SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
1
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน
นําเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
สมาชิกกลุมนําเสนอ
1. นางสาวชยิสรา สกุลคู เลขที่ 4
2. นางสาวธวัลรัตน แพรสมบูรณ เลขที่ 11
3. นางสาวพรภัสสร เรืองวิโรจนกุล เลขที่ 15
4. นางสาวพลอย สิทธิชีวภาค เลขที่ 18
5. นายธนพล ศิริทวีสุข เลขที่ 34
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 126 สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร
งานนําเสนอขอมูลนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
ก
คํานํา
โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5 (ว 30245) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จัดทําขึ้นเพื่อศึกษา
ผลของฮอรโมนพืช ตอการเจริญเติบโตของตนไม เพื่อบูรณาการกับหนวยงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา และเพื่อนําความรูที่ไดไปใชในการเรียนวิชาชีววิทยาตอไป โดยโครงงานนี้ไดทําการศึกษาผลของ
ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน
ในการจัดทําโครงงานครั้งนี้ทางผูจัดทําตองขอขอบคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ผูใหความรูและให
คําปรึกษามาโดยตลอด คณะผูจัดทําหวังวาโครงงานนี้จะเปนประโยชนใหผูอานทุก ๆ ทาน หากมีขอผิดพลาด
ประการใดทางคณะผูจัดทําตองขออภัยไว ณ ที่นี้
คณะผูจัดทํา
2 สิงหาคม 2560
ข
บทคัดยอ
โครงงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของสารละลายออกซินที่ความเขมขนตางๆตอจํานวนกิ่ง
ขางของตนผักหวาน โดยแบงชุดการทดลองออกเปน 3 ชุด ไดแก ชุดควบคุม (น้ําเปลา) ชุดความเขมขนต่ํา
(สารละลายออกซิน 0.03 % v/v) และชุดความเขมขนสูง (สารละลายออกซิน 0.45% v/v) และในแตละชุด
การทดลองประกอบดวยตนผักหวาน 3 กระถาง และทําการทดลองหาผลของสารละลายออกซินตอจํานวนกิ่ง
ขางของตนผักหวานโดยการฉีดสารละลายออกซินบนตนผักหวาน และนับจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นทุกวันจันทร
ตั้งแตวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 พบวาชุดควบคุม เกิดมีจํานวนกิ่งขางเพิ่มขึ้นมาก
ที่สุด ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 3.7 กิ่ง ชุดที่มีการเพิ่มขึ้นของกิ่งขางรองลงมา คือชุดความเขมขนต่ํา
ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 1.9 กิ่ง และชุดที่มีการเพิ่มขึ้นของกิ่งขางนอยที่สุด คือชุดความเขมขนสูง
ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 0.9 กิ่ง
ค
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาจากครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ครูผูสอน ที่ไดใหคําเสนอแนะ
แนวคิด ตลอดจนการแกปญหาตางๆมาโดยตลอด จนโครงงานเลมนี้เสร็จสมบูรณ คณะผูจัดทําจึง
ขอขอบพระคุณเปนอยางสูง
ขอขอบพระคุณคุณพอ คุณแม และครอบครัว ที่ใหคําปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องตางๆ รวมทั้ง
เปนกําลังใจที่ดีเสมอมา
และสุดทายขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนที่ชวยชี้แนะ และชวยจัดหาอุปกรณเปนผลใหโครงงานนี้สําเร็จไป
ไดดวยดี
คณะผูจัดทํา
2 สิงหาคม 2560
ง
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา ก
บทคัดยอ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
บทที่ 1 บทนําโครงงาน 1
ปญหา ที่มา และ ความสําคัญของโครงงาน 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 2
ขอมูลรายละเอียดของพืชที่ใชทดลอง 2
ขอมูลรายละเอียดฮอรโมนที่ทดลอง 5
บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงงาน 9
สมมติฐานการทดลอง และ จุดประสงคการทดลอง 9
ตัวแปรการทดลอง 9
อุปกรณการทดลอง 10
ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง และ ขั้นตอนการทดลอง 11
บทที่ 4 ผลการทดลอง 12
ตารางบันทึกผลการทดลอง 13
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ ขอเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16
1
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน
บทที่ 1 บทนําโครงงาน
ปญหา ที่มา และ ความสําคัญของโครงงาน
ปญหา:
- ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน มีผลตอจํานวนกิ่งของตนผักหวานหรือไม
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน:
- เนื่องจากในปจจุบันมีการนําฮอรโมนออกซินมาใชในการปรับปรุงลักษณะของตนไมมาก ทางคณะ
ผูจัดทําจึงไดทําโครงงานการทดลองชุดนี้ขึ้น เพื่อนําไปศึกษาตอประกอบกับความรูในวิชาชีววิทยา
และประโยชนในอนาคตตอไป
2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
ขอมูลรายละเอียดของพืชที่ใชทดลอง
ผักหวาน
ชื่อสามัญ: Star gooseberry
ชื่อวิทยาศาสตร: Sauropus androgynus (L.) Merr.
วงศ: PHYLLANTHACEAE
ชื่อทองถิ่น:
- ผักหวาน (ทั่วไป)
- มะยมปา (ประจวบคีรีขันธ)
- ผักหวานใตใบ (สตูล)
- กานตง จาผักหวาน ใตใบใหญ ผักหลน (ภาคเหนือ)
- นานาเซียม (มลายู-สตูล)
- ตาเชเคาะ โถหลุยกะนีเตาะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน)
ลักษณะของตนผักหวาน
• ตนผักหวาน เปนไมพุมขนาดกลาง สูงประมาณ 0.5-3 เมตร ลําตนแข็งแตกกิ่งกานระนาบไปกับพื้น
หรือเกือบปรกดิน ลําตนออน กลม เหลี่ยม เปลือกตนขรุขระสีน้ําตาล กิ่งออนสีเขียวเขมผิวเรียบ กิ่ง
เรียวงอเล็กนอยตามขอ ขยายพันธุโดยใชเมล็ดและการปกชํากิ่ง เจริญเติบโตไดดีในที่ลุมต่ําที่มี
ความชื้นพอเหมาะ ดินรวนชุมชื้นและระบายน้ําไดดี พบไดตามปาดิบแลง ปาละเมาะ ปาดิบชื้น ที่โลง
แจง ตามเรือกสวน หรือตามที่รกรางทั่วไป
http://www.nanagarden.com/tag/ตนผักหวาน
3
• ใบผักหวาน เปนใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ใบเปนรูปไข รูปไขแกมขอบขนาน รูปขอบขนาน รูปคลาย
ขนมเปยกปูน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ กวางประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร และ ยาว
ประมาณ 2-7 เซนติเมตร ใบเรียบเกลี้ยงทั้งสองดาน หลังใบเปนสีเขียวเขม ทองใบเปนสีเขียวออน
เสนแขนงใบมีขางละ 5-7 เสน โคงเล็กนอย ใบแหงจะเปนสีเขียวอมเหลือง กานใบมีขนาดสั้น 2-4
มิลลิเมตร หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม 1.7-3 มิลลิเมตร
• ดอกผักหวาน ออกดอกเปนชอ เปนกระจุกตามซอกใบ เรียงไปตามกานใบ ดอกเดี่ยวแบบแยกเพศแต
อยูบนตนเดียว มีใบปรกอยูดานบน ดอกมีขนาดเล็ก โดยตอนบนของกิ่งกานจะเปนดอกเพศเมีย มี 1-
3 ดอก รังไขจะอยูเหนือวงกลีบ สีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 รูปไขกลับ ซอน เรียงเหลื่อมกันเปน
ชั้น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ และกลีบดอกจะเปนสีแดงเขมหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเขม สวนตอนลาง
เปนดอกเพศผู มีจํานวนมาก มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ เปนรูปจานกลมแบน สีน้ําตาลแดง
มีขนาด 0.5-1 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู 3 กาน กานเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเปนแฉก 3 แฉก โดย
จะออกดอกในชวงเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน
• ผลผักหวานบาน ผลเปนรูปทรงกลมแปน มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5-1.8 เซนติเมตร และยาว 1-
1.3 เซนติเมตร ผลฉ่ําน้ํา ผิวผลเปนพูเล็กนอย สีเขียวถึงสีขาว ผลเปนสีขาวอมเหลือง แหงแลวจะแตก
ได มีกลีบเลี้ยงสีแดงหอยลงใตใบ ภายในผลแบงเปน 6 พู ในแตละพูจะมี 1 เมล็ด เมล็ดเปนรูปครึ่ง
วงกลม เปลือกเมล็ดเปนสีดําหรือสีน้ําตาลเขม มีความหนาและแข็ง เมล็ดมีขนาดกวาง 5 มิลลิเมตร
และยาว 8 มิลลิเมตร
https://medthai.com/ผักหวานบาน
https://medthai.com/ผักหวานบาน
4
สรรพคุณของตนผักหวาน
ราก
ชวยรักษาโรคซางทุกชนิด มะเร็งกอนเนื้อหรือเนื้องอกที่ผิดปกติ ฝสารมะเร็งไฟ มะเร็งคุด สันนิบาตฝเครือ คาง
ทูม อาการเจ็บในปาก ปากเหม็น คอพอก โรคเลือดลม โรคอีสา ตัวรอน ไขกลับไขซ้ํา ไข ขัด ไขอีสุกอีใส ไอ
ปสสาวะขัด ขัดเบา ฝ แกแผลฝ เขียวกระทุงพิษ บวม
ใบ
ชวยรักษาตาอักเสบ แผลในจมูก แกฝาขาวในเด็กทารก แกไข ความรอนในรางกาย อาการปสสาวะออกนอย
หญิงคลอดบุตรและรกไมเคลื่อน โรคผิวหนังติดเชื้อ ฝ แกแผลฝ บวม หัด ปวดเมื่อยตามรางกาย แมที่ไมมี
น้ํานมใหบุตร
ตน
ชวยรักษาแผลในจมูก โรคผิวหนังติดเชื้อ ปวดเมื่อยตามรางกาย
หมายเหตุ การนําผักหวานมาใชเปนยาสมุนไพร ถาเปนใบใหใชใบสด สวนรากใหเก็บเมื่อมีอายุ 2 ปขึ้นไป แลว
นํามาทําใหแหงกอนนําไปใช
ประโยชนของตนผักหวาน
1. ใบและยอดออนเมื่อนํามาลวก ตม หรือนึ่ง กินเปนผักจิ้มน้ําพริก ลาบ ปลานึ่ง หรือจะนํามาประกอบ
อาหาร หรือใชเพื่อเพิ่มรสชาติใหอาหารมีรสหวานตามธรรมชาติ เชน แกงเลียง แกงออม แกงสม แกงจืด แกง
กับหมู แกงกับปลา แกงเขียวหวาน แกงกะทิสด แกงใสไขมดแดง แกงเห็ด ผัดน้ํามันหอย ยําผักหวาน
กวยเตี๋ยวราดหนาผักหวาน ฯลฯ หรือนําไปแปรรูปเปนน้ําปนผักหวาน ชาผักหวาน หรือเครื่องดื่มตานอนุมูล
อิสระ ฯลฯ
2. ผักหวานบานเปนผักที่มีวิตามินเอมากเปนพิเศษ (วิตามินเอมีประโยชนกับสายตามาก) และยังเปนผัก
ในจํานวนไมมากนักที่มีวิตามินเค (วิตามินเคมีประโยชนในเรื่องการชวยใหเลือดแข็งตัวเมื่อมีบาดแผลแลว
เลือดออก ทําใหตับทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ทํางานรวมกับวิตามินดีในการควบคุมระดับแคลเซียมใน
รางกาย ชวยเสริมสรางเซลลกระดูกและเนื้อเยื่อในไต)
5
3. ผักหวานบานเปนผักที่ชวยในการขับถายไดดี ชวยทําใหกระดูกและฟนแข็งแรง ชวยปองกันโรคภูมิแพ
จากมลพิษทางอากาศ ชวยในการยืดหดตัวของกลามเนื้อ
4. ตนผักหวานบานมีทรงพุมไมใหญโต ทรงกิ่งและใบดูงดงามคลายตนมะยม มีใบเขียวตลอดป มีดอก
และผลหอยอยูใตใบดูแปลกตาและสวยงาม อีกทั้งสีผลยังเปนสีขาวตัดกับกลีบรองผลซึ่งเปนสีแดง จึงมีความ
งดงามและดูเปนเอกลักษณ จึงเหมาะสําหรับนํามาใชปลูกเปนไมประดับในบริเวณบานไดดี
ขอควรระวังในการใชผักหวานบาน
ไมควรนําผักหวานบานมารับประทานแบบสด ๆ ในจํานวนมาก เนื่องจากผักชนิดนี้มีสาร Papaverine ที่เปน
พิษตอปอด ทําใหเกิดอาการเวียนศีรษะ และทองผูกได
รายละเอียดขอมูลฮอรโมนที่ทดลอง
ฮอรโมนออกซิน (Auxin)
ออกซินเปนฮอรโมนพืชชนิดแรกๆ ที่มนุษยคนพบ โดยในป ค.ศ. 1880 ชารล ดารวิน สังเกตวาสวน
ยอดออนของหญาคานารี (Canary Grass) มักจะโคงเขาหาแสงเสมอ เขาจึงทําการทดลองและพบวา หากสวน
ยอดออนถูกเด็ดออกไป ลําตนจะไมโคงเขาหาแสง ซึ่งในทางตรงกันขาม หากยอดออนของพืชยังอยู ลําตน
มักจะโคงเขาหาแสงเสมอ ดารวินจึงสรุปวา สวนปลายของยอดออน สามารถควบคุมใหสวนลําตนโคงเขาหา
แสง ตอมา Boysen-Jensen และ Paal ไดศึกษา และแสดงใหเห็นวา สารดังกลาวนี้จะเคลื่อนที่ลงสูสวนลาง
ของโคลีออพไทล ในอัตราเทากันทุกดาน และทําหนาที่เปนสารกระตุนการเจริญเติบโต
ในป ค.ศ. 1926 Went ไดทํางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทลได โดยตัด
สวนยอดของโคลีออพไทลของขาวโอตแลววางลงบนวุนจะทําใหสารเคมีที่กระตุนการเจริญเติบโตไหลลงสูวุน
เมื่อนําวุนไปวางลงที่ดานหนึ่งของโคลีออพไทลที่ไมมียอดดานใดดานหนึ่งจะทําใหโคลีออพไทลดังกลาวโคงได
Went สรุปวาสารเคมีไดซึมลงสูวุนแลวซึมจากวุนลงสูสวนของโคลีออพไทล วิธีการดังกลาวนอกจากเปนวิธีการ
แรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ไดแลว ยังเปนวิธีการวัดปริมาณของฮอรโมนไดดวย เปนวิธีที่เรียกวา Bioassay
สารเคมีดังกลาวไดรับการตั้งชื่อวา ออกซิน ซึ่งในปจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่ว ๆ ไป และมีความสําคัญตอการ
เจริญเติบโตของพืช สังเคราะหไดจากสวนเนื้อเยื่อเจริญของลําตน ปลายราก ใบออน ดอก และ ผล และพบ
มากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด และคัพภะ รวมทั้งใบที่กําลังเจริญเติบโต
6
ในป ค.ศ. 1934 ไดพบวา ออกซินเปนสารเคมีชื่อ กรดอินโดลแอซีติก (Indoleacetic acid : IAA)
หรือ เรียกยอ ๆ วา IAA เปนฮอรโมนที่พืชสรางจากกลุมเซลลเนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยอดออน แลวแพรจาก
ยอดออนไปยังเซลลอื่น ๆ ที่อยูดานลาง โดยจะไปกระตุนเซลลบริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวใหเจริญ ขยาย
ขนาดขึ้น ทําใหพืชเติบโต สูงขึ้น การทํางานของออกซินขึ้นอยูกับสิ่งเรา เชน แสง อุณหภูมิ แรงโนมถวงของ
โลก สิ่งสัมผัส และ อื่น ๆ แสงมีผลตอการแพรกระจายของออกซินที่ยอดออน โดยออกซินจะแพรกระจายจาก
ดานที่มีแสงมาก ปลายยอดจึงโคงเขาหาแสง ซึ่งใหผลตรงขามกับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนี
แสง แตเซลลที่ปลายรากตอบสนองตอออกซินตางจากเซลลที่ปลายยอด บริเวณใดของราก ที่มีแสงนอย จะมี
ออกซินสะสมมาก จึงยับยั้งการเจริญของเซลลราก บริเวณที่มีแสงมาก มีออกซินนอยกวา เซลลรากขยายตัว
มากกวา จึงเกิดการโคงตัวของปลายรากหนีแสง
จากการทดลองของ Went พบวาถาตัดเยื่อหุม
ยอดออนของตนกลาขาวโอตนําไปวางบนวุนที่ตัดเปนชิ้น
เล็ก ๆ สักครู และนําวุนชิ้นนั้นไปวางบนตนกลาอีกตนที่
ตัดเยื่อหุมยอดออนออก จะเห็นวาออกซินสามารถ
กระตุนการเจริญเติบโตผานวุนได
7
ออกซินที่มีความเขมขนต่ําจะใหผลในทางกระตุนการเจริญเติบโตของพืช แตถามีความเขมขนที่สูงเกิด
ไปกลับมีผลในทางตรงขาม เนื้อเยื่อแตละชนิดของพืช ตอบสนองตอความเขมขนของออกซินไมเทากัน ดัง
กราฟสรุปวา ถาออกซินเขมขนมาก จะยับยั้งการเจริญของตา แตเมื่อตัดยอดออกไป จึงขาดแหลงสรางออกซิน
ที่จะยับยั้งการเจริญของตาขาง ทําใหตาขางเจริญไดดี
8
บทบาทของออกซินที่มีตอพืช
1. ในระดับเซลล ออกซินทําใหเกิดการขยายตัวของเซลล เชน ทําใหเกิดการขยายตัวของใบทําใหผล
เจริญเติบโต เชน กระตุนการแบงเซลลของแคมเบียม กรตุนใหเกิดทอน้ําและทออาหาร กระตุนใหเกิดรากจา
การปกชําพืช เชน การใช IBA ในการเรงรากของกิ่งชํา แลวยังกระตุนใหเกิดแคลลัส (Callus) ในการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ การตอบสนองในระดับเซลลที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล
2. ยับยั้งการแตกตาขาง ไมใหตาขางเจริญเติบโต
3. การติดผล เชน กรณีของมะเขือเทศ ออกซิน จะเรงใหเกิดผล และถาใช NAA ในเงาะจะเรงการเจริญของ
เกสรตัวผูทําใหสามารถผสมกับเกสรตัวเมียได
4. ปองกันการหลุดรวงของใบ ดอก ผล โดยออกซินจะยับยั้งไมใหเกิด Adcission Layer ขึ้นมา เชน การใช
2,4-D ปองกันผลสมใหรวง หรือ NAA สามารถปองกันการรวงของผลมะมวง
5. กระตุนการออกรากของกิ่งปกชําและกิ่งตอน ควบคุมการติดและการเติบโตของผลไม และยังสามารถ
กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิดได
ออกซินบางชนิดมีสมบัติเปนสารเคมีปราบวัชพืช มีผูนิยมใชสาร 2,4-D ใชกําจัดวัชพืชประเภทใบกวาง
(ใบเลี้ยงคู) และ ใชกรด 2,2-ไดคลอโรโพรพิออนิก (2,2-dichloropropionic acid) กําจัดวัชพืชใบแคบ (ใบ
เลี้ยงเดี่ยว) เชน พวกหญาตางๆ
ฮอรโมนออกซินแบงไดเปน 2 ประเภท คือ
1. ออกซินธรรมชาติ ไดแก Indole-3-Acetic Acid (IAA) และ Indole-3-Butyric Acid (IBA)
2. ออกซินสังเคราะหไดแก Naphthalene Acetic Acid (NAA) 2,4-Dichlorophenoxy Acetic Acid (2,4-
D) และ 2,4,5-Trichlorophenoxy Acetic Acid (2,4,5-T)
9
บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงงาน
สมมติฐานการทดลอง และ จุดประสงคการทดลอง
สมมติฐานการทดลอง:
- ถาฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกันมีผลตอจํานวนกิ่งของตนผักหวาน แลว ฮอรโมนออกซินที่มี
ความเขมขนมากจะทําใหตนผักหวานมีจํานวนกิ่งมากขึ้น
จุดประสงคของโครงงาน:
- เพื่อศึกษาผลของฮอรโมนออกซินตอจํานวนกิ่งของผักหวาน
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรตน:
- ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน
ตัวแปรตาม:
- จํานวนกิ่งเปลี่ยนแปลงของตนผักหวาน
ตัวแปรควบคุม:
- ปริมาณแสง น้ํา แรธาตุ
- ขนาดตนผักหวานขณะเริ่มตนทดลอง
- ขนาดกระถางปลูกตนผักหวาน
10
อุปกรณการทดลอง
อุปกรณ
1. ตนผักหวานพันธุเดียวกัน อายุใกลเคียงกัน 9 กระถาง แบงเปน 3 กลุม (ชุดควบคุม, ชุดทดลอง Low Dose,
ชุดทดลอง High Dose) กลุมละ 3 ตน
2.กระบอกฉีดฮอรโมน 3 กระบอก (ชุดควบคุม, ชุดทดลอง Low Dose, ชุดทดลอง High Dose)
3. เชือก / ดาย
4. กระบอกตวง
5. บัวรดน้ํา
6. ปายชื่อพืช
สารเคมี
1. สารละลายฮอรโมนออกซินเขมขน 4.5%
2. น้ํา
11
ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง และ ขั้นตอนการทดลอง
ระยะเวลาในการทดลอง
- 8 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2560
วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง
- นับจํานวนกิ่งของตนผักหวานทุก ๆ 1 อาทิตย ภายในระยะเวลาในการทดลอง โดยจะผูกเชือก/ดาย
ไวที่กิ่งที่นับแลว และบันทึกขอมูลจํานวนกิ่งลงในใบบันทึกผลการทดลอง
ขั้นตอนการทดลอง
1. จัดเตรียมอุปกรณและสารเคมี
2. เตรียมสารละลายฮอรโมนความเขมขนตางๆ
2.1. ชุดควบคุม ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0 %v/v น้ําเปลา
2.2. ชุดทดลอง Low Dose ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0.03%v/v จัดเตรียมโดยใชสารละลาย
ฮอรโมนเขมขน 4.5%v/v 30 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํา 300 มิลลิลิตร
2.3. ชุดทดลอง High Dose ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0.45%v/v จัดเตรียมโดยใชสารละลาย
ฮอรโมนเขมขน 4.5%v/v 2 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํา 300 มิลลิลิตร
3. ติดฉลากบนกระบอกฉีดฮอรโมน และ กระถางตนผักหวาน
4. ผูกกิ่งตนผักหวานดวยเชือก / ดาย
5. นับจํานวนกิ่งของตนผักหวาน บันทึกผล
6. ฉีดฮอรโมนออกซินจากกระบอกฉีด
7. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของตนผักหวาน บันทึกผล
8. หากตนผักหวานมีจํานวนกิ่งมากขึ้น ใหผูกเชือก / ดายที่กิ่งที่เพิ่มขึ้นมา
12
บทที่ 4 ผลการทดลอง
เนื่องจากจํานวนตนผักหวาน ในแตละกระถางมีจํานวนตนไมเทากัน ผูจัดทําจึงบันทึกผลการทดลอง
ในรูปแบบ จํานวนกิ่งเฉลี่ยของตนผักหวาน บันทึกผลตางระหวางจํานวนกิ่งวันที่ทําการทดลองวันสุดทายและ
วันแรก และบันทึกผลตางจํานวนกิ่งเฉลี่ย 3 ตนที่ใชชุดทดลองเดียวกัน โดยสามารถคํานวณไดจากสมการดังนี้
จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยของตนผักหวาน =
จํานวนกิ่งขางของตนผักหวานในกระถาง
จํานวนตนผักหวานในกระถาง
ผลตาง = จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยวันสุดทาย − จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยวันเริ่มตน
เฉลี่ย =
คาในกระถางที่ 1 + คาในกระถางที่ 2 + คาในกระถางที่ 3
3
13
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
จํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน (กิ่ง)
หมายเหตุ
ชุดควบคุม ชุดทดลอง Low Dose ชุดทดลอง High Doseกระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
กระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
กระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
12 มิ.ย. 60 21 24 23 22.67 23 23 23 23.00 25 25 28 26.00 กระถางละ 3 ตน,ฉีดฮอรโมนวันจันทร ศุกร
19 มิ.ย. 60 22 24 25 23.67 15 24 25 21.33 26 26 30 27.33 ชุด Low Dose กระถางที่ 1 เหลือ 2 ตน
26 มิ.ย. 60 15 27 28 23.33 15 22 26 21.00 26 26 15 22.33 ควบคุมกระถาง1, High Doseกระถาง3 เหลือ 2 ตน
3 ก.ค. 60 15 28 29 24.00 16 20 29 21.67 2.6 28 15 15.20 ฉีดฮอรโมนวันจันทร เนื่องจากตนไมใกลตาย
11 ก.ค. 60 18 30 20 22.67 16 19 30 21.67 27 29 16 24.00 ชุดควบคุม กระถางที่ 3 เหลือ 2 ตน
17 ก.ค. 60 18 30 23 23.67 18 20 30 22.67 28 29 16 24.33
31 ก.ค. 60 19 35 25 26.33 21 20 35 25.33 28 31 18 25.67
14
ตารางแปลผลการทดลอง
วันที่
จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยของตนผักหวาน (กิ่ง)
หมายเหตุ
ชุดควบคุม ชุดทดลอง Low Dose ชุดทดลอง High Dose
กระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
กระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
กระถางที่1
กระถางที่2
กระถางที่3
เฉลี่ย
12 มิ.ย. 60 7 8 7.7 7.6 7.7 7.7 7.7 7.7 8.3 8.3 9.3 8.6 กระถางละ 3 ตน,ฉีดฮอรโมนวันจันทร ศุกร
19 มิ.ย. 60 7.3 8 8.3 7.9 7.5 8 8.3 7.9 8.7 8.7 10 9.1 ชุด Low Dose กระถางที่ 1 เหลือ 2 ตน
26 มิ.ย. 60 7.5 9 9.3 8.6 7.5 7.3 8.7 7.8 8.7 8.7 7.5 8.3 ควบคุมกระถาง 1, High Dose กระถาง 3 เหลือ 2 ตน
3 ก.ค. 60 7.5 9.3 9.7 8.8 8 6.7 9.3 8.0 8.7 9.3 7.5 8.5 ฉีดฮอรโมนวันจันทร เนื่องจากตนไมใกลตาย
11 ก.ค. 60 9 10 10 9.7 8 6.3 10 8.1 9 9.7 8 8.9 ชุดควบคุม กระถางที่ 3 เหลือ 2 ตน
17 ก.ค. 60 9 10 11.5 10.2 9 6.7 10 8.6 9.3 9.7 8 9.0
31 ก.ค. 60 9.5 11.7 12.5 11.2 10.5 6.7 11.7 9.6 9.3 10.3 9 9.5
สรุปผลการทดลอง
ผลตาง +2.5 +3.7 +4.8 +3.6 +2.8 -1.0 +4.0 +1.9 +1.0 +2.0 -0.3 +0.9
+ คือมีจํานวนกิ่งขางมากขึ้น
– คือมีจํานวนกิ่งขางลดลง
15
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ ขอเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
จากการบันทึกผลการทดลองเรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตน
ผักหวาน พบวา เมื่อฉีดฮอรโมนออกซินความเขมขนตาง ๆ ไปยังตนผักหวานชุดควมคุม ชุดทดลอง Low
Dose และ ชุดทดลอง High Dose พบวา ชุดควบคุม มีการเพิ่มจํานวนขางมากที่สุด รองลงมาดวยชุดทดลอง
Low Dose และ ชุดทดลอง High Dose มีการเพิ่มจํานวนกิ่งขางนอยที่สุด จึงสรุปไดวา ฮอรโมนออกซิน มีผล
ตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน โดย ฮอรโมนออกซินที่มีความเขมขนสูง จะยับยั้งการเพิ่มจํานวนกิ่งขางของ
ตนผักหวาน
ขอเสนอแนะ
- การฉีดฮอรโมนออกซินตอพืช ควรฉีดดวยความระมัดระวัง หากฉีดในปริมาณที่มากเกินไป อาจจะทํา
ใหพืชตายได
- ควรหมั่นรดน้ํา และ ดูแลตนไมอยางสม่ําเสมอ ไมควรใหมีแมลง สัตวตัวเล็ก หรือ วัชพืช มาในบริเวณ
ที่ปลูก เนื่องจากอาจทําใหผลการทดลองคลาดเคลื่อนได
- ในการนับกิ่งขางของตนผักหวานดวยเชือก ควรใชเชือกขนาดเล็ก เพื่อไมใหเชือกรัดกิ่งมากจนเกินไป
และทําใหผลการทดลองไมคลาดเคลื่อน
16
บรรณานุกรม
ผักหวานบาน สืบคนจาก https://medthai.com/ผักหวานบาน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. 2560. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
กรุงเทพมหานคร.
17
ภาคผนวก
การนําตนผักหวานมาปลูก (5 มิ.ย. 60)
18
การเตรียมฮอรโมนความเขมขนตางๆ (8 มิ.ย. 60)
19
การตรวจติดตามการทดลองโครงงานฮอรโมนพืชครั้งที่ 1 (15 มิ.ย. 60)
20
การผูกดายเพื่อนับกิ่งตนผักหวาน
การเจริญเติบโตของตนผักหวานในวันตางๆ
21
การเจริญเติบโตของตนผักหวานในวันตางๆ (ตอ)
22
การเจริญเติบโตของตนผักหวานในวันตางๆ (ตอ)
23
การตรวจติดตามการทดลองโครงงานฮอรโมนพืชครั้งที่ 1 (3 ส.ค. 60)

More Related Content

What's hot

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931KantnateeHarnkijroon
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 

What's hot (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 

Similar to M6 126 60_6 (20)

M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
656 pre2
656 pre2656 pre2
656 pre2
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
931 pre5
931 pre5931 pre5
931 pre5
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 126 60_6

  • 1. 1 โครงงานรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน นําเสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สมาชิกกลุมนําเสนอ 1. นางสาวชยิสรา สกุลคู เลขที่ 4 2. นางสาวธวัลรัตน แพรสมบูรณ เลขที่ 11 3. นางสาวพรภัสสร เรืองวิโรจนกุล เลขที่ 15 4. นางสาวพลอย สิทธิชีวภาค เลขที่ 18 5. นายธนพล ศิริทวีสุข เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 126 สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร งานนําเสนอขอมูลนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
  • 2. ก คํานํา โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5 (ว 30245) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จัดทําขึ้นเพื่อศึกษา ผลของฮอรโมนพืช ตอการเจริญเติบโตของตนไม เพื่อบูรณาการกับหนวยงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษา และเพื่อนําความรูที่ไดไปใชในการเรียนวิชาชีววิทยาตอไป โดยโครงงานนี้ไดทําการศึกษาผลของ ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน ในการจัดทําโครงงานครั้งนี้ทางผูจัดทําตองขอขอบคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ผูใหความรูและให คําปรึกษามาโดยตลอด คณะผูจัดทําหวังวาโครงงานนี้จะเปนประโยชนใหผูอานทุก ๆ ทาน หากมีขอผิดพลาด ประการใดทางคณะผูจัดทําตองขออภัยไว ณ ที่นี้ คณะผูจัดทํา 2 สิงหาคม 2560
  • 3. ข บทคัดยอ โครงงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของสารละลายออกซินที่ความเขมขนตางๆตอจํานวนกิ่ง ขางของตนผักหวาน โดยแบงชุดการทดลองออกเปน 3 ชุด ไดแก ชุดควบคุม (น้ําเปลา) ชุดความเขมขนต่ํา (สารละลายออกซิน 0.03 % v/v) และชุดความเขมขนสูง (สารละลายออกซิน 0.45% v/v) และในแตละชุด การทดลองประกอบดวยตนผักหวาน 3 กระถาง และทําการทดลองหาผลของสารละลายออกซินตอจํานวนกิ่ง ขางของตนผักหวานโดยการฉีดสารละลายออกซินบนตนผักหวาน และนับจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นทุกวันจันทร ตั้งแตวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 พบวาชุดควบคุม เกิดมีจํานวนกิ่งขางเพิ่มขึ้นมาก ที่สุด ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 3.7 กิ่ง ชุดที่มีการเพิ่มขึ้นของกิ่งขางรองลงมา คือชุดความเขมขนต่ํา ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 1.9 กิ่ง และชุดที่มีการเพิ่มขึ้นของกิ่งขางนอยที่สุด คือชุดความเขมขนสูง ผลตางกิ่งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเปน 0.9 กิ่ง
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาจากครูวิชัย ลิขิตพรรักษ ครูผูสอน ที่ไดใหคําเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนการแกปญหาตางๆมาโดยตลอด จนโครงงานเลมนี้เสร็จสมบูรณ คณะผูจัดทําจึง ขอขอบพระคุณเปนอยางสูง ขอขอบพระคุณคุณพอ คุณแม และครอบครัว ที่ใหคําปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องตางๆ รวมทั้ง เปนกําลังใจที่ดีเสมอมา และสุดทายขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนที่ชวยชี้แนะ และชวยจัดหาอุปกรณเปนผลใหโครงงานนี้สําเร็จไป ไดดวยดี คณะผูจัดทํา 2 สิงหาคม 2560
  • 5. ง สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา ก บทคัดยอ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง บทที่ 1 บทนําโครงงาน 1 ปญหา ที่มา และ ความสําคัญของโครงงาน 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 2 ขอมูลรายละเอียดของพืชที่ใชทดลอง 2 ขอมูลรายละเอียดฮอรโมนที่ทดลอง 5 บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงงาน 9 สมมติฐานการทดลอง และ จุดประสงคการทดลอง 9 ตัวแปรการทดลอง 9 อุปกรณการทดลอง 10 ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง และ ขั้นตอนการทดลอง 11 บทที่ 4 ผลการทดลอง 12 ตารางบันทึกผลการทดลอง 13 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ ขอเสนอแนะ 14 บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16
  • 6. 1 โครงงานรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน บทที่ 1 บทนําโครงงาน ปญหา ที่มา และ ความสําคัญของโครงงาน ปญหา: - ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน มีผลตอจํานวนกิ่งของตนผักหวานหรือไม ที่มาและความสําคัญของโครงงาน: - เนื่องจากในปจจุบันมีการนําฮอรโมนออกซินมาใชในการปรับปรุงลักษณะของตนไมมาก ทางคณะ ผูจัดทําจึงไดทําโครงงานการทดลองชุดนี้ขึ้น เพื่อนําไปศึกษาตอประกอบกับความรูในวิชาชีววิทยา และประโยชนในอนาคตตอไป
  • 7. 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ขอมูลรายละเอียดของพืชที่ใชทดลอง ผักหวาน ชื่อสามัญ: Star gooseberry ชื่อวิทยาศาสตร: Sauropus androgynus (L.) Merr. วงศ: PHYLLANTHACEAE ชื่อทองถิ่น: - ผักหวาน (ทั่วไป) - มะยมปา (ประจวบคีรีขันธ) - ผักหวานใตใบ (สตูล) - กานตง จาผักหวาน ใตใบใหญ ผักหลน (ภาคเหนือ) - นานาเซียม (มลายู-สตูล) - ตาเชเคาะ โถหลุยกะนีเตาะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ลักษณะของตนผักหวาน • ตนผักหวาน เปนไมพุมขนาดกลาง สูงประมาณ 0.5-3 เมตร ลําตนแข็งแตกกิ่งกานระนาบไปกับพื้น หรือเกือบปรกดิน ลําตนออน กลม เหลี่ยม เปลือกตนขรุขระสีน้ําตาล กิ่งออนสีเขียวเขมผิวเรียบ กิ่ง เรียวงอเล็กนอยตามขอ ขยายพันธุโดยใชเมล็ดและการปกชํากิ่ง เจริญเติบโตไดดีในที่ลุมต่ําที่มี ความชื้นพอเหมาะ ดินรวนชุมชื้นและระบายน้ําไดดี พบไดตามปาดิบแลง ปาละเมาะ ปาดิบชื้น ที่โลง แจง ตามเรือกสวน หรือตามที่รกรางทั่วไป http://www.nanagarden.com/tag/ตนผักหวาน
  • 8. 3 • ใบผักหวาน เปนใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ใบเปนรูปไข รูปไขแกมขอบขนาน รูปขอบขนาน รูปคลาย ขนมเปยกปูน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ กวางประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร และ ยาว ประมาณ 2-7 เซนติเมตร ใบเรียบเกลี้ยงทั้งสองดาน หลังใบเปนสีเขียวเขม ทองใบเปนสีเขียวออน เสนแขนงใบมีขางละ 5-7 เสน โคงเล็กนอย ใบแหงจะเปนสีเขียวอมเหลือง กานใบมีขนาดสั้น 2-4 มิลลิเมตร หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม 1.7-3 มิลลิเมตร • ดอกผักหวาน ออกดอกเปนชอ เปนกระจุกตามซอกใบ เรียงไปตามกานใบ ดอกเดี่ยวแบบแยกเพศแต อยูบนตนเดียว มีใบปรกอยูดานบน ดอกมีขนาดเล็ก โดยตอนบนของกิ่งกานจะเปนดอกเพศเมีย มี 1- 3 ดอก รังไขจะอยูเหนือวงกลีบ สีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 รูปไขกลับ ซอน เรียงเหลื่อมกันเปน ชั้น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ และกลีบดอกจะเปนสีแดงเขมหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเขม สวนตอนลาง เปนดอกเพศผู มีจํานวนมาก มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ เปนรูปจานกลมแบน สีน้ําตาลแดง มีขนาด 0.5-1 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู 3 กาน กานเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเปนแฉก 3 แฉก โดย จะออกดอกในชวงเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน • ผลผักหวานบาน ผลเปนรูปทรงกลมแปน มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5-1.8 เซนติเมตร และยาว 1- 1.3 เซนติเมตร ผลฉ่ําน้ํา ผิวผลเปนพูเล็กนอย สีเขียวถึงสีขาว ผลเปนสีขาวอมเหลือง แหงแลวจะแตก ได มีกลีบเลี้ยงสีแดงหอยลงใตใบ ภายในผลแบงเปน 6 พู ในแตละพูจะมี 1 เมล็ด เมล็ดเปนรูปครึ่ง วงกลม เปลือกเมล็ดเปนสีดําหรือสีน้ําตาลเขม มีความหนาและแข็ง เมล็ดมีขนาดกวาง 5 มิลลิเมตร และยาว 8 มิลลิเมตร https://medthai.com/ผักหวานบาน https://medthai.com/ผักหวานบาน
  • 9. 4 สรรพคุณของตนผักหวาน ราก ชวยรักษาโรคซางทุกชนิด มะเร็งกอนเนื้อหรือเนื้องอกที่ผิดปกติ ฝสารมะเร็งไฟ มะเร็งคุด สันนิบาตฝเครือ คาง ทูม อาการเจ็บในปาก ปากเหม็น คอพอก โรคเลือดลม โรคอีสา ตัวรอน ไขกลับไขซ้ํา ไข ขัด ไขอีสุกอีใส ไอ ปสสาวะขัด ขัดเบา ฝ แกแผลฝ เขียวกระทุงพิษ บวม ใบ ชวยรักษาตาอักเสบ แผลในจมูก แกฝาขาวในเด็กทารก แกไข ความรอนในรางกาย อาการปสสาวะออกนอย หญิงคลอดบุตรและรกไมเคลื่อน โรคผิวหนังติดเชื้อ ฝ แกแผลฝ บวม หัด ปวดเมื่อยตามรางกาย แมที่ไมมี น้ํานมใหบุตร ตน ชวยรักษาแผลในจมูก โรคผิวหนังติดเชื้อ ปวดเมื่อยตามรางกาย หมายเหตุ การนําผักหวานมาใชเปนยาสมุนไพร ถาเปนใบใหใชใบสด สวนรากใหเก็บเมื่อมีอายุ 2 ปขึ้นไป แลว นํามาทําใหแหงกอนนําไปใช ประโยชนของตนผักหวาน 1. ใบและยอดออนเมื่อนํามาลวก ตม หรือนึ่ง กินเปนผักจิ้มน้ําพริก ลาบ ปลานึ่ง หรือจะนํามาประกอบ อาหาร หรือใชเพื่อเพิ่มรสชาติใหอาหารมีรสหวานตามธรรมชาติ เชน แกงเลียง แกงออม แกงสม แกงจืด แกง กับหมู แกงกับปลา แกงเขียวหวาน แกงกะทิสด แกงใสไขมดแดง แกงเห็ด ผัดน้ํามันหอย ยําผักหวาน กวยเตี๋ยวราดหนาผักหวาน ฯลฯ หรือนําไปแปรรูปเปนน้ําปนผักหวาน ชาผักหวาน หรือเครื่องดื่มตานอนุมูล อิสระ ฯลฯ 2. ผักหวานบานเปนผักที่มีวิตามินเอมากเปนพิเศษ (วิตามินเอมีประโยชนกับสายตามาก) และยังเปนผัก ในจํานวนไมมากนักที่มีวิตามินเค (วิตามินเคมีประโยชนในเรื่องการชวยใหเลือดแข็งตัวเมื่อมีบาดแผลแลว เลือดออก ทําใหตับทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ทํางานรวมกับวิตามินดีในการควบคุมระดับแคลเซียมใน รางกาย ชวยเสริมสรางเซลลกระดูกและเนื้อเยื่อในไต)
  • 10. 5 3. ผักหวานบานเปนผักที่ชวยในการขับถายไดดี ชวยทําใหกระดูกและฟนแข็งแรง ชวยปองกันโรคภูมิแพ จากมลพิษทางอากาศ ชวยในการยืดหดตัวของกลามเนื้อ 4. ตนผักหวานบานมีทรงพุมไมใหญโต ทรงกิ่งและใบดูงดงามคลายตนมะยม มีใบเขียวตลอดป มีดอก และผลหอยอยูใตใบดูแปลกตาและสวยงาม อีกทั้งสีผลยังเปนสีขาวตัดกับกลีบรองผลซึ่งเปนสีแดง จึงมีความ งดงามและดูเปนเอกลักษณ จึงเหมาะสําหรับนํามาใชปลูกเปนไมประดับในบริเวณบานไดดี ขอควรระวังในการใชผักหวานบาน ไมควรนําผักหวานบานมารับประทานแบบสด ๆ ในจํานวนมาก เนื่องจากผักชนิดนี้มีสาร Papaverine ที่เปน พิษตอปอด ทําใหเกิดอาการเวียนศีรษะ และทองผูกได รายละเอียดขอมูลฮอรโมนที่ทดลอง ฮอรโมนออกซิน (Auxin) ออกซินเปนฮอรโมนพืชชนิดแรกๆ ที่มนุษยคนพบ โดยในป ค.ศ. 1880 ชารล ดารวิน สังเกตวาสวน ยอดออนของหญาคานารี (Canary Grass) มักจะโคงเขาหาแสงเสมอ เขาจึงทําการทดลองและพบวา หากสวน ยอดออนถูกเด็ดออกไป ลําตนจะไมโคงเขาหาแสง ซึ่งในทางตรงกันขาม หากยอดออนของพืชยังอยู ลําตน มักจะโคงเขาหาแสงเสมอ ดารวินจึงสรุปวา สวนปลายของยอดออน สามารถควบคุมใหสวนลําตนโคงเขาหา แสง ตอมา Boysen-Jensen และ Paal ไดศึกษา และแสดงใหเห็นวา สารดังกลาวนี้จะเคลื่อนที่ลงสูสวนลาง ของโคลีออพไทล ในอัตราเทากันทุกดาน และทําหนาที่เปนสารกระตุนการเจริญเติบโต ในป ค.ศ. 1926 Went ไดทํางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทลได โดยตัด สวนยอดของโคลีออพไทลของขาวโอตแลววางลงบนวุนจะทําใหสารเคมีที่กระตุนการเจริญเติบโตไหลลงสูวุน เมื่อนําวุนไปวางลงที่ดานหนึ่งของโคลีออพไทลที่ไมมียอดดานใดดานหนึ่งจะทําใหโคลีออพไทลดังกลาวโคงได Went สรุปวาสารเคมีไดซึมลงสูวุนแลวซึมจากวุนลงสูสวนของโคลีออพไทล วิธีการดังกลาวนอกจากเปนวิธีการ แรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ไดแลว ยังเปนวิธีการวัดปริมาณของฮอรโมนไดดวย เปนวิธีที่เรียกวา Bioassay สารเคมีดังกลาวไดรับการตั้งชื่อวา ออกซิน ซึ่งในปจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่ว ๆ ไป และมีความสําคัญตอการ เจริญเติบโตของพืช สังเคราะหไดจากสวนเนื้อเยื่อเจริญของลําตน ปลายราก ใบออน ดอก และ ผล และพบ มากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด และคัพภะ รวมทั้งใบที่กําลังเจริญเติบโต
  • 11. 6 ในป ค.ศ. 1934 ไดพบวา ออกซินเปนสารเคมีชื่อ กรดอินโดลแอซีติก (Indoleacetic acid : IAA) หรือ เรียกยอ ๆ วา IAA เปนฮอรโมนที่พืชสรางจากกลุมเซลลเนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยอดออน แลวแพรจาก ยอดออนไปยังเซลลอื่น ๆ ที่อยูดานลาง โดยจะไปกระตุนเซลลบริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวใหเจริญ ขยาย ขนาดขึ้น ทําใหพืชเติบโต สูงขึ้น การทํางานของออกซินขึ้นอยูกับสิ่งเรา เชน แสง อุณหภูมิ แรงโนมถวงของ โลก สิ่งสัมผัส และ อื่น ๆ แสงมีผลตอการแพรกระจายของออกซินที่ยอดออน โดยออกซินจะแพรกระจายจาก ดานที่มีแสงมาก ปลายยอดจึงโคงเขาหาแสง ซึ่งใหผลตรงขามกับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนี แสง แตเซลลที่ปลายรากตอบสนองตอออกซินตางจากเซลลที่ปลายยอด บริเวณใดของราก ที่มีแสงนอย จะมี ออกซินสะสมมาก จึงยับยั้งการเจริญของเซลลราก บริเวณที่มีแสงมาก มีออกซินนอยกวา เซลลรากขยายตัว มากกวา จึงเกิดการโคงตัวของปลายรากหนีแสง จากการทดลองของ Went พบวาถาตัดเยื่อหุม ยอดออนของตนกลาขาวโอตนําไปวางบนวุนที่ตัดเปนชิ้น เล็ก ๆ สักครู และนําวุนชิ้นนั้นไปวางบนตนกลาอีกตนที่ ตัดเยื่อหุมยอดออนออก จะเห็นวาออกซินสามารถ กระตุนการเจริญเติบโตผานวุนได
  • 12. 7 ออกซินที่มีความเขมขนต่ําจะใหผลในทางกระตุนการเจริญเติบโตของพืช แตถามีความเขมขนที่สูงเกิด ไปกลับมีผลในทางตรงขาม เนื้อเยื่อแตละชนิดของพืช ตอบสนองตอความเขมขนของออกซินไมเทากัน ดัง กราฟสรุปวา ถาออกซินเขมขนมาก จะยับยั้งการเจริญของตา แตเมื่อตัดยอดออกไป จึงขาดแหลงสรางออกซิน ที่จะยับยั้งการเจริญของตาขาง ทําใหตาขางเจริญไดดี
  • 13. 8 บทบาทของออกซินที่มีตอพืช 1. ในระดับเซลล ออกซินทําใหเกิดการขยายตัวของเซลล เชน ทําใหเกิดการขยายตัวของใบทําใหผล เจริญเติบโต เชน กระตุนการแบงเซลลของแคมเบียม กรตุนใหเกิดทอน้ําและทออาหาร กระตุนใหเกิดรากจา การปกชําพืช เชน การใช IBA ในการเรงรากของกิ่งชํา แลวยังกระตุนใหเกิดแคลลัส (Callus) ในการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ การตอบสนองในระดับเซลลที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล 2. ยับยั้งการแตกตาขาง ไมใหตาขางเจริญเติบโต 3. การติดผล เชน กรณีของมะเขือเทศ ออกซิน จะเรงใหเกิดผล และถาใช NAA ในเงาะจะเรงการเจริญของ เกสรตัวผูทําใหสามารถผสมกับเกสรตัวเมียได 4. ปองกันการหลุดรวงของใบ ดอก ผล โดยออกซินจะยับยั้งไมใหเกิด Adcission Layer ขึ้นมา เชน การใช 2,4-D ปองกันผลสมใหรวง หรือ NAA สามารถปองกันการรวงของผลมะมวง 5. กระตุนการออกรากของกิ่งปกชําและกิ่งตอน ควบคุมการติดและการเติบโตของผลไม และยังสามารถ กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิดได ออกซินบางชนิดมีสมบัติเปนสารเคมีปราบวัชพืช มีผูนิยมใชสาร 2,4-D ใชกําจัดวัชพืชประเภทใบกวาง (ใบเลี้ยงคู) และ ใชกรด 2,2-ไดคลอโรโพรพิออนิก (2,2-dichloropropionic acid) กําจัดวัชพืชใบแคบ (ใบ เลี้ยงเดี่ยว) เชน พวกหญาตางๆ ฮอรโมนออกซินแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1. ออกซินธรรมชาติ ไดแก Indole-3-Acetic Acid (IAA) และ Indole-3-Butyric Acid (IBA) 2. ออกซินสังเคราะหไดแก Naphthalene Acetic Acid (NAA) 2,4-Dichlorophenoxy Acetic Acid (2,4- D) และ 2,4,5-Trichlorophenoxy Acetic Acid (2,4,5-T)
  • 14. 9 บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงงาน สมมติฐานการทดลอง และ จุดประสงคการทดลอง สมมติฐานการทดลอง: - ถาฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกันมีผลตอจํานวนกิ่งของตนผักหวาน แลว ฮอรโมนออกซินที่มี ความเขมขนมากจะทําใหตนผักหวานมีจํานวนกิ่งมากขึ้น จุดประสงคของโครงงาน: - เพื่อศึกษาผลของฮอรโมนออกซินตอจํานวนกิ่งของผักหวาน ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรตน: - ฮอรโมนออกซินที่ความเขมขนตางกัน ตัวแปรตาม: - จํานวนกิ่งเปลี่ยนแปลงของตนผักหวาน ตัวแปรควบคุม: - ปริมาณแสง น้ํา แรธาตุ - ขนาดตนผักหวานขณะเริ่มตนทดลอง - ขนาดกระถางปลูกตนผักหวาน
  • 15. 10 อุปกรณการทดลอง อุปกรณ 1. ตนผักหวานพันธุเดียวกัน อายุใกลเคียงกัน 9 กระถาง แบงเปน 3 กลุม (ชุดควบคุม, ชุดทดลอง Low Dose, ชุดทดลอง High Dose) กลุมละ 3 ตน 2.กระบอกฉีดฮอรโมน 3 กระบอก (ชุดควบคุม, ชุดทดลอง Low Dose, ชุดทดลอง High Dose) 3. เชือก / ดาย 4. กระบอกตวง 5. บัวรดน้ํา 6. ปายชื่อพืช สารเคมี 1. สารละลายฮอรโมนออกซินเขมขน 4.5% 2. น้ํา
  • 16. 11 ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง และ ขั้นตอนการทดลอง ระยะเวลาในการทดลอง - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2560 วิธีการเก็บขอมูลการทดลอง - นับจํานวนกิ่งของตนผักหวานทุก ๆ 1 อาทิตย ภายในระยะเวลาในการทดลอง โดยจะผูกเชือก/ดาย ไวที่กิ่งที่นับแลว และบันทึกขอมูลจํานวนกิ่งลงในใบบันทึกผลการทดลอง ขั้นตอนการทดลอง 1. จัดเตรียมอุปกรณและสารเคมี 2. เตรียมสารละลายฮอรโมนความเขมขนตางๆ 2.1. ชุดควบคุม ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0 %v/v น้ําเปลา 2.2. ชุดทดลอง Low Dose ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0.03%v/v จัดเตรียมโดยใชสารละลาย ฮอรโมนเขมขน 4.5%v/v 30 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํา 300 มิลลิลิตร 2.3. ชุดทดลอง High Dose ความเขมขนฮอรโมนออกซิน 0.45%v/v จัดเตรียมโดยใชสารละลาย ฮอรโมนเขมขน 4.5%v/v 2 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํา 300 มิลลิลิตร 3. ติดฉลากบนกระบอกฉีดฮอรโมน และ กระถางตนผักหวาน 4. ผูกกิ่งตนผักหวานดวยเชือก / ดาย 5. นับจํานวนกิ่งของตนผักหวาน บันทึกผล 6. ฉีดฮอรโมนออกซินจากกระบอกฉีด 7. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของตนผักหวาน บันทึกผล 8. หากตนผักหวานมีจํานวนกิ่งมากขึ้น ใหผูกเชือก / ดายที่กิ่งที่เพิ่มขึ้นมา
  • 17. 12 บทที่ 4 ผลการทดลอง เนื่องจากจํานวนตนผักหวาน ในแตละกระถางมีจํานวนตนไมเทากัน ผูจัดทําจึงบันทึกผลการทดลอง ในรูปแบบ จํานวนกิ่งเฉลี่ยของตนผักหวาน บันทึกผลตางระหวางจํานวนกิ่งวันที่ทําการทดลองวันสุดทายและ วันแรก และบันทึกผลตางจํานวนกิ่งเฉลี่ย 3 ตนที่ใชชุดทดลองเดียวกัน โดยสามารถคํานวณไดจากสมการดังนี้ จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยของตนผักหวาน = จํานวนกิ่งขางของตนผักหวานในกระถาง จํานวนตนผักหวานในกระถาง ผลตาง = จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยวันสุดทาย − จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยวันเริ่มตน เฉลี่ย = คาในกระถางที่ 1 + คาในกระถางที่ 2 + คาในกระถางที่ 3 3
  • 18. 13 ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ จํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน (กิ่ง) หมายเหตุ ชุดควบคุม ชุดทดลอง Low Dose ชุดทดลอง High Doseกระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย กระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย กระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย 12 มิ.ย. 60 21 24 23 22.67 23 23 23 23.00 25 25 28 26.00 กระถางละ 3 ตน,ฉีดฮอรโมนวันจันทร ศุกร 19 มิ.ย. 60 22 24 25 23.67 15 24 25 21.33 26 26 30 27.33 ชุด Low Dose กระถางที่ 1 เหลือ 2 ตน 26 มิ.ย. 60 15 27 28 23.33 15 22 26 21.00 26 26 15 22.33 ควบคุมกระถาง1, High Doseกระถาง3 เหลือ 2 ตน 3 ก.ค. 60 15 28 29 24.00 16 20 29 21.67 2.6 28 15 15.20 ฉีดฮอรโมนวันจันทร เนื่องจากตนไมใกลตาย 11 ก.ค. 60 18 30 20 22.67 16 19 30 21.67 27 29 16 24.00 ชุดควบคุม กระถางที่ 3 เหลือ 2 ตน 17 ก.ค. 60 18 30 23 23.67 18 20 30 22.67 28 29 16 24.33 31 ก.ค. 60 19 35 25 26.33 21 20 35 25.33 28 31 18 25.67
  • 19. 14 ตารางแปลผลการทดลอง วันที่ จํานวนกิ่งขางเฉลี่ยของตนผักหวาน (กิ่ง) หมายเหตุ ชุดควบคุม ชุดทดลอง Low Dose ชุดทดลอง High Dose กระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย กระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย กระถางที่1 กระถางที่2 กระถางที่3 เฉลี่ย 12 มิ.ย. 60 7 8 7.7 7.6 7.7 7.7 7.7 7.7 8.3 8.3 9.3 8.6 กระถางละ 3 ตน,ฉีดฮอรโมนวันจันทร ศุกร 19 มิ.ย. 60 7.3 8 8.3 7.9 7.5 8 8.3 7.9 8.7 8.7 10 9.1 ชุด Low Dose กระถางที่ 1 เหลือ 2 ตน 26 มิ.ย. 60 7.5 9 9.3 8.6 7.5 7.3 8.7 7.8 8.7 8.7 7.5 8.3 ควบคุมกระถาง 1, High Dose กระถาง 3 เหลือ 2 ตน 3 ก.ค. 60 7.5 9.3 9.7 8.8 8 6.7 9.3 8.0 8.7 9.3 7.5 8.5 ฉีดฮอรโมนวันจันทร เนื่องจากตนไมใกลตาย 11 ก.ค. 60 9 10 10 9.7 8 6.3 10 8.1 9 9.7 8 8.9 ชุดควบคุม กระถางที่ 3 เหลือ 2 ตน 17 ก.ค. 60 9 10 11.5 10.2 9 6.7 10 8.6 9.3 9.7 8 9.0 31 ก.ค. 60 9.5 11.7 12.5 11.2 10.5 6.7 11.7 9.6 9.3 10.3 9 9.5 สรุปผลการทดลอง ผลตาง +2.5 +3.7 +4.8 +3.6 +2.8 -1.0 +4.0 +1.9 +1.0 +2.0 -0.3 +0.9 + คือมีจํานวนกิ่งขางมากขึ้น – คือมีจํานวนกิ่งขางลดลง
  • 20. 15 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ ขอเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง จากการบันทึกผลการทดลองเรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนออกซิน ที่มีผลตอจํานวนกิ่งขางของตน ผักหวาน พบวา เมื่อฉีดฮอรโมนออกซินความเขมขนตาง ๆ ไปยังตนผักหวานชุดควมคุม ชุดทดลอง Low Dose และ ชุดทดลอง High Dose พบวา ชุดควบคุม มีการเพิ่มจํานวนขางมากที่สุด รองลงมาดวยชุดทดลอง Low Dose และ ชุดทดลอง High Dose มีการเพิ่มจํานวนกิ่งขางนอยที่สุด จึงสรุปไดวา ฮอรโมนออกซิน มีผล ตอจํานวนกิ่งขางของตนผักหวาน โดย ฮอรโมนออกซินที่มีความเขมขนสูง จะยับยั้งการเพิ่มจํานวนกิ่งขางของ ตนผักหวาน ขอเสนอแนะ - การฉีดฮอรโมนออกซินตอพืช ควรฉีดดวยความระมัดระวัง หากฉีดในปริมาณที่มากเกินไป อาจจะทํา ใหพืชตายได - ควรหมั่นรดน้ํา และ ดูแลตนไมอยางสม่ําเสมอ ไมควรใหมีแมลง สัตวตัวเล็ก หรือ วัชพืช มาในบริเวณ ที่ปลูก เนื่องจากอาจทําใหผลการทดลองคลาดเคลื่อนได - ในการนับกิ่งขางของตนผักหวานดวยเชือก ควรใชเชือกขนาดเล็ก เพื่อไมใหเชือกรัดกิ่งมากจนเกินไป และทําใหผลการทดลองไมคลาดเคลื่อน
  • 21. 16 บรรณานุกรม ผักหวานบาน สืบคนจาก https://medthai.com/ผักหวานบาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. 2560. เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.