พลาสติก ยางสังเคราะห์ เส้นใยสังเคราะห์ 3.4 ปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.5 โครงสร้างของอะตอมและตารางธาตุ 3.6 ธาตุและสารประกอบ / พันธะเคมี สมบัติของธาตุตามหมู่ธาตุ 4. แรงและการเคลื่อนที่ 4.1 การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง / ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดและเวลา อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง 4.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่แบบวงกลมและแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 4.3 แรงและสนามของแรง / สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า สนามโน้มถ่วง 4.4 การเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคในสนามต่าง ๆ
  • 3. 3 5. พลังงาน 5.1 คลื่น / คลื่นกล องค์ประกอบและสมบัติของคลื่น 5.2 เสียงและการได้ยิน 5.3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 5.4 กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์ 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 6.1 โครงสร้างของโลก 6.2 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา / การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แหล่งภูเขาไฟ 6.3 แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่ 6.4 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาค / รอยต่อ รอยแยกแผ่นธรณีภาค อายุหิน ซากดึกดาบรรพ์ 6.5 อายุทางธรณีวิทยา การลาดับชั้นหิน 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ 7.1 กาเนิดเอกภพ 7.2 กาแลกซี / กาแลกซีทางช้างเผือก กาแลกซีเพื่อนบ้าน 7.3 ดาวฤกษ์/ วิวัฒนาการ ความสว่าง สี และอุณหภูมิ ระยะห่าง 7.4 กาเนิดระบบสุริยะ 7.5 เทคโนโลยีอวกาศ / ดาวเทียมและยานอวกาศ แระโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ
  • 4. 4 สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารและสมบัติของสาร (เคมี)
  • 5. 5 วิทยาศาสตร์ O-NET ม.6 สารและสมบัติของสาร (เคมี) อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์ของธาตุ A XZ @ n = บน – ล่าง @ ถ้าธาตุเป็น (-) = e > p [ได้รับ e : อโลหะ] ถ้าธาตุเป็น (+) = e < p[เสีย e : โลหะ] โดย p คงที่เสมอ เพราะ กาหนดชนิดของธาตุ (e เท่านั้นที่เปลี่ยนแปลง) ไอโซโทป = p เท่า (ธาตุเดียวกัน) n ต่าง (มวลต่าง) ไอโซโทน = p ต่าง (ธาตุต่างกัน) n เท่า (มวลต่าง) ไอโซบาร์ = p ต่าง (ธาตุต่างกัน) n ต่าง (มวลเท่า) เช่น ธาตุ N p e isotope isotone isobar 11 A3 25 A3 25 B5 35 C13 25 A3 3- 35 C13 5+ การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม = ระดับพลังงาน (e = 2n ) 1, 2 ,3, 4 = 2 ,8 ,18 ,32 กฎออกเตท คือ e วงนอกสุด (เวเลนซ์) ไม่เกิน 8 ระดับพลังงาน คือ เลขคาบ (แนวนอน) เวเลนซ์อิเล็กตรอน คือ เลขหมู่ (แนวตั้ง) e (-) เล็กสุด มวลน้อยมาก นอกนิวเคลียส p (+) และ n (0) มวลเท่า (มวลอะตอม) ในนิวเคลียส มวลอะตอม = p+n สัญลักษณ์ธาตุ เช่น Na คือ โซเดียม p (โดยปกติเป็นกลางทางไฟฟ้ า p = e) n = 4 (32e) n = 3 (18e) n = 2 (8e) n = 1 (2e)
  • 6. 6 ตารางธาตุ เช่น ธาตุ คาบที่ หมู่ที่ ธาตุ การจัดเรียง e 24 A12 12 B6 31 C15 80 D35 23 E11 20 F10 หมู่ 1 = แอลคาไลน์ (โลหะไวสุด ,+1) หมู่ 2 = แอลคาไลน์เอิร์ท (โลหะพบมากสุด ,+2) หมู่ 6 (-2) หมู่ 7 = แฮโลเจน (อโลหะไวสุด,-1) หมู่ 8 = แก๊สเฉื่อย (อโลหะเสถียร ,0) โลหะทรานซิชั่น (+ ไม่แน่นอน สารเชิงซ้อน ,สีเฉพาะตัว) หมู่ 5 (-3) หมู่ 4 (- +4) หมู่ 3 (+3) บันไดธาตุ (กึ่งโลหะ) โลหะทรานซิชั่น (แลนทาไนด์) โลหะทรานซิชั่น (แอกทิไนด์)
  • 7. 7 ธาตุและสารประกอบ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ - แข็ง ณ อุณหภูมิห้อง (เว้นปรอท) - มันวาว - นาไฟฟ้า (ลดเมื่อร้อน)/ความร้อนดี - เคาะกังวาน - แข็งเหนียว (แผ่น/เส้นได้) - จุดหลอมเหลว (แข็งเหลว) /เดือด (เหลวไอ) สูง - หนาแน่น/ถ่วงจาเพาะสูง - ให้อิเล็กตรอน (+) - หมู่ 1 2 3 4 และทรานซิชั่น - ทุกสถานะ ณ อุณหภูมิห้อง - ไม่มี - ไม่ดี เว้น แกรไฟต์(ไฟฟ้า) - ไม่มี - แข็งเปราะ - ส่วนมากต่า - ส่วนมากต่า - รับอิเล็กตรอน (-) - หมู่ 4 5 6 7 (8 ด้วย = Kr Xe Rn ) - ธาตุระหว่างบันไดธาตุ - อะลูมิเนียม - บอกไซด์ = วัตถุดิบ , ฟลอยด์ ,อิเล็กทรอนิกส์ - คอรันดัม = สีอัญมณี - ซัลเฟต = สารส้ม - ซิลิกอน = ออกไซด์ สีเทาเงิน ทาแก้ว (ทราย) อิเล็กทรอนิกส์ (สารกึ่งตัวนา) พันธะเคมี ไอออนนิก โควาเลนซ์ - โลหะ (+:ให้) กับ อโลหะ (-:รับ) - แข็ง ผลึกเรขาคณิต เปราะ - จุดหลอมเหลว/เดือดสูง - ไม่นาไฟฟ้า (เว้นหลอมเหลว/ละลาย : ไอออนเคลื่อนที่ได้) - อโลหะ กับ อโลหะ (แชร์:ใช้ร่วมกัน) - แข็ง เหลว แก๊ส - จุดหลอมเหลว/เดือดต่า - ไม่นาทุกกรณี สมบัติโลหะหมู่ 1และ 2 โลหะหมู่ 1 โลหะหมู่ 2 - ปฏิกิริยารุนแรงกับน้า/อากาศ  ไฮโดรเจน + ความร้อน (ลุกไหม้รวดเร็ว) - ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน  เบส (เปลี่ยนลิตมัสแดงน้า เงินหรือฟีนอฟทาลีนชมพู) - น้อยกว่า - เหมือนกัน ธาตุกัมมันตรังสี – ไม่เสถียร(p ตั้งแต่ 84 และ n>>>>p) จึงแผ่รังสี (แอลฟา เบต้า แกมมา) เปลี่ยน p n และ พลังงานจนเสถียร - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น (รวมนิวเคลียสเล็ก  ใหญ่ เช่น 4H  He ที่ ดวงอาทิตย์) - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิกชั่น(  เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช่ยูเรเนียมเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ โดย n)
  • 8. 8 ครึ่งชีวิต คือ ระยะเวลาที่ธาตุสลายตัวไปจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง เช่น I-131 มีครึ่งชีวิต 8 วัน ถ้าเริ่มต้น 1 กรัม อีก 32 วันจะเหลือ....... กรัม ปฏิกิริยาเคมี สารตั้งต้น (สลายพันธะ)  สารผลิตภัณฑ์: สารชนิดใหม่สมบัติต่างจากเดิม (สร้างพันธะ) @@@ ไม่ใช่การเปลี่ยนสถานะ (ละลาย ระเหย ระเหิด) เช่น หินปูน + กรด  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ด่าทับทิม + กรด  ก๊าซคลอรีน (สังเกต: ฟองก๊าซ ตะกอน อุณหภูมิเปลี่ยน สี) พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา - คายความร้อน (พลังงานสลายพันธะ < สร้าง) เรารู้สึกร้อน เช่น กรด + ด่าง เผาไหม้หายใจ (ส่วนใหญ่) - ดูดความร้อน (พลังงานสลายพันธะ > สร้าง) เรารู้สึกเย็น เช่น เกลือแกง + น้าแข็ง การสังเคราะห์ด้วยแสง กราฟดูดความร้อน กราฟคายความร้อน การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารตั้งต้นที่ลด หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม เช่น หินปูน + กรด  ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ - อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย - อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วง 2 ถึง 3 วินาที ปริมาณก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ (ลูกบาศก์เซนติเมตร) เวลา (วินาที) 2 4 6 8 1 2 3 4 พลังงาน เวลาที่ใช้ พลังงาน เวลา ปริมาณ เวลา เวลา ปริมาณ เวลา ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น เร็ว (เริ่ม) ปานกลาง สิ้นสุด (คงที่)
  • 9. 9 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1) อุณหภูมิ  :  2) ความเข้มข้นของสารตั้งต้น  :  3) พื้นที่ผิวสัมผัส (สารตั้งต้นของแข็งเท่านั้น)  :  4) ตัวเร่งปฏิกิริยา (ในสิ่งมีชีวิต คือ เอนไซม์)  :   ตัวหน่วงปฏิกิริยา สม็อกและฝนกรด - สม็อก = กดอากาศสูง แก๊ส SO3 [ NO2 O3 ] ฝุ่นละออง ไฮโดรคาร์บอนละอองเล็ก (มากจะบดบังการ มองเห็น อุบัติเหตุ ) - ฝนกรด = กัดกร่อน pH < 7 อากาศปลอดโปร่ง แก๊ส SO3 NO2 ลอยสูงตามลม + ชื้นจากเมฆ/ฝน เกิดกรด H2SO4 และ HNO3 (+หินปูน  CO2) ปิโตรเลียม - สารวจโดยนักธรณี (เทคนิคทางธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์  แผนที่) - วัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลก (ทราบชนิด ความหนา ขอบเขต กว้างแอ่ง ลึกชั้นหิน) - วัดความโน้มถ่วงของโลก (ชนิดชั้นหิน) - วัดคลื่นความสั่นสะเทือน (รูปร่างโครงสร้างชั้นหินละเอียด) - ขุดเจาะโดยวิศวกรปิโตรเลียม ได้ 2 ส่วน คือ น้ามันดิบ และ แก๊สธรรมชาติ การกลั่นลาดับส่วน น้ามันดิบ (ร้อนสูง 350-400 C)  หอกลั่น ระคายเคืองดวงตา/ทางเดินหายใจ มากอันตราย แก๊ส ซิน ก๊าด เซล ลื่น เตา ไข ตอย (บิทูเมน) จุดเดือดต่า จุดเดือดสูง ออกก่อน ออกหลัง
  • 10. 10 การกาหนดคุณภาพเชื้อเพลิง - น้ามันเบนซิน : เลขออกเทน = นอร์มัลเฮปเทน (7C สายตรง) x% โดยมวล + ไอโซออกเทน (8C สายกิ่ง) y% โดยมวล = 100% @ y คือ เลขออกเทน (มาก = ดีเดินเรียบไม่กระตุก) เช่น น้ามันเบนซินปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ออกเทน 91 หมายถึง ............................................................................................................................ ออกเทน 95 หมายถึง ............................................................................................................................ เบนซินจากโรงกลั่นมีเลขออกเทน < 50 การเพิ่มเลขออกเทน อดีตเติมสารตะกั่ว = TML ,TEL (เผาไหม้ได้ สารประกอบออกไซด์/คาร์บอเนต  พิษต่อตับ) ปัจจุบัน MTBE = น้ามันไร้สารตะกั่ว แก๊สโซฮอร์ = เบนซิน + เอทานอล (9:1) ใกล้เคียงเบนซิน 95 - น้ามันดีเซล : เลขซีเทน = ซีเทน (16C โซ่ตรง) x% โดยมวล + แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (2 วง) y% โดลมวล = 100% @ x คือ เลขซีเทน (มาก = ดี) แก๊สธรรมชาติ - แก๊สธรรมชาติ (ผสมหลายชนิด) หน่วยแยกแก๊ส [หน่วยแยกปรอทหน่วยแยก CO2 หน่วย แยกความชื้น] เพิ่มความดันลดอุณหภูมิ  กลั่นลาดับส่วน - มีเทนมากสุด (เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ปุ๋ ยเคมี) - โพรเพนและบิวเทน = แก๊สหุ้งต้ม (LPG) @ การเผาไหม้เชื้อเพลิง : สารประกอบไฮโดรคาร์บอน(CH) + O2 CO2 + H2O 2 แบบ คือ สมบูรณ์ (O2 เพียงพอ ไม่มีเขม่า) ไม่สมบูรณ์ (O2 ไม่เพียงพอ มีเขม่าและCO) สารชีวโมเลกุล บทบาทในร่างกาย = เจริญเติบโต ถ่ายทอดพันธุกรรม ให้พลังงาน ฮอร์โมน/เอนไซม์/ภูมิ รักษาสมดุลน้า/pH ผิวหนังชุ่มชื้น/ผิวเล็บดี กระบวนการย่อย = คาร์โบไฮเดรต  กลูโคส /โปรตีน  กรดอะมิโน / ไขมัมและน้ามัน  กรดไขมัน กับกลีเซอรอล ไขมันและน้ามัน บทบาท คือ กันกระแทก ,รักษาความร้อน/พลังงานสูงสารอง 9kcal/g ,ผิวชุ่มชื้น ,ผมเล็บดี ,ละลาย A D E K
  • 11. 11 ไขมัน น้ามัน แข็งที่อุณหภูมิห้อง กรดไขมันอิ่มตัว สัตว์ เหม็นหืนยาก เกิดคลอเรสเตอรอล (โรดหัวใจ) เหลวที่อุณหภูมิห้อง กรดไขมันไม่อิ่มตัว พืช เหม็นหืนง่าย (เติม E ต้าน) ปลอดภัย (ทาเนยเทียมหรือมาการีน : hydrogenation) องค์ประกอบ คือ กลีเซอรอล + กรดไขมัน (เอสเทอริฟิเคชั่น) กรดไขมัน มี 2 ชนิด คือ อิ่มตัว (C-C ทั้งหมด) มากที่สุด : สเตียริก กับ ไม่อิ่มตัว (C=C บางตัว) มากที่สุด โอเลอิก กรดไขมันจาเป็นทั้งหมดไม่อิ่มตัว= ไลโนเลอิก ,ไลโนเลนิก และ อะราชิโดนิก จุดหลอมเหลว  : C (อิ่มตัว) : C=C  (ไม่อิ่มตัว) เช่น จุดหลอมเหลว C11H23COOH < หรือ > C15H31COOH จุดหลอมเหลว C17H35COOH < หรือ > C17H29COOH สมบัติ ได้แก่ หนาแน่น < น้า ,ไม่ละลายน้าแต่ละลายอินทรีย์/ไม่มีขั้ว ,จุดเดือด/หลอมเหลวไขมัน > น้ามัน , สะปอนนิฟิเคชั่น (ไขมันต้มกับเบสได้สบู่) ,กรดไขมันไม่อิ่มตัว (เติมไฮโดรเจนและฟอกสีจางไอโอดีน) (สัตว์และพืช = waxเคลือบผิวผล/ใบ/ก้าน ,เคลือบผิวหนัง/ขน/รังผึ้ง/คาร์นูบา(ปาล์มบราซิล)/โจโจบา(เทียน ไข,เครื่องสาอาง)/ลาโนลิน(สบู่,ครีมทาผิว) การทดสอบ : สัมผัสกระดาษ ทึบแสง  โปร่งแสง โปรตีน สารอินทรีย์C H O N (ต่างกับคาร์โบไฮเดรต) พันธะเปปไทด์ (CONH) = dipeptide (2 กรดอะมิโน) tripeptide (3 กรดอะมิโน) โครงสร้างกรดอะมิโน (บริสุทธิ์ : ผลึกไม่มีสี หลอมเหลวสูง ละลายน้า) กรดอะมิโน มี 2 ชนิด คือ จาเป็น 8-10 ชนิด (สร้างเองไม่ได้= ทริป ฟี ทรี เมท เว นิล ไล ไอ [อาร์ ฮิส]) นอกนั้น ไม่จาเป็น (สร้างเองได้) แตกต่างกัน 20 แบบ (ชนิด,สมบัติ) เหมือนกันทุกชนิด
  • 12. 12 การทดสอบ ไบยูเร็ต (NaOH + CuSO4) สีฟ้า  สีม่วง (พันธะเปปไทด์ 2 ) ประเภท หน้าที่ ตัวอย่างโปรตีน เอนไซม์ โครงสร้าง ลาเลียงสาร ฮอร์โมน แอนติบอดี ย่อยสลายคาร์โบไฮเดรต ย่อยสลายโปรตีน สร้างเอ็นและกระดูกอ่อน สร้างผม ขน ผิวหนัง และเล็บ ลาเลียงออกซิเจน เพิ่มประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสในร่างกาย ทาให้ร่างกายเจริญเติบโตปกติ ภูมิคุ้มกัน อะไมเลส ซูเครส แลกเทส มอลเทส ทริปซิน เปปซิน เปปทิเดส คลอลาเจน เคอราติน ฮีโมโกลบิน อินซูลิน โกรทฮอร์โมน อิมมูโนโกลบูลิน การแปลงสภาพ โครงสร้างหน้าที่ (+ ความร้อน กรด-เบส/pH โลหะหนัก ตัวทาละลาย  เสียสภาพ และหน้าที่) เช่น ตกตะกอน ไม่ละลายน้า การให้พลังงาน(ยามจาเป็นขาดแคลน/แหล่งสุดท้าย) = 4 kcal/g คุณค่าทางชีววิทยา (ร้อยละโดยน้าหนัก) = น้าหนักของโปรตีนที่ถูกน้าไปใช้สร้างเนื้อเยื่อ x 100 ไข่ > นมวัว > เนื้อสัตว์/ปลา > ถั่วเหลือง > ข้าว > ข้าวโพด > ถั่วเมล็ดแห้ง @ โปรตีนสมบูรณ์ = เนื้อสัตว์ไข่ นม @ โปรตีนไม่สมบูรณ์ = ถั่วเมล็ดแห้ง (ขาดเมทไทโอนีน) ข้าว (ขาดไลซีนและทรีโอนีน) คาร์โบไฮเดรต สารอินทรีย์C H O โดย H : O = 2:1 (H2O) แบ่งตามสมบัติกายภาพและเคมี 2 ประเภท คือ 1. คาร์โบไฮเดรตที่เป็นน้าตาล – รสหวาน ละลายน้า 1.1 โมเลกุลเดี่ยว เล็กสุด ผลึกขาว C3-8 เน้น C6H12O6 ไม่ต้องย่อยดูดซึมได้เลย ได้แก่ กลูโคส (มาก สุดอาหารทั่วไป เลือด) ฟรักโทส (หวานสุด อ้อย ผลไม้สุก น้าผึ้ง น้ากาม) แลกโทส (นมและผลิตภัณฑ์) @ ปกติกลูโคสในเลือด = 100 mg/100cc ถ้า > 160 เบาหวาน(พบในปัสสาวะ) 1.2 โมเลกุลคู่ พันธะไกลโคซิดิก @ มอลโทส = กลูโคส + กลูโคส (ข้าวมอลล์ข้าวบาร์เล่) : มอลเทส แลกโทส = กลูโคส + กาแลกโทส (นมและผลิตภัณฑ์) : แลกเทส ซูโครส = กลูโคส + ฟรักโทส (น้าตาลทราย) : ซูเครส การทดสอบ เบเนดิกต์(สีฟ้า)  ต้ม  ตะกอนสีแดงอิฐ (ยกเว้น ซูโครสต้องต้มด้วยกรดอ่อนก่อน) 2. คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่น้าตาล – ไม่หวาน โมเลกุลใหญ่ซับซ้อนจึงค่อยไม่ละลายน้า กลูโคสต่อเป็นสายยาว 2.1 แป้ง อาหารสะสมในพืช(ผล หัว ราก) 2 ชนิด คือ อะไมโลส (สายตรง) อะไมโลเพกติน (สายกิ่ง) น้าหนักของโปรตีนที่ได้รับเข้าไป
  • 13. 13 การทดสอบ ไอโอดีน (น้าตาล)  สีน้าเงินเข้ม 2.2 ไกลโคเจน อาหารสะสมในสัตว์(ตับและกล้ามเนื้อ) เป็นสายกิ่งคล้ายอะไมโลเพกติน แต่แตก แขนงมากกว่า 2.3 เซลลูโลส เป็นโครงสร้างแข็งผนังเซลล์พืช โครงสร้างเป็นสายตรง เราย่อยไม่ได้(ไม่มีเซลลู เลส) แต่เป็นกากใยช่วยขับถ่าย หน้าที่ = ให้พลังงานหลัก (4kcal/g) ,โครงสร้าง ,เก็บสะสมรูปสารอื่น [การหมักแอลกอฮอร์] กรดนิวคลีอิก สารอินทรีย์C H O N [P] พบเฉพาะ หน้าที่ = สารพันธุกรรมของเซลล์ ควบคุมถ่ายทอดสืบพันธุ์การสร้างโปรตีน การเจริญเติบโตและ กระบวนการต่างๆ หน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ (น้าตาล 5C + หมู่ฟอสเฟต + ไนโตรเจนเบส[รหัสพันธุกรรม]) เชื่อมต่อด้วย พันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์ ลักษณะเปรียบเทียบ DNA (ดีออกซีไรโบนิวคลีอิกแอซิด) RNA (ไรโบนิวคลีอิกแอซิด) ชนิดของน้าตาล หมู่ฟอสเฟต ชนิดของไนโตรเจนเบส โครงสร้างโมเลกุล หน้าที่ ดีออกซีไรโบส (ออกซิเจนหาย 1 ตัว) มี A = T ,CG เกลียวคู่เวียนขวา สารพันธุกรรมส่วนใหญ่ ต้นแบบสร้างโปรตีน ไรโบส มี A = U ,CG โซ่ยาวเส้นเดียว สารพันธุกรมบางชนิด หน่วยปฏิบัติสร้างโปรตีน พอลิเมอร์ มอนอเมอร์ (มาจากปิโตรเลียม)  พอลิเมอร์สังเคราะห์ (เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ พลาสติก) @ พอลิเมอร์ธรรมชาติ = แป้ง/เซลลูโลส/ไกลโคเจน (กลูโคส) ,โปรตีน (กรดอะมิโน) ,กรดนิวคลีอิก (นิวคลี โอไทด์ โดยการควบแน่น และยางพารา (ไอโซพรีน) ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน(อุณหภูมิและความดันสูง)
  • 14. 14 มอนอเมอร์ ต้องเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (C=C) เช่น เอทิลีน(แก๊สธรรมชาติ)  พอลิเอทีลีน (PE) : นง.ขอบเหลือง พาราฟิน ไม่ดับเอง รอยเล็บ ไม่ ละลายในสารละลายในสารละลายทั่วไป ได้แก่ ถุง ภาชนะ ฟิล์ม ของเล่น ดอกไม้ โพรพิลีน(แก๊สธรรมชาติ)  พอลิโพรพิลีน (PP) : นง.ขอบเหลือง ควันขาว พาราฟิน ไม่เป็นรอย แตก ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ เชือก พรม บรรจุภัณฑ์ รถยนต์ สไตรีน(เอทีลีน+เบนซิน)  พอลิสไตรีน (PS) : ติดยาก เหลืองขอบเขียว ก๊าซจุดตะเกียง เปราะ ละลายในคาร์บอนเตตระฟูออไรด์/โทลูอีน ได้แก่ โฟม อุปกรณ์ไฟฟ้า เลนส์ ของเล่น กีฬา สื่อสาร ไวนิลคลอไรด์ (เอทีลีน+คลอรีน) พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) : ติดยาก เหลืองขอบเขียว ควันขาว กรดเกลือ อ่อนคล้ายยาง ได้แก่ wallpaper ภาชนะ รองเท้า กระเบื้อง ท่อPVC ฉนวนหุ้มไฟฟ้า @ เทฟลอน คือ พอลิเตตระฟลูออโรเอทีลีน เตรียมจากเอทีลีน+ฟลูออรีน (> 1500) พลาสติก สมบัติพิเศษ = ขึ้นรูปทรง เหนียว แข็งแรง เบา ทนทาน ฉนวนไฟฟ้า 2 ชนิด คือ เทอร์มอพลาสติก = โซ่ยาวและกิ่ง ยืดหยุ่น โค้งงอได้มาก ร้อนอ่อนตัว หลอมเหลวได้เมื่อลดเย็น จะแข็งเมือนเดิม (recycle) เช่น PE PP PS PVC พลาสติกเทอร์มอเซต = แบบร่างแห ขึ้นรูปแล้วได้ความร้อนไม่อ่อนตัวกลับแตกหัก (ไม่สามารถ recycleได้) เช่น พอลิยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ (ติดยาก เหลืองอ่อนขอบฟ้าแกมเขียว แอมโนเนีย ได้แก่ เต้าเสียบ วัสดุวิศวกรรม) และอีพอกซี (ติดง่าย เหลือง ควันดา ข้าวคั่ว ไม่ละลายน้าและอินทรีย์ได้แก่ กาวสี สาร เคลือบผิว) ยาง 2 ประเภทใหญ่ 1. ยางธรรมชาติ(พอลิไอโซพรีน) ต้นยางพารา(1500-150000 ไอโซพรีน) ขดม้วนเป็นวง บิดเป็นเกลียว รูปร่างไม่แน่นอน แรงดึงดูดระหว่างสูง ยืดหยุ่นต้านแรงดึงสูง ข้อดี ยืดหยุ่นสูงที่อุณหภูมิปกติ ทนขัดถู/น้า/น้ามันพืชหรือสัตว์ฉนวนที่ดีมาก ของเสีย ไม่ทนเบนซินและตัวทาละลายอินทรีย์เมื่อร้อนเหนียวอ่อนตัว เมื่อเย็นแข็งเปราะ 2. ยางสังเคราะห์ (สารผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม) เช่น IR (ยางไอโซพรีน) โครงสร้างเหมือนธรรมชาติ แต่เด่นที่เจือปนน้อย คุณภาพสม่าเสมอ ขาว นิยม ทาจุกนมยาง อุปกรณ์การแพทย์ SBR (ยางสไตรีนบิวทาไดอีน) เกิดจากมอนอเมอร์สไตรีน+บิวทาไดอีน ทนขัดถูมากแต่แรงดึงต่า เช่น พื้นรองเท้า ท่อสายยาง สายรัด สายพาน ยางปูพื้น
  • 15. 15 @ กระบวนการวัลคาไนเซชั่น (เกิดพันธะไดซัลไฟด์) คือ ยาง+กามะถันปริมาณเหมาะสม ณ อุณหภูมิสูงกว่า จุดหลอมเหลวของกามะถัน  สภาพคงตัวในอุณหภูมิต่างๆ ทนร้อน แสง และตัวทาละลายมากขึ้น เส้นใย สายยาวเรียงตัวเป็นระเบียบ ปั่นเป็นเส้นด้าย มี 3 ชนิด 1. เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ พืช (เซลลูโลส = ลินิน ปอ ฝ้าย นุ่น: ส่วนใหญ่ ดูดซึมน้า/ระบายความร้อนดี ยับ ง่ายแห้งช้า ไม่ทนรา-ฝ้าย/หดตัวเมื่อร้อน/ชื้น-ไหม ) สัตว์(เส้นใยโปรตีน = ไหม ขนแกะ ขนแกะ) และใยหิน 2. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เป็นเส้นใยธรรมชาติ+สารเคมี เช่น เรยอน เซลลูโลสแอซีเตต (เซลลูโลส+กรดแอ ซีติกเข้มข้นมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง ใช้ทาเส้นใยและแผ่นพลาสติก) 3. เส้นใยสังเคราะห์ จากสารเคมีสมบัติต่างธรรมชาติ (ยับยาก ไม่ดูดซึมน้า/ระบายความร้อน แห้งเร็ว ทนต่อ สารเคมี/กรด/เบส/รา เช่น พอลิเอสเทอร์ = หมู่คาร์บอกซิล (COOH) + หมู่ไฮดรอกซิล (OH)  COO พอลิเอไมด์ (ไนลอน) = หมู่อะมิโน (NH2) + หมู่คาร์บอกซิล (COOH)  CONH @ การเตรียมเรยอนในห้อง lab กระดาษทิชชู่ + คอปเปอร์ (II) คาร์บอเนต  สารเหนียวใส สีน้าเงิน  เส้นใยยาวเหนียวใสสีน้าเงิน (คิวพรัมโมเนียมเรยอน)  ย้อมสีปั่นเป็นเส้นยาวตามต้องการ ซิลิโคน ไม่ไวต่อปฏิกิริยา(โดยเฉพาะร่างกายมนุษย์) สลายตัวยาก ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี ไม่ยึด ติดกับวัตถุ ประโยชน์กว้างขวาง (มอนอเมอร์ = ซิลิคอนไดออกไซด์+ แอลคิลคลอไรด์) มี 3 โครงสร้าง 1. โซ่ยาว คล้ายน้ามันใช้ขัดเงาเฟอร์นิเจอร์ เคลือบผ้า/หนัง 2. โซ่กิ่ง คล้ายไข ใช้เป็นสารหล่อลื่นในนาฬิกา/ตลับลูกปืน 3. ร่างแห ยางเหนียว ใช้เป็นเรซินผสมสีทาบ้าน ฉนวนหุ้มสายไฟ เคลือบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อวัยวะเทียม แม่พิมพ์หล่อพลาสติก น้ายางถอดแบบ การแยกขยะ ออกเป็นประเภทต่างๆ สะดวกกาจัด recycle แปรรูป ซึ่งช่วยลดปริมาณได้4 แบบ คือ ทั่วไป (รูปคนทิ้งขยะ:น้าเงิน) ย่อยสลายได้(รูปต้นไม้:เขียว) รีไซเคิล (รูปสามเหลี่ยม:เหลือง) อันตราย (หัว กะโหลก: แดง) ขยะรีไซเคิล หมายเลข 1 (PETE) 2 (HDPE) 3 (PVC) 4 (LDPE) 5 (PP) 6 (PS) 7 (อื่นๆ) สารละลายแอมโมเนียเข้มข้น ใส่หลอดฉีดฉีดลงกรดซัลฟิวริกเจือจาง
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20 สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง พลังงาน แรงและการเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)
  • 21. 21 การเคลื่อนที่ ปริมาณทางฟิสิกส์ 2 ประเภท คือ เวกเตอร์ = ขนาด+ทิศทาง (ความเร็ว/เร่ง ,น้าหนัก ,การกระจัด) ส่วนสเกลาร์ = ขนาด (อัตราเร็ว/เร่ง ,มวล ,ระยะทาง) การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง การระบุตาแหน่งวัตถุ(เทียบกับอ้างอิง) จุดเริ่มต้น/สิ้นสุด = การกระจัด (เส้นตรง) ระยะทาง (เส้นโค้ง/หยัก) โดยปกติ ระยะทาง > การกระจัด เว้น วัตถุเคลื่อนที่ทางตรงระยะทาง = การกระจัด การหาระยะทาง ผลรวมทั้งหมด (ไปกลับ) ,เส้นรอบรูป/วง การหาการกระจัด + (ทิศเดียวกัน),- (ทิศตรงข้ามกัน) ,สามเหลี่ยมมุมฉาก ,เส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม [ถ้า กลับมาที่เดิม = 0] ความเร็ว (เมตร/วินาที) = การกระจัด (เมตร) อัตราเร็ว (เมตร/วินาที) = ระยะทาง (เมตร) ความเร่ง (เมตร/วินาที2 ) = ความเร็วปลาย– ต้น (เมตร/วินาที) @ เริ่มเคลื่อน/จากจุดหยุดนิ่งเร็วต้น = 0 @ เคลื่อนที่แนวดิ่งความเร่ง = 9.8 (10) อัตราเร่ง (เมตร/วินาที2 ) = อัตราเร็วปลาย– ต้น (เมตร/วินาที) เช่น (1) นาย A เดินออกจากบ้านไปทางทิศเหนือ 3 เมตร จากนั้นเดินไปทางตะวันออกอีก 4 เมตรจึงถึงตลาด ถ้านาย A ใช้เวลาเดิน 2 นาที จงหา การกระจัด ระยะทาง ความเร็วและอัตราเร็ว (2) นาย B เริ่มออกวิ่งบนถนนตรงเมื่อเวลาผ่านไป 3 วินาทีนาย A มีความเร็วเท่ากับ 10 เมตร/วินาที ถ้าวิ่ง ต่อไปอีก 10 วินาที นาย A จะมีความเร็วเท่าไร และถ้าวิ่งต่อด้วยความเร็วคงที่ 20 วินาทีจะได้ระยะทาง เท่าไหร่ เวลาที่ใช้ (วินาที) เวลาที่ใช้ (วินาที) เวลาที่ใช้ (วินาที) เวลาที่ใช้ (วินาที)
  • 22. 22 @ เร็วปลาย > ต้น : เร่ง  (+) ,เร็วต้น > ปลาย : เร่ง  (-) ,เร็วปลาย = ต้น : ไม่มีเร่ง (0) @ โยนวัตถุขึ้นแนวดิ่ง : ความเร็วลดลงคงที่เรื่อยๆ จนกระทั่งเป็น 0 (จุดสูงสุด) # ปล่อยวัตถุลงแนวดิ่ง ความเร็วเพิ่มขึ้นคงที่เรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นมากสุด (ถึงพื้น # 0) แถบกระดาษดึงผ่านเครื่องเคาะสัญญาณความถี่คงที่ (Hz) มี 3 แบบ ความเร็งคงที่ ความเร่ง = 0 ความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความเร่ง > 0 (+) ท ความเร็วลดลงเรื่อยๆ ความเร่ง < 0 (-)/ความหน่วง เวลาที่จุดใดๆ = เลขตาแหน่งจุด x (1/ความถี่เครื่องเคาะสัญญาณ) หาความเร็วเฉลี่ย (คิดทั้งแถบกระดาษ) /ความเร็ว ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (เฉพาะ 1 จุดในแถบกระดาษ) กราฟการเคลื่อนที่ เช่น จงหาความเร่งช่วง 10-15 ,ช่วง 15-20 และการกระจัด @ กรณีฉุกเฉินต้องหยุดรถกะทันหัน ระยะหยุด ประกอบด้วย ระยะคิด (ระยะทางที่รถเคลื่อนที่ได้ก่อน เหยียบเบรก) + ระยะเบรก (ระยะที่รถเคลื่อนที่ได้หลังเหยียบเบรก) ถ้าความเร็ว : ระยะหยุด  : ระยะคิด  : ระยะเบรก  การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ วิถีโค้ง 2 มิติ คือ แนวราบ(นอน)และแนวดิ่ง(ตั้ง)พร้อมกัน ณ เวลาเดียวกัน ความเร็วการกระจัด เวลา เวลา มีความเร็วไปหน้า ไม่มีความเร็ว(หยุดนิ่ง) มีความเร็วถอยหลัง มีความเร่ง การกระจัด ไม่มีความเร่ง (เร็วคงที่) มีความหน่วง ความเร็ว เวลา 10 20 10 150
  • 23. 23 ความเร็วแนวราบคงที่ตลอด  ความเร็วแนวดิ่งเปลี่ยนแปลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (เคลื่อนที่ขึ้นจะลด# เคลื่อนที่ลงจะเพิ่ม) ที่จุดสูงสุดความเร็วแนวดิ่ง = 0 แต่ความเร็วแนวราบ # 0 มุมยิงที่วัตถุจะตกได้ไกลสุด = 45 องศา ถ้ายิงด้วยความเร็วเท่ากันและตกที่เดียวกัน มุมยิง A + B = 90 องศาเสมอ ถ้ายิงด้วยความเร็วเท่ากัน : มุมมาก  สูงมาก  ตกใกล้ ถ้ายิงด้วยมุมเท่ากัน : เร็วมาก  สูงมาก  ตกไกล การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ รอบจุดคงตัว (ศูนย์กลาง) และอยู่ห่างเท่าเดิมเสมอตลอดการเคลื่อนที่ (รัศมี) เกิดปริมาณที่เกี่ยวข้อง คือ อัตราเร็วเชิงมุม อัตราเร่งเชิงมุม ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง ความถี่ = รอบ / วินาที  คาบ = วินาที/รอบ [ f = 1/T] การเหวี่ยงจุกยาง 2 แนว คือ แนวราบ (ความเร็วคงที่) แนวดิ่ง (ความเร็วเปลี่ยนแปลงตามแรงโน้มถ่วง) ถ้าตัดเชือกของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่แบบวงกลม วัตถุจะเคลื่อนที่ต่อในแนววิถีโค้งตามทิศความเร็ว การโคจรตามวงโคจร เช่น ดาวเทียม ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ = แรงดึงดูดระหว่างมวล (แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง) การเลี้ยวโค้งของรถยนต์/จักรยานบนถนนโค้งปลอดภัยไม่ไถลออก คือ ดอกยาง (เพิ่มแรงเสียดทาน) + การ เอียงพื้นถนนเข้าใน (เพิ่มแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง)
  • 24. 24 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (ซ้าแนวเดิมกลับไปมาโดยมีความเร็ว คาบ ความถี่และระยะคงที่ ตลอด) มี 2 รูปแบบ คือ 1. มวล-สปริง ถ้า มวล : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ ถ้าค่านิจสปริง  (อ่อนยืดหยุ่นดี) : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ 2. เพนดูลัม (ลูกตุ้ม) ถ้า ความยาวเชือก : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ ความเร่งโน้มถ่วง : ความถี่ : ความเร็ว : คาบ : ระยะ สนามของแรง หลายชนิด เช่น ไฟฟ้า แม่เหล็ก โน้มถ่วง เป็นต้น การสารวจ - มักใช้วิธีการวางวัตถุทดสอบแล้วตรวจสอบว่ามีแรงกระทา (มีสนามของแรง) หรือไม่ เช่น สารแม่เหล็กกับ สนามแม่เหล็กประจุไฟฟ้ากับสนามไฟฟ้า มวลกับสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็ก อยู่รอบแท่งแม่เหล็ก เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหล หรือผิวโลก เพราะมีแรงกระทาต่อสาร แม่เหล็ก/แท่งแม่เหล็ก (วัตถุทดสอบ) @ เข็มทิศวางตัวตรงข้าม @ ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก = ใกล้-มาก เข้มสูง ,ไกล-น้อย เข้นต่า (ไม่สม่าเสมอ) @ แท่งแม่เหล็ก 2 แท่งวางขนานแนวเดียวกัน = สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ(ทุกจุเข้มเท่ากัน)
  • 25. 25 แรงแม่เหล็กต่อประจุไฟฟ้า ได้แก่ อิเล็กตรอน (-) ทาให้หลุดอิสระได้[ส่วนใหญ่] เช่น ปืนอิเล็กตรอน ของหลอดภาพ TV/com ที่ยิงออกมากวาดบนจอ และ โปรตอน (+) เป็นตัวกาหนดทิศกระแสไฟฟ้าทาให้ หลุดอิสระไม่ได้เคลื่อนที่ตรงข้ามอิเล็กตรอน ประจุที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก (ทิศตั้งฉากกัน) ย่อมเกิดแรง แม่เหล็กกระทา แรงแม่เหล็กต่อกระแสไฟฟ้า ลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรง สนามแม่เหล็กกระทา @ ทิศทางของแรงแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงตามทิศทางกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก  การหมุน ตัวอย่าง คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ (ขดลวดวางระหว่างแท่งแม่เหล็กขั้วเหนือ-ใต้) = พัดลม เครื่องสูบน้า สว่าน [พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล]  เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือเจเนอเรเตอร์/ไดนาโม [พลังงานกล  พลังงานกลไฟฟ้า] สนามไฟฟ้ า คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟ้ามากระทากับประจุทดสอบ NS สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้ า แรงแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้ าสนามแม่เหล็ก S N + + + - - -+ - แรงแม่เหล็ก การเคลื่อนที่ประจุ หางลูกศร หัวลูกศร สนามแม่เหล็ก หางลูกศร (X) สนามแม่เหล็กพุ่งเข้า) หัวลูกศร () สนามแม่เหล็กพุ่งออก) โปรตอน (+) ใช้มือขวา อิเล็กตรอน (-) ใช้มือซ้าย นิวตรอน (0) ไม่เปลี่ยนทิศทาง
  • 26. 26 การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า ตัวอย่าง เช่น เครื่องดักฝุ่นขนาดเล็กมารับอิเล็กตรอน (-) จากแผ่นขั้วลบ แล้วจะถูกดูดเข้าไปเกาะที่แผ่น ขั้วบวก ,จอแสดงผล(เรดาร์ หลอดรังสีแคโทด เครื่องอัลตราซาวด์) มีปืนอิเล็กตรอนตรงไปบนจอให้สว่าง ต้องใช้สนามไฟฟ้า 2 ชุด เพื่อเบนทางเดินอิเล็กตรอน (แนวดิ่งและแนวราบ) ตกกระทบจอที่ตาแหน่งต่างๆ สนามโน้มถ่วง วัตถุหรือมวลทุกชนิดบนโลกถูกแรงดึงดูดทิศพุ่งเข้าหาศูนย์กลาง เกิดการตกอิสระหรือตก แบบเสรีกลับสู่พื้นโลกเสมอ ด้วยความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2 (ยิ่งสูงยิ่งลดลง) ดวงดาวอื่นก็มีเป็นของตัวเอง (ยิ่งมวลมากยิ่งเพิ่มขึ้น) @ ดวงจันทร์มีน้อยกว่าโลก 6 เท่า น้าหนัก คือ ขนาดของแรงโน้มถ่วงโลกที่กระทาต่อมวล = มวล x ค่าสนามโน้มถ่วง (W = mg) ประโยชน์ การสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานน้า (เขื่อน) @ สภาวะสุญญากาศ ที่ระดับความสูงเดียวกันวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาเดียวกัน (ไม่เกี่ยวกับรูปร่าง ,มวล) ตามหลักกาลิเลโอ คลื่น มี 2 ประเภท คือ คลื่นกล และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. คลื่นกล ต้องอาศัยตัวกลาง (สั่น) ในการเคลื่อนที่ 2 ลักษณะ คือ คลื่นตามยาว (สปริง ,เสียง) คลื่นตามขวาง (เส้นเชือก ,ผิวน้า) ความเร็วหลุดพ้น 11.2 กิโลเมตร/วินาที - - - - @ การสั่นของตัวกลางจะเกิดอยู่กับที่ไม่ได้เคลื่อนที่ตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น (ถ่ายทอดแต่พลังงานไป)
  • 27. 27 ความถี่คลื่น = รอบต่อวินาที (Hz)  คาบของคลื่น = วินาทีต่อรอบ (วินาที) ความเร็วคลื่น (เมตร/วินาที) = ความยาวคลื่น (เมตร) = ความยาวคลื่น (เมตร) x ความถี่คลื่น (Hz) ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ (เมตร) = ความเร็วคลื่นคงที่ (เมตร/วินาที) x เวลาใช้ในการเคลื่อนที่ (วินาที) เช่น คลื่นเสียง เป็นคลื่นกลตามยาว (ส่วนตัวกลางอากาศ : อัดดันสูง-ขยายดันต่า) สุญญากาศจึงไม่ได้ยินเสียง เสียงที่มนุษย์ได้ยิน ความถี่ = 20 – 20000 Hz ,ความดัง = 0 – 120 dB (ระดับปลอดภัย = 75-85 dB) สภาพความยืดหยุ่นของวัตถุต่าง  การถ่ายทอดพลังงาน/เคลื่อนที่ของเสียง (แข็ง>เหลว>ก๊าซ) อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิต่างๆ = 331 + 0.6 t (อุณหภูมิองศาเซลเซียส) เช่น จงหาระยะทางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ในเวลา 15 วินาที ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส การสะท้อนของคลื่นเสียง เมื่อตกกระทบพื้นผิวของตัวกลางที่แตกต่างกันจากที่เดินทางอยู่= เสียงก้อง (เอค โค่) ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 0.1 วินาทีและระยะห่างอย่างน้อย 17 เมตร จึงจะเกิดได้ ระบบโซนาร์ ใช้อัตราโซนิกหาระยะไกลหรือตาแหน่งวัตถุ (ประมง ธรณี วิศวกรรมและอุตสาหกรรม ทหาร) ระยะไกล = (เวลา/2 ) x ความเร็วคลื่นในตัวกลางนั้น เช่น พบฝูงปลาโดยใช้ระบบโซนาร์ ระยะเวลาที่ปล่อยโซนาร์และตรวจจับได้ คือ 6 วินาที จงหาระยะไกล ของฝูงปลา ถ้าความเร็วโซนาร์เท่ากับ 1540 เมตร/วินาที การหักเหของคลื่นเสียง เกิดเมื่อความหนาแน่นตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่แตกต่างกัน @ หนาแน่นมาก (น้าลึก กดอากาศสูง อุณหภูมิต่า) = ความเร็ว  ความยาวคลื่น มุม  @ หนาแน่นน้อย (น้าตื้น กดอากาศต่า อุณหภูมิสูง) = ความเร็ว  ความยาวคลื่น มุม  ความถี่เท่าเดิม เสียงสูง (ความถี่สูง เสียงแหลม)  เสียงต่า (ความถี่ต่า เสียงทุ้ม) คาบของคลื่น (วินาที) 5 10 15 20 เมตร จากภาพถ้าใช้เวลา 5 วินาที จงหาความเร็ว ของคลื่น และถ้าคลื่นนี้ใช้เวลาเคลื่อนที่ 20 วินาที จะได้ระยะทางเท่าใด
  • 28. 28 เสียงดัง (แอมพลิจูดสูง)  เสียงเบา (แอมพลิจูดต่า) คุณภาพของเสียง ใช้แยก/ระบุแหล่งกาเนิดเสียงที่ต่างกัน (ไม่ใช่เสียงด/ไม่ดี) หูกับการได้ยิน ชั้นนอก (ใบหู รูหู เยื่อแก้วหู)  ชั้นกลาง (กระดูกค้อน/ทั่ง/โกลน ยูสเตเชียนทิวป์ )  ชั้นใน (คลอเคลีย ท่อครึ่งวงกลม)  สมอง (แปล ประมวล ตอบสนอง) 2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง/กลับไป-กลับมา  ปลดปล่อยพลังงานรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วย สนามแม่เหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าซึ่งจัดเป็นคลื่นตามขวาง ความสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า  การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก (แมกเวลล์) @ ความถี่และพลังงานน้อยมาก (ความยาวคลื่นมาก น้อย) ไมโครเวฟ  วิทยุ  อินฟาเรด (ความร้อน)  แสงมองเห็น (ขาว)  UV (อัตราไวโอเรต) เอ็กซ์ (X-ray) แกมม่า  คอสมิก ความถี่ ชนิด สมบัติ 106 108 1012 1013 1014 1015 1018 1020 วิทยุ AM วิทยุ FM TV ,ไมโครเวฟ อินฟาเรด แสงขาว อัลตราไวโอเรต รังสีเอ็กซ์ รังสีแกมม่า สะท้อน (ชั้นไอโอโนสเฟียร์)ส่ง ส่งโดยตรง เตาไมโครเวฟ สื่อสาร (มือถือ) ความร้อน สื่อสารระยะไกล การมองเห็น สังเคราะห์แสง มะเร็งผิวหนัง ถ่ายภาพ x-ray ทาลายเซลล์มะเร็งและเนื้อเยื่อ แสงขาว เมื่อผ่านปริซึม : ม่วง  คราม  น้าเงิน  เขียว  เหลือง  แสด  แดง (พลังงาน/ ความถี่ มาก  น้อย  ความยาวคลื่น น้อย มาก : 400-700 นาโนเมตร)
  • 29. 29 คลื่นวิทยุความยาวคลื่น 10-4 -108 เมตร เกิดจาก คลื่นเสียง  สัญญาณไฟฟ้า + คลื่นวิทยุ(พาหะ)  ขยาย กาลังสูงขึ้น  สายอากาศ  เครื่องรับ (รับ  แยก  เสียง) แบ่ง 2 ประเภท - AM แอมพลิจูดเปลี่ยนแต่ความถี่คงที่ กระจายด้วยความถี่ 530 – 1600 kHz ระยะใกล้สะท้อนชั้น บรรยากาศได้(ไอโอโนสเฟียร์) - FM แอมพลิจูดคงที่แต่ความถี่เปลี่ยนแปลง กระจายด้วยความถี่ 88-108 MHz ระยะไกล ทะลุชั้นบรรยากาศ ได้(อวกาศ) รับส่งโดยตรงความคมชัดดีกว่า การใช้งานคลื่นวิทยุและไมโครเวฟ(ระบบเรดาร์) (ความถี่ต่า  สูง) สื่อสารทางทะเลส่งคลื่นวิทยุAM ส่งคลื่นสั้นระหว่างประเทศ  ส่งคลื่นวิทยุ FM  ส่งคลื่น โทรทัศน์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ สื่อสารผ่านดามเทียม การคานวณ ความเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (3x108 เสมอ) = ความถี่คลื่น(ระวังหน่วย) X ความยาวคลื่น @ หน่วย k (กิโล) = 103 M (เมกะ) = 106 G (จิกะ) = 109 เช่น สถานีวิทยุกรีนเวฟส่งกระจายคลื่นด้วยความถี่ 106.5 MHz จงหาความยาวคลื่นกรีนเวฟ อะตอม นิวเคลียสและกัมมันตภาพรังสี อะตอม ส่วนประกอบของสาร รัศมี 10-25 เมตร มวล 10-10 กิโลกรัม ประกอบด้วย 1. แบบจาลองอะตอมดอลตัน ”อะตอมมีลักษณะทรงกลม และเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งแบ่งแยก ไม่ได้และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทาให้สูญหายไปได้” 2. แบบจาลองอะตอมของทอมสัน “อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลุม มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน อนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน และจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปใน ทรงกลม” 3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด “อะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยู่ตรงกลาง มี ขนาดเล็ก และมีมวลมาก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวลน้อยวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส” 4. แบบจาลองอะตอมของโบร์ “การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเป็นวงคล้ายกับวงโคจรของ ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว และเรียกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่
  • 30. 30 อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ซึ่งมีระดับพลังงานต่าที่สุด เรียกว่า ระดับพลังงาน K และเรียกระดับพลังงานถัด ออกมาว่า ระดับพลังงาน L, M, N, …. ตามลาดับ แบบจาลองอะตอมปัจจุบัน = กลุ่มหมอก นิวเคลียส วิลเฮล์ม เรินต์เกน ขณะทดลองเกี่ยวกับรังสีแคโทดได้ค้นพบรังสีเอกซ์โดยบังเอิญ อานาจทะลุสูง ประสิทธิภาพดีในการเคลื่อนที่ผ่านวัตถุ 1. กัมมันตภาพรังสี เป็นปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง จากการสลายนิวเคลียสเกิดธาตุใหม่ พบครั้งแรกโดย เฮนรี่ เบ็กเคอเรล ขณะศึกษาการเรืองแสงของสารและพบยูเรเนียม (รังสียูเรนิก) = ธาตุ กัมมันตรังสีตัวแรก @ มารี คูรีและปิแอร์ คูรี = พอโลเนียม เรเดียม เรดอน (รางวัลโนเบล)
  • 31. 31 2. ชนิดและสมบัติของรังสี สมบัติ รังสีแอลฟา (α-ray) รังสีบีตา (-ray) รังสีแกมมา(-ray) 1. มวล 2. ประจุ 3. สถานะ 4. สัญลักษณ์ 5. อานาจการทะลุผ่าน 6. การทาให้อากาศ แตกตัวเป็นไอออน 7. การเบี่ยงเบนใน สนามแม่เหล็ก 8. การสลายให้รังสี 4 ยูนิต +2 นิวเคลียสของฮีเลียม 4 He2 น้อยผ่านอากาศ 3-5 ซ.ม. กั้นด้วยกระดาษบางๆ ดี โค้งออกจากแนวเดิม นิวเคลียสใหญ่เลขอะตอม ตั้งแต่ 84 2 ยูนิต -1 อิเล็กตรอนอัตราเร็วสูง 0 e-1 ปานกลาง ผ่านอากาศ1-3 ม. กั้น ด้วยแผ่นอะลูมิเนียม 1-2 ซ.ม. ปานกลาง โค้งออกจากแนวเดิมมากกว่าทิศ ตรงข้าม นิวเคลียสที่มีนิวตรอนมาก เกินไป 0 ยูนิต 0 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  มาก 100 เท่า  กั้นด้วย ตะกั่วหรือคอนกรีตหนา น้อย ไม่เบี่ยงเบน จากการเปลี่ยนระดับ พลังงานนิวเคลียสสูงต่า การแตกตัวเป็นไอออนในสารที่รังสีทั้ง 3 ชนิดผ่าน 3. นิวเคลียสและไอโซโทป - นิวเคลียส = ทรงกลม p(+) + n(0) เรียกว่า นิวคลีออน ที่ยึดเหนี่ยวไว้ด้วยกันด้วยแรงนิวเคลียร์มหาศาล(p และ n ถูกอัดแน่น) ดั้งนั้น พลังงานยึดเหนี่ยว (ทาให้นิวคลีออนในนิวเคลียสแยกอิสระจากกันได้พอดี) จึงมี ค่าสูงมาก 4. สัญลักษณ์นิวเคลียสของธาตุ A XZ @ n = บน – ล่าง @ ธาตุหนึ่งธาตุอาจมีหลายไอโซโทป (p เท่า n ต่าง) แบ่งเป็น ไอโซโทปกัมมันตรังสี (ไม่เสถียรแผ่รังสี) ไอโซโทปเสถียร 5. การสลายกัมมันตรังสี + (ผลผลิตของการสลาย) เกิดอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งนิวเคลียสเสถียร เรียกกระบวนการนี้ว่า อนุกรมการสลาย มวลอะตอม = p+n : เลขนิวคลีออน α   เลขอะตอม p (โดยปกติ p = e) นิวเคลียสตั้งต้น นิวเคลียสลูก รังสีที่ปล่อยออกมา
  • 32. 32 @ ผลรวมของเลขมวล/เลขอะตอมก่อนสลาย = ผลรวมของเลขมวล/เลขอะตอมหลังสลาย เช่น โพรแทกทิเนียม (226 Pa91) สลายให้อนุภาคแอลฟาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียสเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่ คืออะไร โซเดียม (24 Na11) สลายให้อนุภาคบีตาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียสเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่คืออะไร เรดอนซึ่งอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น (222 Rn*86) สลายให้อนุภาคแกมมาแล้วทาให้โครงสร้างนิวเคลียส เปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่คืออะไร ตัวเลือก 222 Rn86 24 Mg12 222 Ac89 กัมมันตภาพ การสลายไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อมแต่เป็นไปตามหลักสถิติ (สมบัติเฉพาะตัว # อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี) บอกอัตราการสลายตัว/แผ่รังสี  : ครึ่งชีวิต  เรเดียม (Ra) – 220 = 52 วินาที สทรอนเทียม (Sr) -90 = 28 ปี ไอโอดีน (I) – 128 = 25 นาที เรเดียม (Ra) – 226 = 1,602 ปี เรเดียม (Ra) – 222 = 3.8 วัน คาร์บอน (C) – 14 = 5,730 ปี โคบอลล์ (Co) – 60 = 5.24 ปี พูโตเนียม (Pu) – 239 = 24,400 ปี โพแทสเซียม (K) – 40 = 1.3 x 109 ปี ยูเรเนียม (U) – 238 = 4.5 x 109 ปี เช่น ฟอสฟอรัส (P)-32 มีครึ่งชีวิต 14 วัน ใช้เวลาเท่าใดที่เหลือ 25% @ รังสีพื้นฐาน เป็นส่วยหนึ่งของสิ่งแวดล้อมที่ทุกคนได้รับตลอดเวลาหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่ปริมาณไม่มากจึง ไม่อันตราย ได้แก่ เรเดียม (อากาศ หินดิน ต้นไม้) คอสมิก (อวกาศ) สิ่งประดิษฐ์และกิจกรรมมนุษย์(วิทย์ อุต แพทย์อาหาร) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ/ระดับพลังงานทาให้เกิด นิวเคลียสใหม่ X+a  Y+b หรือ X(a,b) Y หลักการ 1. คงตัวของประจุไฟฟ้า (ก่อน = หลัง) 2. คงตัวของจานวนนิวคลีออน (เลขมวลก่อน = หลัง) 3. มวล+พลังงานก่อน = หลัง (ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์) 4. พลังงานที่ปลดปล่อย = พลังงานนิวเคลียร์ เวลา ปริมาณ 1/2 1 ครึ่งชีวิต
  • 33. 33 2 ประเภท 1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (นิวเคลียสธาตุหนักไม่เสถียรแตกตัวให้เบากว่า 2 นิวเคลียส + n ความเร็วสูง + พลังงาน นิวเคลียร์) = โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ,ระเบิดนิวเคลียร์ 2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (หลอมตัวของ 2 นิวเคลียสเบาเป็นหนัก พร้อมทั้ง ปลดปล่อยพลังงานนิวเคลียร์ (เทอร์โมนิวเคลียร์ซึ่งมากกว่าฟิสชัน) มนุษย์ยังไม่สามารถควบคุมได้= ดวงอาทิตย์ ประโยชน์ของกัมมันตรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ ด้านเกษตรกรรม ฟอสฟอรัส-32 ผสมปุ๋ ยศึกษาการดูดซึมของพืช ไอโอดีน-131 ผสมในอาหารสัตว์ศึกษาการทางานต่อมไทรอยด์ กาจัดแมลงโดยการอาบรังสี ถนอมอาหารโดยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย/รา ด้านการแพทย์ วินิจฉัยโรค (โซเดียม-24 เพื่อดูระบบการหมุนเวียนโลหิต) รังษาโรค (แกมมา – มะเร็ง) ด้านอุตสาหกรรม ตรวจสภาพวัตถุโดยไม่ทาลาย(ภ่ายภาพรังสี – รอยร้าว/เชื่อม) ควบคุมความหนาบางโลหะ ตรวจตาแหน่งรั่วท่อประปา ด้านการหาอายุ โบราณวัตถุ (คาร์อน-14) ธรณีวิทยา (ยูเรเนียม-238) ด้านพลังงาน ผลิตกระแสไฟฟ้า ,ขับเคลื่อนเครื่อนยนต์ขนาดใหญ่ ด้านการทหาร ระเบิดนิวเคลียร์ อันตรายและการป้ องกันกัมมันตภาพรังสี อันตราย = เกิดการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อ (ตาย/มะเร็ง) ความรุนแรง α ปริมาณที่รับ (ส่วนใหญ่คลื่นไส้เบื่อ อาหาร ปวดหัวและผมร่วง) ตาแหน่งที่ไว คือ เยื่อสมองและอวัยวะสืบพันธุ์ (พิการในรุ่นลูกได้) การป้องกัน = อยู่ให้ห่างที่สุด เครื่องป้องกัน (ตะกั่ว) ระยะสั้นที่สุด ใช้หุ่นยนต์/แขนกลสัมผัสแทน เครื่องมือ วัดปริมาณรังสีติตัวตลอดระยะการทางาน สัญลักษณ์สีชมพู พื้นสีเหลือง
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38 สรุปเข้ม O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (ชีววิทยา)
  • 39. 39 ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต) สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต ชีวนิเวศ (Biome) หมายถึง ระบบนิเวศที่แบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน น้า อุณหภูมิ องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ ไบโอมแบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ เช่น ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมทะเลทราย ไบโอมป่าสน ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่ กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ ร่วมกัน สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี้ 1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสี เขียว 2. ผู้บริโภค = สามารถสร้างอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็น ประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์ การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในระบบนิเวศ โดยพืชจะเปลี่ยนให้เป็นพลังงานเคมี (อาหาร)โดย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และจะถูกถ่ายทอดในสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ (ห่วงโซ่อาหารและ สายใยอาหาร) แต่พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการ ดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภคไม่ได้เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) ซึ่งจะมีการ ถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมในสิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต แต่พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับพลังงานขั้นสุดท้าย
  • 40. 40 พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิต จนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด 1. พีระมิดจานวน เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร 2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่อาหาร 3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 1. อุณหภูมิ 1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของ เอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ) 1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิ ร่างกายให้คงที่ 1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทยซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น 1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง 2. แสง 2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก 2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน 2.3 การหุบบานของดอกไม้เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า 3. น้าและความชื้น 3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง 3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า
  • 41. 41 4. ดิน 4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต 4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ
  • 42. 42 การปรับตัว (Adaptation) เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ การปรับตัวมี 3 แบบ 1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น 1.1 หมีขั้วโลกหรือสัตว์ในเขตหนาวมีขนยาวปกคลุม และมีชั้นไขมันใต้ผิวหนังป้องกันความหนาว 1.2 จระเข้ผิวลาตัวเป็นเกล็ด ป้องกันการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย 1.3 โกงกางและพืชป่าชายเลน มีใบอวบน้าเพื่อเก็บน้าจืดและผลจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นเพื่อป้องน้าพัด 1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศช่วยให้ลอยน้าได้ 2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทางานอวัยวะ) เช่น 2.1 การขับเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย 2.2 สัตว์เลือดอุ่นผลิตฮอร์โมนเพศ/สืบพันธุ์เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณแสงต่อวันลดลง/เริ่มผสมพันธุ์ฤดูใบไม้ร่วง 2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเลทรายจะกินเมล็ดพืชที่แห้งและไม่ดื่มน้าแต่ได้จากเมแทบอลิซึม (คล้ายอูฐ) 3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย) 3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของนกจากเขตหนาวมาเขตอบอุ่น 3.3 สัตว์ป่ากินดินโป่งที่มีแร่ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต วัฏจักรสาร ร่างกายประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น O, C, H, N, Ca, P, S (สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์) - วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด และหมุนเวียนผ่านหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงในรูป แก๊ส CO2 - วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนใน สิ่งมีชีวิต โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์และจุลินทรีย์ - วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่บรรยากาศ