SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง
เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารสกัดจากใบต้นสาบเสือต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus
(Antibacteria of Crude Extracts from Chromolaena odorata)
ผู้จัดทำโครงงำน
นำงสำว กฤตอร โสภณพงษ์ เลขที่ 2
นำงสำว พรรณสิริ สระโสม เลขที่ 7
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ห้อง 651
โครงงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรพัฒนำศักยภำพนักเรียนที่มีควำมสำมำรถพิเศษทำงวิทยำศำสตร์
ปีกำรศึกษำ 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ
ครูที่ปรึกษำโครงงำน
นำง ทิพย์อำภำ ศรีวรำงกูล
นำย วิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ สำขำวิชำชีววิทยำ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ
ที่ปรึกษำพิเศษ
รศ.ดร. สีหนำท ประสงค์สุข
ภำควิชำพฤกษศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
ศ.ดร.สมบูรณ์ ธรำศุภวัฒน์
นำงสำว นิสำชล เทศศรี
ภำควิชำชีวเคมีและจุลชีววิทยำ คณะเภสัชศำสตร์
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา
ปัจจุบันมีผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุและมีบำดแผลอยู่เป็นจำนวนมำก ผู้ป่วยบำงรำยต้องประสบปัญหำเรื่อง
แผลติดเชื้อ ทำให้ผู้ป่วยต้องนอนพักรักษำตัวในโรงพยำบำลนำน เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรรักษำมำก และเสีย
โอกำสในกำรประกอบอำชีพกำรงำน นอกจำกนี้กำรป้องกันกำรติดเชื้อที่เกิดจำกแผลผ่ำตัดก็มีควำมสำคัญ
มำกขึ้น เนื่องจำกควำมเจริญก้ำวหน้ำและกำรพัฒนำเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ ทำให้จำนวนผู้ป่วยที่เข้ำรับ
กำรรักษำด้วยกำรผ่ำตัดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยพบกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดคิดเป็นร้อยละ 20
ของกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลทั้งหมด (อ้ำงอิงจำก : วำรสำรพยำบำลศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พฤษภำคม-สิงหำคม 2017) เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสำเหตุสำคัญของกำรเกิดแผลติดเชื้อ คือ
Staphylococcus aureus ที่อำศัยอยู่บริเวณผิวหนัง ซึ่งในกำรยับยั้งแบคทีเรียดังกล่ำวจะสำมำรถลด
อุบัติกำรณ์กำรเกิดบำดแผลติดเชื้อได้
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ)
แนวทำงในกำรรักษำและป้องกันแผลติดเชื้อในปัจจุบัน มีกำรใช้ยำปฏิชีวนะฆ่ำเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งกำรใช้ยำ
ที่เป็นสำรเคมีนั้นอำจเกิดผลข้ำงเคียงต่อร่ำงกำยได้ นอกจำกนี้ยังเกิดกำรดื้อยำปฏิชีวนะใน S. aureus บำง
สำยพันธุ์ ผู้จัดทำจึงมีแนวคิดในกำรนำพืชสมุนไพรมำใช้ในกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดังกล่ำว และเลือกสมุนไพร
สำบเสือ ที่เป็นภูมิปัญญำของชำวบ้ำนในกำรนำมำสมำนแผล และยังเป็นวัชพืชที่ไม่ได้ถูกนำมำใช้ประโยชน์
โครงงำน เรื่อง กำรศึกษำผลของควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบต้นสำบเสือต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ
S. aureus จึงทำขึ้นเพื่อทดสอบผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีต่อกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ
S. aureus และหำควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในสำรละลำยไดเมทิลซัลฟอกไซด์ (DMSO) ที่มี
ประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อได้ดีที่สุด ซึ่งวัดจำกขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส
บนจำนเพำะเชื้อ โดยโครงงำนนี้ยังสำมำรถนำไปต่อยอดในกำรเพิ่มมูลค่ำของสมุนไพรที่เป็นวัชพืชได้อีกด้วย
คาสาคัญ : สารสกัดจากใบสาบเสือ , S. aureus , บริเวณใส , แผลติดเชื้อ
1.2 ปัญหาในการทาโครงงาน
1. สำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น
95% v/v มีผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus หรือไม่
2. ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือใดมีประสิทธิภำพในกำร
ยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus ได้ดีที่สุด
1.3 สมมติฐานการทดลอง
1. ถ้ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v มี
ผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus แล้วจะเกิดบริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อที่หยด
สำรสกัดจำกใบสำบเสือ
2. ถ้ำควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในสำรละลำย DMSO มีผลต่อ
ประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus แล้วขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของ
บริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อจะแตกต่ำงกัน
1.4 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษำวิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือโดยวิธีกำรแช่สกัดด้วยเอทำนอล
ควำมเข้มข้น 95% v/v
2. เพื่อศึกษำผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล
ควำมเข้มข้น 95% v/v ในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus
3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ S. aureus
ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีควำมเข้มข้นแตกต่ำงกันในตัวทำละลำย DMSO
8
1.5 ขอบเขตของโครงงาน
1. กำรทำโครงงำนครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษำถึงผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและ
เปรียบเทียบประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO ในควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกัน ใน
กำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของแบคทีเรีย คือ เชื้อ S. aureus บนจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ
2. วิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือ คือ นำใบสำบเสือตำกแห้งมำปั่นละเอียด แช่สกัดใบสำบเสือแห้งใน
เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ตั้งทิ้งไว้บนเครื่องเขย่ำสำรเป็นเวลำ 14 วัน แล้วนำมำระเหยเอทำนอลออก
จนเหลือแต่สำรสกัดใบสำบเสือเข้มข้น และเติมตัวทำละลำย DMSO ให้ได้ควำมเข้มข้น 100 mg/ml , 250
mg/ml และ 500 mg/ml
3. วัดประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อจำกขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส และบันทึกผล เพื่อ
เปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อของสำรสกัดจำกใบสำบเสือต่อไป
1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO
ตัวแปรตาม คือ ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสบนจำนเพำะเชื้อ
ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดและสำยพันธุ์ของเชื้อแบคทีเรียที่นำมำทดสอบ อำหำรเลี้ยงเชื้อ
ระยะเวลำเพำะเลี้ยงเชื้อ อุณหภูมิที่ใช้เพำะเลี้ยงเชื้อ ปริมำณของสำรสกัด ระยะเวลำที่ใช้ใน
กำรสกัด
1.7 นิยามเชิงปฏิบัติการ
1. ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส (Inhibition zone; cm) = ขนำด
เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของกระดำษกรองรวมกับบริเวณใสของเชื้อ
2. สำรสกัดจำกใบสำบเสือ คือ สำรที่ได้จำกกำรสกัดใบสำบเสือด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น
95% v/v โดยวิธีกำรแช่สกัดแล้วนำมำระเหยแห้ง และเติม DMSO ให้ได้ควำมเข้มข้นตำมที่กำหนด
3. ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ คือ น้ำหนักของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ (mg)
ในตัวทำละลำย DMSO ปริมำตร 1 ml
4. เชื้อ S. aureus คือ แบคทีเรียกรัมบวกชนิดหนึ่งในสกุล Staphylococcus อยู่ในวงศ์
Staphylococcaceae มีรูปร่ำงกลม เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจำถิ่นในผิวหนังและ
โพรงจมูก ก่อให้เกิดกำรติดเชื้อบริเวณแผลผ่ำตัด ได้จำกห้องปฏิบัติกำรภำควิชำชีวเคมีและจุลชีววิทยำ
คณะเภสัชศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
1.8 ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
วันที่ 19 พฤศจิกำยน พ.ศ.2561 ถึง เดือนกุมภำพันธ์ พ.ศ.2563
1.9 วิธีการเก็บข้อมูล
กำรใช้เวอร์เนียคำลิปเปอร์ที่มีมำตรฐำนวัดขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส
ของเชื้อบนจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ ในหน่วย cm เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อ
S. aureus ของสำรสกัดจำกสำบเสือที่มีควำมเข้มข้นแตกต่ำงกัน
1.10 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบสาบเสือในการยับยั้งการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรียที่พบบ่อยบนบาดแผลคือเชื้อ S. aureus
กำรวัดขนำดของบริเวณใสของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและขนำดของบริเวณใส
ของชุดทดลองและชุดควบคุม แล้วนำมำหำค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (ทศนิยม
สองตำแหน่ง)
1.11 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ลดปริมำณวัชพืชต้นสำบเสือในธรรมชำติ
2. สร้ำงมูลค่ำให้กับต้นสำบเสือที่พบได้ทั่วไปและมีจำนวนมำก
3. สำมำรถนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในกำรลดอุบัติกำรณ์กำร
ติดเชื้อของแผลโดยใช้สำรสกัดจำกสมุนไพรธรรมชำติสำบเสือ ซึ่งไม่เป็นพิษตกค้ำงใน
ร่ำงกำย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของสาบเสือ
◉ ชื่อสำมัญ : Siam weed, Bitter bush, Christmas bush, Devil weed, Camfhur
grass, Common floss flower, Triffid
◉ ชื่อวิทยำศำสตร์ : Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob. (ชื่อพ้อง
วิทยำศำสตร์ Eupatorium odoratum L.) จัดอยู่ในวงศ์ทำนตะวัน (Asteraceae หรือ
Compositae)
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะของสาบเสือ
ต้นสาบเสือ จัดเป็นวัชพืชที่มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกำกลำง โดยมีเขตแพร่กระจำยตั้งแต่ทำงตอนใต้ของรัฐ
ฟลอริดำไปจนถึงทำงตอนเหนือของประเทศอำร์เจนตินำ และระบำดทั่วไปในเขตร้อนทั่วทุกทวีป โดยจัดเป็น
พรรณไม้ล้มลุก เป็นพืชที่แตกกิ่งก้ำนสำขำมำกจนเหมือนทรงพุ่ม กิ่งก้ำนและลำต้นจะปกคลุมไปด้วยขนนุ่ม
อ่อน ๆ มีลำต้นสูงประมำณ 1-2 เมตร และสำบเสือจัดเป็นพืชรุกรำนต่ำงถิ่นที่สำมำรถเติบโต และแพร่กระจำย
ได้อย่ำงรวดเร็ว เนื่องจำกมีเมล็ดจำนวนมำก และเมล็ดสำมำรถลอยตำมลมได้
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 1 แสดง ต้นสาบเสือ
ที่มา : https://medthai.com
ใบสาบเสือ มีใบเป็นใบเดี่ยวออกจำกลำต้น
ที่ข้อแบบตรงกันข้ำม ใบมีสีเขียวอ่อน
ลักษณะของใบคล้ำยรูปรีทรงรูป
สำมเหลี่ยม ปลำยใบแหลม ฐำนใบกว้ำง
ใบเรียวสอบเข้ำหำกัน มีขอบใบหยัก ที่ใบ
เห็นเส้นชัดเจน 3 เส้น ผิวใบทั้งสองด้ำนมี
ขนอ่อนปกคลุม ใบและก้ำนเมื่อนำมำขยี้
จะมีกลิ่นแรงคล้ำยกลิ่นสำบเสือ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 2 แสดง ใบสาบเสือ
ที่มา :
https://mgronline.com/sout
h/detail/9590000126717
สรรพคุณในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของสาบเสือ
สำรสกัดจำกใบสำบเสือสำมำรถฆ่ำเชื้อจุลินทรีย์ รักษำแผล และลดกำรอักเสบได้ดี
ซึ่งอำจเป็นผลมำจำกสำรสำคัญที่อยู่ในใบสำบเสือซึ่งได้ถูกรำยงำนไว้ โดยใบสำบเสือมี
สำรสำคัญหลำยชนิด ได้แก่ สำรในกลุ่ม alkaloids, saponins, tannins, flavonoils,
flavonones, chalcones, phenolics, protocatachuic acid และessential oils เป็นต้น
นอกจำกนี้ กำรศึกษำควำมเป็นพิษเฉียบพลันของสำรสกัดเอทำนอลจำกใบสำบเสือในหนูเมำส์
พบว่ำ สำรสกัดใบสำบเสือไม่มีควำมเป็นพิษเฉียบพลัน โดยมีค่ำ LD50> 20 g/kg body
weight ซึ่งควำมเข้มข้นของสำรสกัดที่ทดสอบ (1- 20 g/kg/body weight) ไม่ทำให้เกิด
กำรตำยในหนูที่ทดลอง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 ข้อมูลเบื้องต้นของแบคทีเรียที่นามาใช้ในการปฏิบัติโครงงาน
◉ S. aureus
สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus เขียนย่อว่ำ S. aureus)
เป็นแบคทีเรีย (bacteria) ชนิดหนึ่งในสกุล (genus) Staphylococcus และ
อยู่ในวงศ์ (family) Staphylococcaceae
◉ S. aureus เป็นแบคทีเรียแกรมบวก รูปกลม อยู่รวมกันเป็นพวงคล้ำยพวงองุ่น
เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจำถิ่นในผิวหนังและโพรงจมูก เป็นแบคทีเรียก่อโรค
ชนิดหนึ่ง นอกจำกนี้ยังเป็นแบคทีเรียก่อโรคที่สำคัญในอำหำร เมื่อ S. aureus ปนเปื้อนลงไป
ในอำหำร จะสร้ำงสำรพิษที่เรียกว่ำเอนเทอโรทอกซินขึ้น สำรพิษนี้ทนต่อควำมร้อนได้ดีมำก
ทำให้ผู้บริโภคเกิดอำหำรเป็นพิษ
ภาพที่ 3 แสดง เชื้อ S. aureus
ที่มา : http://www.foodnetworksolution.com
◉ S. aureus ก่อให้เกิดกำรติดเชื้อบริเวณแผลผ่ำตัด ซึ่งเป็นสำเหตุที่สำคัญของ
โรคติดเชื้อในโรงพยำบำล พบในผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรผ่ำตัดแล้วมีกำรติดเชื้อ S. aureus
ที่อำศัยอยู่บริเวณผิวหนังของผู้ป่วยจำกบุคลำกรทำงกำรแพทย์ หรือจำกสิ่งแวดล้อม
ทำให้แผลเกิดกำรอักเสบ บวมแดง และเป็นหนอง
ภาพที่ 4 แสดง แผลผ่าตัดที่ติดเชื้อ S. aureus
ที่มา : https://cdn-
prod.medicalnewstoday.com/content/images/article
s/324/324505/methicillen-resistant-staphylococcus-
aureus-abdomen.jpg
2.1.3 สถิติผู้ป่วยจากบาดแผลติดเชื้อ
ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำด้วยกำรผ่ำตัดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับ
กำรระบำดของเชื้อดื้อยำต้ำนจุลชีพหลำยชนิดในสถำนบริกำรทำงกำรแพทย์ ทำให้ผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำด้วย
กำรผ่ำตัดมีโอกำสเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดมำกขึ้นโดยพบกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดคิดเป็นร้อยละ 20
ของกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลทั้งหมด (Anderson et al., 2014) และมีอัตรำกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดเฉลี่ย
ร้อยละ 3.7 (Korol et al., 2013)
ส่วนกำรศึกษำในประเทศไทย ในโรงพยำบำลทั้งหมด 13 แห่ง พบว่ำ มีอัตรำกำรติดเชื้อที่ตำแหน่ง
ผ่ำตัดร้อยละ 1.4 (Kasatpibal, Norgaad, & Jamulitra,2009) กำรติดเชื้อที่เกิดขึ้นส่งผลให้ผู้ป่วยที่ได้รับกำร
ผ่ำตัดต้องอยู่โรงพยำบำลนำนขึ้น ประมำณ 7-11 วัน และมีควำมเสี่ยงต่อกำรเสียชีวิตสูงถึง 2-11 เท่ำ เมื่อเทียบ
กับผู้ป่วยหลังผ่ำตัดที่ไม่มีกำรติดเชื้อ นอกจำกนี้ยังพบว่ำ ร้อยละ 75 ของกำรเสียชีวิตในผู้ป่วยที่มีกำรติดเชื้อที่
ตำแหน่งผ่ำตัดมีสำเหตุโดยตรงจำกกำรติดเชื้อที่เกิดขึ้น
อ้างอิงจาก : วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2017
2.1.4 ข้อมูลเบื้องต้นของยาปฏิชีวนะที่เลือกใช้ในการยับยั้งเชื้อ S. aureus
ยำกำนำมัยซิน (Kanamycin) หรือ กำนำมัยซิน เอ (Kanamycin A) เป็นยำปฏิชีวนะที่อยู่ในกลุ่ม
อะมิโนไกลโคไซด์ (Aminoglycoside) ใช้บำบัดรักษำอำกำรติดเชื้อแบคทีเรียได้กว้ำง (Broad spectrum
antibiotic) โดยออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรวมถึงชนิด Escherichia coli, Proteus, Serratia
marcescens และ Klebsiella pneumoniae
ยำกำนำมัยซินมีสรรพคุณดังนี้
• ยับยั้งกำรเจริญเติบโตของแบคทีเรียในลำไส้ที่มีมำกเกินไป
• บำบัดรักษำอำกำรอักเสบติดเชื้อจำกแบคทีเรียแกรมลบรวมถึงกำรติดเชื้อ S. aureus
• รักษำกำรติดเชื้อโกโนเรีย (หนองใน) ที่ดื้อต่อยำเพนิซิลลิน (Penicillin)
• ลดกำรปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียภำยในช่องท้องในระหว่ำงเข้ำรับกำรผ่ำตัดช่องท้อง
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 รายงานการวิจัยประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบสาบเสือและใบเสม็ดขาวในการกาจัด
ปลวกกินเนื้อไม้วรรณะปลวกงาน
จำกงำนวิจัยของ สุธิตำ แปะโพระ และ อำรียำ ยำมำเจริญ ได้มีการระบุถึง
องค์ประกอบทางเคมีของใบสาบเสือซึ่งพบว่ำมีหลำยชนิดด้วยกัน ได้แก่ แอลฟำพินีน (alpha-
pinene) ร้อยละ 19.32 คำร์ดีน (Cadinene) ร้อยละ 19.09 แคมบรู (Camphor) ร้อยละ 15.46
ลิโมนีน (Limonene) ร้อยละ 15.46 ส่วนคำร์โยไพลีน (Caryophyllene) ร้อยละ 7.05 และอื่นๆ
(Ceryl algohol , Betasitosterol , Terpenoids , Anisic acid , Trihydric algohol , Isosa
kuranetin, Odaratin , Tannin , Saponin) ตำมลำดับ
สืบค้นจาก : http://oservice.skru.ac.th/ebookft/1442/
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 เจลแต้มสิวสาบเสือ
จำกงำนวิจัยของนำงสำวจุฑำมณี แสงสว่ำง และคณะ สังกัดศูนย์วิจัยและถ่ำยทอด
เทคโนโลยีกำรเกษตร คณะเกษตร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (มก.) ได้ทำกำรศึกษำวิจัยเกี่ยวกับ
พืชสำบเสือ ซึ่งเป็นไม้ล้มลุก และพบว่ำ ใบและดอกของสำบเสือสำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ได้ โดย
สรรพคุณของสำบเสือมีมำกมำย สำมำรถใช้เป็นยำรักษำแผลสด สมำนแผล ถอนพิษแก้อักเสบ
แก้น้ำเหลือง ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา จึงได้ทำกำรพัฒนำเป็นเจลแต้มสิวสำบเสือ ซึ่งมีส่วนประกอบ
ของสำรสกัดสำบเสือเป็นส่วนผสม และมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ได้ดำเนินกำรยื่นคำขอรับ
อนุสิทธิบัตร เรื่อง “เจลแต้มสิวสำบเสือ” ต่อกรมทรัพย์สินทำงปัญญำและได้รับจดทะเบียน
อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11246
สืบค้นจาก : https://www.kasetkaoklai.com/home/2016/08
26
ภาพที่ 5 แสดง เจลแต้มสิวใบสาบเสือ
ที่มา : http://www.taradhealth.com
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 การศึกษาเปรียบเทียบสารสกัดจากใบสาบเสือกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งการเจริญของ
แบคทีเรีย
จำกงำนวิจัยของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ อนุชสรำ คำตัน ซึ่งเป็นกำรศึกษำกำร
เปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของ เชื้อ Pseudomonas
aeruginosa และ Staphylococcus aureus โดยทำกำรสกัดใบสำบเสือด้วยตัวทำละลำยสองชนิด คือ
น้ำกลั่นและ 95% เอทำนอล ได้สำรผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม เพื่อหำควำมเข้มข้นต่ำสุดของสำรสกัด
ใบสำบเสือที่สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรีย (MIC) พบว่ำสารสกัดจากใบสาบเสือที่สกัดด้วย
95% เอทานอล มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa และ S. aureus ได้ดีที่สุด
และสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa และ S. aureus ได้ร้อยละ 33.56 และ 28.76 ของ
การใช้ยาปฏิชีวนะ
สืบค้นจาก : http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2014/03/127276.pdf
บทที่ 3 การดาเนินโครงงาน
29
บทที่ 3 การดาเนินโครงงาน
วัสดุ
บทที่ 3 การดาเนินโครงงาน
1. ใบสำบเสือตำกแห้ง ปริมำณ 30 กรัม
2. กระดำษกรอง จำนวน 15 แผ่น
ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 6 mm
3. ผ้ำขำวบำง ขนำด 15x20 cm จำนวน 6 ผืน
4. แผ่นฟอยล์ จำนวน 6 แผ่น
5. ยำงวง จำนวน 6 เส้น
6. ไม้พันสำลี จำนวน 6 อัน
บริภำพที่ 6 แสดง ใบสำบเสือแห้ง
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 8 แสดง ผ้ำขำวบำง
ขนำด 15x20 cm
(ที่มำ : https://shopee.co.th/ผ้ำขำวบำง-ผ้ำกรอง-
ขนำด100x115cm.-i.8096338.114802910)
ภำพที่ 7 กระดำษกรองขนำดเส้นผ่ำน
ศูนย์กลำง 6 mm
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 9 แสดง แผ่นฟอยล์
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 10 แสดง ยำงวง
(ที่มำ : http://www.uboncts.com/image/
cache/data/23-packing/04-plastic-
band/280900420-223x290.jpg)
ภำพที่ 11 แสดง ไม้พันสำลี
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(26 กันยำยน 2562)
31
7. เครื่องเขย่ำแบบสั่น (Vortex Mixer) จำนวน 1 เครื่อง
8. เครื่องปั่นสำร จำนวน 1 เครื่อง
9. เครื่องชั่งแบบละเอียด จำนวน 1 เครื่อง
10. เครื่องเขย่ำสำร (Orbital Shaker) จำนวน 1 เครื่อง
11. เครื่องนึ่งฆ่ำเชื้อ (Autoclave) จำนวน 1 เครื่อง
12. ตู้เย็น จำนวน 1 ตู้
13. ตะเกียงบุนเสน จำนวน 1 เครื่อง
14. ตู้ปลอดเชื้อ (Biological Safety Cabinet) จำนวน 1 ตู้
อุปกรณ์
32
ภำพที่ 13 แสดง เครื่องปั่นสำร
(ที่มำ :
http://topicstock.pantip.com/food/
topicstock/2010/07/D9461764/D946176
4-3.jpg)
ภำพที่ 16 แสดง เครื่องนึ่งฆ่ำเชื้อ
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 14 แสดง เครื่องชั่งแบบละเอียด
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 15 แสดง เครื่องเขย่ำสำร
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 สิงหำคม 2562)
ภำพที่ 19 แสดง ตู้ปลอดเชื้อ
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 12 แสดง เครื่องเขย่ำแบบสั่น
(Vortex Mixer)
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 18 แสดง ตะเกียงบุนเสน
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 17 แสดง ตู้เย็น
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
33
15. หลอดบรรจุเชื้อ S. aureus จำนวน 1 หลอด
16. กระบอกตวงพลำสติกขนำด 500 ml จำนวน 1 ใบ
17. ขวดรูปชมพู่ขนำด 500 ml จำนวน 3 ใบ
18. จำนเพำะเลี้ยงเชื้อ จำนวน 11 จำน
19. เวอร์เนียคำลิปเปอร์ จำนวน 1 อัน
20. ไมโครปิเปตต์ จำนวน 1 อัน
21. ปำกคีบ จำนวน 2 อัน
22. ช้อนตักสำรพลำสติก จำนวน 1 อัน
อุปกรณ์ (ต่อ)
34
ภำพที่ 21 แสดง กระบอกตวงพลำสติก
ขนำด 500 ml
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 22 แสดง ขวดรูปชมพู่ขนำด 500 ml
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 23 แสดง จำนเพำะเลี้ยงเชื้อ
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 26 ปำกคีบ
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 20 แสดง หลอดบรรจุเชื้อ
S. aureus
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 24 เวอร์เนียคำลิปเปอร์
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 25 ไมโครปิเปตต์
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 27 ช้อนตักสำรพลำสติก
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
35
23. แท่งแก้วคนสำร จำนวน 1 อัน
24. จุกผ้ำ จำนวน 1 อัน
25. ปำกกำเคมี จำนวน 1 ด้ำม
26. ห่วงเขี่ยเชื้อ จำนวน 2 อัน
27. ไมโครปิเปตต์ทิป จำนวน 5 อัน
28. เครื่องระเหยแห้งภำยใต้สุญญำกำศแบบหมุน จำนวน 1 เครื่อง
29. ตู้บ่มเชื้อ จำนวน 1 เครื่อง
อุปกรณ์ (ต่อ)
36
ภำพที่ 28 แท่งแก้วคนสำร
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 29 จุกผ้ำ
(ที่มำ :
https://dx.lnwfile.com/hlsglb.png)
ภำพที่ 30 แสดง ปำกกำเคมี
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 31 แสดง ห่วงเขี่ยเชื้อ
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 32 แสดง ไมโครปิเปตต์ทิป
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 33 แสดง เครื่องระเหยแห้งภำยใต้
สุญญำกำศแบบหมุน
(ที่มำ : https://sites.google.com/site/nichomachine/
_/rsrc/1349862650368/rotary-
evaporator/rotary.jpg?height=320&width=292 )
ภำพที่ 34 แสดง ตู้บ่มเชื้อ
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
สารเคมี
30. DMSO ปริมำตร 40 มิลลิลิตร
31. เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ปริมำตร 1.5 ลิตร
32. น้ำกลั่น ปริมำตร 1 ลิตร
33. ยำกำนำมัยซิน ปริมำตร 100 มิลลิลิตร
34. Agar ปริมำณ 3.6 กรัม
35. Mueller Hinton Broth ปริมำณ 4.2 กรัม
ภำพที่ 37 น้ำกลั่น
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 36 เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v
ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม
(5 กรกฎำคม 2562)
ภำพที่ 38 ยำกำนำมัยซิน
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 35 แสดง DMSO
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(26 กันยำยน 2562)
ภำพที่ 39 Agar
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
ภำพที่ 40 Mueller Hinton
Broth
ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์
(17 เมษำยน 2562)
3.2 ขั้นตอนการทาโครงงาน
3.2.1 ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์
ตอนที่ 1 การเตรียมสารสกัดจากใบสาบเสือ
2) นาผงใบสาบเสือมาเตรียมสารละลาย
ในเอทานอล ความเข้มข้น 95% v/v
โดยบรรจุผงสาบเสือ 10 กรัม และ
เอทานอล 250 ml ในขวดรูปชมพู่ขนาด
500 ml ทาจานวน 3 ใบ
1) นาใบสาบเสือตากแห้ง
มาปั่นให้ละเอียดโดยใช้
เครื่องปั่นสาร
ชั่งน้าหนักให้ได้ 30 กรัม
3) นาขวดรูปชมพู่ทั้ง 3
ใบ ไปเลี้ยงในสภาวะเขย่า
โดยใช้เครื่องเขย่าสาร
ความเร็ว 160 รอบ/นาที
ทิ้งไว้ 14 วัน
4) นาสารละลายจากข้อ 3 มา
กรองลงในบีกเกอร์ด้วยผ้าขาวบาง
เทใส่ขวดรูปชมพู่แล้วปิดปากขวด
ด้วยแผ่นฟอยล์และรัดด้วย
หนังยาง
3.2 ขั้นตอนการทาโครงงาน
3.2.1 ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์
ตอนที่ 1 การเตรียมสารสกัดจากใบสาบเสือ (ต่อ)
5) นาขวดรูปชมพู่ไปใส่ในเครื่องระเหย
แห้งภายใต้สุญญากาศแบบหมุน เพื่อ
ระเหยเอทานอล ความเข้มข้น 95% v/v
ออกจากสารละลาย ให้เหลือเพียงสาร
สกัดเข้มข้นจากใบสาบเสือ
6) แบ่งสารสกัดเข้มข้นจาก
ขวดรูปชมพู่และเติม
DMSO จนได้สารสกัด 3
ระดับความเข้มข้น
100 mg/ml
250 mg/ml
500 mg/ml
40
ตอนที่ 2 การเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ
ในกำรทดสอบนี้จะใช้อำหำรเลี้ยงเชื้อแบบแข็งโดยวิธี Agar diffusion โดยใช้อำหำรเชื้อแบบแข็ง (Plate count agar) วิธีกำรเตรียม
จำนอำหำรเลี้ยงเชื้อมีดังต่อไปนี้
ตอนที่ 3 การเตรียมแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบ
ใช้แบคทีเรียที่มีอำยุไม่เกิน 24 ชั่วโมง และควำมเข้มข้นของเชื้อที่ใช้ต้องในปริมำณที่เหมำะสม ซึ่งโดยทั่วไปจะนิยมใช้เชื้อปริมำณ
105 – 107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร วิธีกำรทำมีดังต่อไปนี้
1) ชั่ง Agar ปริมาณ 3.6 กรัม และ Mueller
Hinton Broth ปริมาณ 4.2 กรัม นามา
ละลายในน้ากลั่นปริมาตร 200 ml คนจน
สารละลายหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
2) บรรจุอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหลวลงใน
ขวดรูปชมพู่ และนาไปนึ่งฆ่าเชื้อด้วย
อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็น
เวลา 15 นาที
3) นาอาหารเลี้ยงเชื้อเทลงบน
จานเลี้ยงเชื้อให้ได้จานวน 6 จาน
และพักจานอาหารเลี้ยงเชื้อไว้ใน
ตู้ปลอดเชื้อ
1) เขี่ยโคโลนีของเชื้อที่ต้องการทดสอบที่
เพาะเลี้ยงไว้ในจานอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีอายุ
ประมาณ 24 ชั่วโมง มาใส่ในอาหารสาหรับ
เลี้ยงเชื้อที่เตรียมไว้ในหลอด ทดสอบ
ปริมาตรหลอดละ 2 ml
3) นาเชื้อมาเจือจางให้ได้จานวน
แบคทีเรีย 105 – 107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร
ในน้าเกลือ 0.85% w/v แล้วนาไปเทียบ
ความขุ่นกับหลอดบรรจุเชื้อที่เตรียมไว้
เป็นมาตรฐาน
2) นาหลอดอาหารเลี้ยงเชื้อไปเพาะเลี้ยง
ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซียลเซียส เป็นเวลา
24 ชั่วโมง
41
3.2.2 ขั้นตอนการทดลอง
กำรทดลองเกี่ยวกับประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย S. aureus โดยกำรทดสอบด้วยวิธี Disc diffusion techniques
3.2.2.1 กลุ่มประชากรตัวอย่างที่ศึกษา
เชื้อ S. aureus
3.2.2.2 กลุ่มในการทดลอง
1) กลุ่มทดลอง (Experimental group)
จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่หยดสำรสกัดจำกใบสำบเสือ
2) กลุ่มควบคุม (Control group)
2.1) กลุ่มควบคุมแบบบวก (Positive Control) : จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่
หยดยำปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งเชื้อได้ (ยำกำนำมัยซิน ควำมเข้มข้น 250 mg/ml)
2.2) กลุ่มควบคุมแบบลบ (Negative Control) : จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่
หยด DMSO
42
3.2.2.3 ขั้นตอนการศึกษาทดลอง
ภำพที่ 41 แสดงตัวอย่ำงกำรวำงแผ่นกระดำษกรองบนจำนเพำะเชื้อ
1) เขียนที่จานอาหารเลี้ยงเชื้อแบบแข็ง
จานวน 6 จาน เพื่อระบุตาแหน่งที่จะวาง
แผ่นกระดาษกรอง (paper disk) ขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 mm ดังภาพที่ 41
2) เพาะเลี้ยงเชื้อ S. aureus ลงบนอาหารเลี้ยง
เชื้อแบบแข็งโดยใช้ไม้พันสาลีชุบแบคทีเรียใน
น้าเกลือ แล้วบิดให้แห้งพอหมาดๆ กับข้างหลอด
ทดลอง จากนั้นทาการ swab ให้ทั่วบนผิวอาหาร
เลี้ยงเชื้อ ทิ้งไว้ในตู้ปลอดเชื้อประมาณ 3 - 5 นาที
เพื่อให้ส่วนผิวหน้าของอาหารเลี้ยงเชื้อแห้ง
3) ใช้ไมโครปิเปตต์ดูดสารสกัดจาก
ใบสาบเสือใน DMSO ความเข้มข้น
100 mg/ml หยดลงบนกระดาษกรอง
จานวน 3 ชิ้น ชิ้นละ 10 µl
3.2.2.3 ขั้นตอนการศึกษาทดลอง (ต่อ)
4) ใช้ปากคีบคีบกระดาษกรองจากข้อ 3
วางบนจานเพาะเชื้อที่เตรียมไว้ข้างต้น
จานวน 3 จาน จานละ 1 ชิ้น โดยนามาวาง
ที่ตาแหน่งที่กาหนดแล้วกดเบาๆ
5) ทาซ้าข้อ 3-4 กับสารสกัดจากใบสาบเสือ
ใน DMSO ความเข้มข้น 250 mg/ml ,
500 mg/ml และสารละลายกลุ่มควบคุม
แบบลบ โดยวางกระดาษกรองลงบนจาน 3
จานเดิม
6) ใช้ไมโครปิเปตต์ดูดสารละลายกลุ่ม
ควบคุมแบบบวก หยดลงบนกระดาษกรอง
จานวน 3 ชิ้น ชิ้นละ 10 µl
7) ใช้ปากคีบคีบกระดาษกรองจากข้อ 6 วาง
บนจานเพาะเชื้อที่เตรียมไว้ข้างต้นอีก 3 จาน
ที่เหลือ จานละ 1 ชิ้น โดยนามาวางที่ตาแหน่ง
ที่กาหนดแล้วกดเบาๆ
8) นาจานเลี้ยงเชื้อทั้ง 6 จาน ไปเลี้ยงเชื้อใน
สภาวะที่มีแก๊สออกซิเจน ภายใต้อุณหภูมิ
35-37 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 24
ชั่วโมง
9) วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใสที่
เกิดขึ้นโดยวัดจากขอบข้างหนึ่งไปยังขอบอีก
ข้างหนึ่ง ให้ผ่านจุดศูนย์กลางของกระดาษกรอง
และบันทึกหน่วยเป็น cm
ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส (Inhibition zone; cm) = ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของ
กระดำษกรองรวมกับบริเวณใสของเชื้อ
ภำพที่ 42 แสดงตัวอย่ำงกำรเกิดบริเวณใสบนจำนเพำะเชื้อ
(Inhibition zone)
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูลและการรายงานผลการทาโครงงานวิจัย
◉ นาเสนอข้อมูลด้วยการรายงานสถิติเชิงพรรณา
กำรวิเครำะห์ข้อมูลผลกำรยับยั้งแบคทีเรียของสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดย
คำนวณหำค่ำเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ของขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส
ในจำนเพำะเชื้อกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
46
3.4 การวางแผนปฏิบัติงาน
บทที่ 4 ผลการทดลองและ
การวิเคราะห์ผลการทดลอง
4.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง
ตารางที่ 1 ผลการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
สารละลายที่ใช้ทดสอบ
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ
บริเวณใส (cm)
ค่าเฉลี่ย
(ഥ𝒙)
(cm)
ส่วน
เบี่ยงเบน
มาตรฐาน
(SD.)
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
กลุ่มทดลอง
(สำรสกัดใบสำบเสือ)
ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.89 0.75 0.78 0.81 0.07
ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.95 0.95 1.01 0.97 0.03
ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.13 1.16 1.20 1.16 0.04
กลุ่มควบคุม
Positive Control :
ยำกำนำมัยซิน
4.63 4.63 4.62 4.63 0.01
Negative Control :
DMSO
0 0 0 0 0
49
ตารางที่ 2 วิเคราะห์ผลการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม
49
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
สารละลายที่ใช้ทดสอบ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใส
(cm)
(ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
กลุ่มทดลอง
(สำรสกัดใบสำบเสือ)
1.ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.81 ± 0.07
2.ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.97 ± 0.03
3.ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.16 ± 0.04
กลุ่มควบคุม Positive Control : ยำกำนำมัยซิน 4.63 ± 0.01
Negative Control : DMSO 0 ± 0
50
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแบบบวก
50
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
กลุ่มทดลอง
(สารสกัดใบสาบเสือ)
ค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของบริเวณใสใน
กลุ่มทดลอง
(cm)
ค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของบริเวณใสใน
กลุ่มควบคุมแบบบวก (cm)
ร้อยละของค่าเฉลี่ยความ
แตกต่างขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของบริเวณใส
(cm)
1.ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.81
4.63
17.49
2.ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.97 20.95
3.ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.16 25.05
51
4.2 กราฟแสดงผลการทดลอง
กราฟแท่งแสดงผลการยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus จากค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใสใน
จานเพาะเลี้ยงเชื้อของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
100 mg/ml 250 mg/ml 500 mg/ml Positive Control Negative Control
ค่า ฉลี่ยขนาด ้นผ่านศูนย์กลางของ (cm)
า ละลายที่ ช้
ทด อ
ภาพที่ 43 - 48 ที่ กดขึ้น นจาน พาะ ชื้อท้้งมดด
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
4.3 วิเคราะห์ผลการทดลอง
จำกผลกำรทดลองพบว่ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำม
เข้มข้น 95% v/v มีผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus กลุ่มควบคุมแบบบวก และ
กลุ่มควบคุมแบบลบมีค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อ 4.63 และ
0 cm ตำมลำดับ จำกควำมเข้มข้นของสำรสกัด 3 ระดับควำมเข้มข้น ได้แก่ 100 mg/ml ,
250 mg/ml และ 500 mg/ml ทำให้เกิดค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสใน
จำนเพำะเชื้อ 0.81 , 0.97 และ 1.16 cm คิดเป็นร้อยละ 17.49 , 20.95 และ 25.05 ของกลุ่ม
ควบคุมแบบบวก ตำมลำดับ
หมายเหตุ : การคิดร้อยละของค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใส อ้างอิงจากงานวิจัยเรื่องการศึกษา
เปรียบเทียบสารสกัดจากใบสาบเสือกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียของปนิศา นมัสการ ,
สุภาพร รัตนพลที และ อนุชสรา คาตัน (2555)
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
4.3 วิเคราะห์ผลการทดลอง (ต่อ)
ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO ที่เพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้
กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus เพิ่มขึ้น ซึ่งวัดได้จำกค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง
ของบริเวณใสที่เพิ่มขึ้นตำมลำดับ และสำรสกัดควำมเข้มข้น 500 mg/ml เป็นควำมเข้มข้นที่
สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ได้มำกที่สุด และพบว่ำเมื่อเพิ่มควำมเข้มข้นของสกัด
จำก 100 mg/ml เป็น 250 mg/ml คิดเป็น 2.5 เท่ำ ส่งผลให้กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ
S. aureus ของสำรสกัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.75 และเมื่อเพิ่มควำมเข้มข้นของสกัดจำก 250
mg/ml เป็น 500 mg/ml คิดเป็น 2 เท่ำ ส่งผลให้กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ของ
สำรสกัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.58
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
1. จำกกำรศึกษำวิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือ โดยกำรแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v
เนื่องจำกกำรแช่สกัดสำรสกัดมีข้อดี คือ สำรสกัดจะไม่ถูกควำมร้อนและเป็นวิธีกำรที่ไม่ซับซ้อน และ
อ้ำงอิงจำกงำนวิจัยเรื่องกำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำร
เจริญของแบคทีเรียของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ อนุชสรำ คำตัน ที่กล่ำวว่ำกำรสกัด
สำรด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ทำให้ประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในกำรยับยั้ง
กำรเจริญของ S. aureus ให้ผลดีที่สุด หลังจำกสกัดจะนำมำระเหยเอทำนอลออก และเลือกใช้ตัวทำ
ละลำย DMSO ในกำรเจือจำงสำรสกัดหยำบ เนื่องจำกเป็นตัวทำละลำยที่ไม่มีขั้ว จึงสำมำรถละลำย
สำรสกัดจำกพืชได้ดี ปลอดภัย และไม่ให้ผลในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
2. จำกกำรศึกษำผลกำรยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ พบว่ำสำรสกัด
สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus ได้ เนื่องจำกเกิดบริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ ซึ่งเป็นไป
ตำมสมมติฐำนที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับงำนวิจัยเรื่องกำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับ
ยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรียของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ
อนุชสรำ คำตัน ที่กล่ำวว่ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ได้ และ
งำนวิจัยเรื่องเจลแต้มสิวสำบเสือของนำงสำวจุฑำมณี แสงสว่ำง และคณะ ที่กล่ำวว่ำใบสำบเสือมี
ฤทธิ์ต้ำนแบคทีเรียและเชื้อรำ
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
3. จำกกำรเปรียบเทียบผลกำรยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและสำรละลำย
กลุ่มควบคุม พบว่ำสำรละลำยกลุ่มควบคุมแบบบวก (ยำกำนำมัยซิน) มีประสิทธิภำพในกำรยับยั้ง
แบคทีเรีย S. aureus ได้ดีที่สุด รองลงมำคือสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีควำมเข้มข้น 500 mg/ml , 250
mg/ml และ 100 mg/ml ซึ่งทำให้เกิดบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อที่มีค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง
เท่ำกับ 4.63 , 1.16 , 0.97 และ 0.81 cm ตำมลำดับ ส่วนสำรละลำยกลุ่มควบคุมแบบลบ (DMSO) ไม่
ทำให้เกิดบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อ โดยเมื่อค่ำควำมเข้มข้นของสำรสกัดเพิ่มขึ้น ค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำน
ศูนย์กลำงของบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน แสดงว่ำประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญ
ของ S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือแปรผันตรงตำมควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ
เป็นไปตำมสมมติฐำนที่ตั้งไว้
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5.2 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. ทำกำรทดลองกับเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นที่เป็นเชื้อก่อโรคบริเวณผิวหนัง เช่น
P. Aeruginosa , Streptococcus pyogenes ฯลฯ ในกำรทดลองครั้งต่อไป
2. ใช้วิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือแบบอื่น เช่น วิธีกำรสกัดแบบกำรไหลซึม ฯลฯ
3. ควรเพิ่มเวลำในกำรสกัดหรือสกัดซ้ำ เพื่อให้สกัดสำรจำกกำกใบสำบเสือออกมำได้
มำกที่สุด
4. นำไปต่อยอดเป็นนวัตกรรมทำงกำรแพทย์ เช่น พลำสเตอร์ยำ ผ้ำก๊อซปิดแผล และ
เจลทำแผลป้องกันกำรติดเชื้อ
5. อำจทำกำรศึกษำสรรพคุณอื่นๆ ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ เช่น กำรห้ำมเลือด
กำรยับยั้งจุลินทรีย์ในน้ำ
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ภาคผนวก
60
ภาพที่ 53 า ก้ดที่ได้จากกา ก อง
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(16 ก กฎาคด 2562)
ภาพที่ 52 ลี้ยง า ก้ด น ภา ะ ขย่า
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(16 ก กฎาคด 2562)
ภาพที่ 51 แช่ ก้ด า ือ น อทานอล
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 50 ช้่งน้ามน้กผง า ือ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 49 อุปก ์ที่ ช้ นกา ก้ด า
ก้ด า ือ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาคผนวก
61
ภาพที่ 54 ช้่งน้ามน้ก ้ตถุด าม ้
ทาอามา ลี้ยง ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 55 คน า ม้ ข้าก้น
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 56 อามา ลี้ยง ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 57 นาอามา ลี้ยง ชื้อพ ้อด
อุปก ์ต่างๆดานึ่งฆ่า ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
62
ภาพที่ 58 อามา ลี้ยง ชื้อที่ผ่านกา นึ่ง
ฆ่า ชื้อแล้
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 59 ทอามา ลี้ยง ชื้อลง นจาน
พาะ ชื้อ ปล่า
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 60 พ้กจานอามา ลี้ยง ชื้อไ ้ นตู้
ปลอด ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาคผนวก
ภาพที่ 64 ทีย ค าดขุ่นของ ชื้อก้
มลอด จุ ชื้อที่ ต ียดไ ้ป็นดาต ฐาน
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(17 เมษายน 2562)
ภาพที่ 63 ช้ค ื่องVortex Mixer นกา
ผ ด ชื้อ ม้ ป็น นื้อ ดีย ก้นก้ น้า กลือ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(26 กันยายน 2562)
ภาพที่ 62 ทากา จือจาง ชื้อS. aureus
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(26 กันยายน 2562)
ภาพที่ 61 ต้ อย่าง ชื้อ S. aureus
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
ภาคผนวก
ภาพที่ 66 - 67 ช้ได้พ้น าลีชุ แ คที ีย
นน้า กลือ และปาด ม้ท้่ ผ มน้าของ
อามา ลี้ยง ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(26 ก้นยายน2562)
ภาพที่ 65 ขียน ะ ุตาแมน่ง าง
แผ่นก ะดาษก อง นจานอามา ลี้ยง ชื้อ
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(26 กันยายน 2562)
ภาคผนวก
ภาพที่ 68 า ก้ดที่ จือจาง น ะด้
ค าด ข้ดข้นต่างๆ
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
ภาคผนวก
ภาพที่ 69 ช้ไดโค ป ปตต์ดูด า ก้ด
ดามยดลง นก ะดาษก อง
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
ภาพที่ 71 จาน พาะ ชื้อที่ างก ะดาษก อง
ีย ้อยแล้
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
ภาพที่ 70 คี ก ะดาษก องดา างลง น
จาน พาะ ชื้อ นตาแมน่งที่กามนด
ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด
(26 ก้นยายน 2562)
ภาคผนวก
ภาพที่ 73 ช้ อ ์ นียคาลป ปอ ์ ้ดขนาด
้นผ่านศูนย์กลางของ ที่ กดขึ้น
ถ่ายภาพโดย:กฤตอ โ ภ พงษ์
(27 ก้นยายน 2562)
ภาพที่ 72 นาจาน ลี้ยง ชื้อท้้ง6 จาน ไป ลี้ยง
นตู้ ่ด ชื้อ ป็น ะยะ ลา24ช้่ โดง
ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์
(26 ก้นยายน 2562)
เอกสารอ้างอิง
1. “กำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรีย.” 2555.
[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2014/03/127276.pdf.
(สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562).
2. Akah PA. Mechanism of hemostatic activity of Eupatorium odoratum. Int J Crude Drug Res 1990 ; 28 : 253-6.
3. Joshi R. K. Chemical Composition of the Essential Oils of Aerial Parts and Flowers of Chromolaena
odorata. Journal of Essential Oil Bearing Plants 2013 ; 16(1) : 71-75.
4. Pandith H, Zhang X, Liggett J, Won Min K, Gritsanapan W, Baek SJ. Hemostatic and wound healing
properties of Chromolaena odorata leaf extract. ISRN Dermatol 2013 ; 2013 : 1-9.
5. เมดไทย. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://medthai.com. (สืบค้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกำยน 2561).
6. วิกิพีเดีย [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://www.wikipedia.org. (สืบค้นเมื่อวันที่ 4 กุมภำพันธ์ 2562).
7. “สำบเสือ ใบสำบเสือ และสรรพคุณสำบเสือ.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://puechkaset.com.
(สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภำคม 2562).
8. “สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.foodnetworksolution.com
/wiki/word/1197/staphylococcus-aureus. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562).
9. “กำรป้องกันกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัด.” 2560. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : file:///C:/Users/User/
Downloads/103366-Article%20Text-261121-1-10-20171119.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562).
เอกสารอ้างอิง
10. “สำบเสือ...วัชพืชที่ไม่ใช่แค่วัชพืช.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : file:///C:/Users/User/Downloads
/YYYYYYYYYYYYYYYYY59.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562).
11. “รำยงำนกำรวิจัยประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและใบเสม็ดขำวในกำรกำจัดปลวกกินเนื้อไม้วรรณะ
ปลวกงำน.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://oservice.skru.ac.th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25
พฤษภำคม 2562).
12. “กำนำมัยซิน (Kanamycin).” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://haamor.com/th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25
พฤษภำคม 2562).
13. “กำรดื้อยำปฏิชีวนะของ Staphylococcus aureus และแนวทำงกำรควบคุม.” 2552. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้
จำก : http://medinfo.psu.ac.th/smj2/27_4_09/27_4pdf/08nitipong.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยำยน 2562).
14. “ตัวทำละลำยอะโพรติกที่ไม่มีขั้วชนิด DMSO (ไดเมททิล ซัลฟอกไซด์).” 2562. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้
จำก : https://www.toray.co.th/products/chemicals/che_0150.html. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562).
15. “กำรสกัดแยกสำรออกฤทธิ์ทำงชีวภำพและวิเครำะห์องค์ประกอบทำงเคมี จำกสมุนไพร.” 2561.
[ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=4737. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562).
16. “โรคไฟลำมทุ่ง.” 2557. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก :
http://dst.or.th/Publicly/Articles/1195.23.12/0ZVwsssrEf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562).
ขอบพระคุณทุกท่านที่รับฟังการ
นาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้
น.ส.กฤตอร โสภณพงษ์ และ น.ส.พรรณสิริ สระโสม

More Related Content

What's hot

กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศAnuchitKongsui
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกEnormity_tung
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 

What's hot (20)

กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
อนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอนอนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอน
 

Similar to Pptgst uprojectplant62

นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางNaw Fatt
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์Kapom K.S.
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_Sukanya Kimkramon
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 

Similar to Pptgst uprojectplant62 (15)

M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
oogenesis
oogenesisoogenesis
oogenesis
 
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
Bio 3
Bio 3Bio 3
Bio 3
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62
 

Pptgst uprojectplant62

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารสกัดจากใบต้นสาบเสือต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus (Antibacteria of Crude Extracts from Chromolaena odorata) ผู้จัดทำโครงงำน นำงสำว กฤตอร โสภณพงษ์ เลขที่ 2 นำงสำว พรรณสิริ สระโสม เลขที่ 7 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ห้อง 651 โครงงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรพัฒนำศักยภำพนักเรียนที่มีควำมสำมำรถพิเศษทำงวิทยำศำสตร์ ปีกำรศึกษำ 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ครูที่ปรึกษำโครงงำน นำง ทิพย์อำภำ ศรีวรำงกูล นำย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ สำขำวิชำชีววิทยำ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ที่ปรึกษำพิเศษ รศ.ดร. สีหนำท ประสงค์สุข ภำควิชำพฤกษศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ศ.ดร.สมบูรณ์ ธรำศุภวัฒน์ นำงสำว นิสำชล เทศศรี ภำควิชำชีวเคมีและจุลชีววิทยำ คณะเภสัชศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
  • 3. 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันมีผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุและมีบำดแผลอยู่เป็นจำนวนมำก ผู้ป่วยบำงรำยต้องประสบปัญหำเรื่อง แผลติดเชื้อ ทำให้ผู้ป่วยต้องนอนพักรักษำตัวในโรงพยำบำลนำน เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรรักษำมำก และเสีย โอกำสในกำรประกอบอำชีพกำรงำน นอกจำกนี้กำรป้องกันกำรติดเชื้อที่เกิดจำกแผลผ่ำตัดก็มีควำมสำคัญ มำกขึ้น เนื่องจำกควำมเจริญก้ำวหน้ำและกำรพัฒนำเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ ทำให้จำนวนผู้ป่วยที่เข้ำรับ กำรรักษำด้วยกำรผ่ำตัดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยพบกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดคิดเป็นร้อยละ 20 ของกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลทั้งหมด (อ้ำงอิงจำก : วำรสำรพยำบำลศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พฤษภำคม-สิงหำคม 2017) เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสำเหตุสำคัญของกำรเกิดแผลติดเชื้อ คือ Staphylococcus aureus ที่อำศัยอยู่บริเวณผิวหนัง ซึ่งในกำรยับยั้งแบคทีเรียดังกล่ำวจะสำมำรถลด อุบัติกำรณ์กำรเกิดบำดแผลติดเชื้อได้
  • 4. 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ) แนวทำงในกำรรักษำและป้องกันแผลติดเชื้อในปัจจุบัน มีกำรใช้ยำปฏิชีวนะฆ่ำเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งกำรใช้ยำ ที่เป็นสำรเคมีนั้นอำจเกิดผลข้ำงเคียงต่อร่ำงกำยได้ นอกจำกนี้ยังเกิดกำรดื้อยำปฏิชีวนะใน S. aureus บำง สำยพันธุ์ ผู้จัดทำจึงมีแนวคิดในกำรนำพืชสมุนไพรมำใช้ในกำรยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดังกล่ำว และเลือกสมุนไพร สำบเสือ ที่เป็นภูมิปัญญำของชำวบ้ำนในกำรนำมำสมำนแผล และยังเป็นวัชพืชที่ไม่ได้ถูกนำมำใช้ประโยชน์ โครงงำน เรื่อง กำรศึกษำผลของควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบต้นสำบเสือต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus จึงทำขึ้นเพื่อทดสอบผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีต่อกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ S. aureus และหำควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในสำรละลำยไดเมทิลซัลฟอกไซด์ (DMSO) ที่มี ประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อได้ดีที่สุด ซึ่งวัดจำกขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส บนจำนเพำะเชื้อ โดยโครงงำนนี้ยังสำมำรถนำไปต่อยอดในกำรเพิ่มมูลค่ำของสมุนไพรที่เป็นวัชพืชได้อีกด้วย คาสาคัญ : สารสกัดจากใบสาบเสือ , S. aureus , บริเวณใส , แผลติดเชื้อ
  • 5. 1.2 ปัญหาในการทาโครงงาน 1. สำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v มีผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus หรือไม่ 2. ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือใดมีประสิทธิภำพในกำร ยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus ได้ดีที่สุด
  • 6. 1.3 สมมติฐานการทดลอง 1. ถ้ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v มี ผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus แล้วจะเกิดบริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อที่หยด สำรสกัดจำกใบสำบเสือ 2. ถ้ำควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในสำรละลำย DMSO มีผลต่อ ประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus แล้วขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของ บริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อจะแตกต่ำงกัน
  • 7. 1.4 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษำวิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือโดยวิธีกำรแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v 2. เพื่อศึกษำผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus 3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีควำมเข้มข้นแตกต่ำงกันในตัวทำละลำย DMSO
  • 8. 8 1.5 ขอบเขตของโครงงาน 1. กำรทำโครงงำนครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษำถึงผลของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและ เปรียบเทียบประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO ในควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกัน ใน กำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของแบคทีเรีย คือ เชื้อ S. aureus บนจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ 2. วิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือ คือ นำใบสำบเสือตำกแห้งมำปั่นละเอียด แช่สกัดใบสำบเสือแห้งใน เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ตั้งทิ้งไว้บนเครื่องเขย่ำสำรเป็นเวลำ 14 วัน แล้วนำมำระเหยเอทำนอลออก จนเหลือแต่สำรสกัดใบสำบเสือเข้มข้น และเติมตัวทำละลำย DMSO ให้ได้ควำมเข้มข้น 100 mg/ml , 250 mg/ml และ 500 mg/ml 3. วัดประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อจำกขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส และบันทึกผล เพื่อ เปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อของสำรสกัดจำกใบสำบเสือต่อไป
  • 9. 1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO ตัวแปรตาม คือ ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสบนจำนเพำะเชื้อ ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดและสำยพันธุ์ของเชื้อแบคทีเรียที่นำมำทดสอบ อำหำรเลี้ยงเชื้อ ระยะเวลำเพำะเลี้ยงเชื้อ อุณหภูมิที่ใช้เพำะเลี้ยงเชื้อ ปริมำณของสำรสกัด ระยะเวลำที่ใช้ใน กำรสกัด
  • 10. 1.7 นิยามเชิงปฏิบัติการ 1. ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส (Inhibition zone; cm) = ขนำด เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของกระดำษกรองรวมกับบริเวณใสของเชื้อ 2. สำรสกัดจำกใบสำบเสือ คือ สำรที่ได้จำกกำรสกัดใบสำบเสือด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v โดยวิธีกำรแช่สกัดแล้วนำมำระเหยแห้ง และเติม DMSO ให้ได้ควำมเข้มข้นตำมที่กำหนด 3. ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ คือ น้ำหนักของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ (mg) ในตัวทำละลำย DMSO ปริมำตร 1 ml 4. เชื้อ S. aureus คือ แบคทีเรียกรัมบวกชนิดหนึ่งในสกุล Staphylococcus อยู่ในวงศ์ Staphylococcaceae มีรูปร่ำงกลม เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจำถิ่นในผิวหนังและ โพรงจมูก ก่อให้เกิดกำรติดเชื้อบริเวณแผลผ่ำตัด ได้จำกห้องปฏิบัติกำรภำควิชำชีวเคมีและจุลชีววิทยำ คณะเภสัชศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
  • 11. 1.8 ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน วันที่ 19 พฤศจิกำยน พ.ศ.2561 ถึง เดือนกุมภำพันธ์ พ.ศ.2563 1.9 วิธีการเก็บข้อมูล กำรใช้เวอร์เนียคำลิปเปอร์ที่มีมำตรฐำนวัดขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส ของเชื้อบนจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ ในหน่วย cm เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรยับยั้งเชื้อ S. aureus ของสำรสกัดจำกสำบเสือที่มีควำมเข้มข้นแตกต่ำงกัน
  • 12. 1.10 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบสาบเสือในการยับยั้งการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียที่พบบ่อยบนบาดแผลคือเชื้อ S. aureus กำรวัดขนำดของบริเวณใสของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและขนำดของบริเวณใส ของชุดทดลองและชุดควบคุม แล้วนำมำหำค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (ทศนิยม สองตำแหน่ง)
  • 13. 1.11 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดปริมำณวัชพืชต้นสำบเสือในธรรมชำติ 2. สร้ำงมูลค่ำให้กับต้นสำบเสือที่พบได้ทั่วไปและมีจำนวนมำก 3. สำมำรถนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในกำรลดอุบัติกำรณ์กำร ติดเชื้อของแผลโดยใช้สำรสกัดจำกสมุนไพรธรรมชำติสำบเสือ ซึ่งไม่เป็นพิษตกค้ำงใน ร่ำงกำย
  • 15. 2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของสาบเสือ ◉ ชื่อสำมัญ : Siam weed, Bitter bush, Christmas bush, Devil weed, Camfhur grass, Common floss flower, Triffid ◉ ชื่อวิทยำศำสตร์ : Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob. (ชื่อพ้อง วิทยำศำสตร์ Eupatorium odoratum L.) จัดอยู่ในวงศ์ทำนตะวัน (Asteraceae หรือ Compositae) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 16. ลักษณะของสาบเสือ ต้นสาบเสือ จัดเป็นวัชพืชที่มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกำกลำง โดยมีเขตแพร่กระจำยตั้งแต่ทำงตอนใต้ของรัฐ ฟลอริดำไปจนถึงทำงตอนเหนือของประเทศอำร์เจนตินำ และระบำดทั่วไปในเขตร้อนทั่วทุกทวีป โดยจัดเป็น พรรณไม้ล้มลุก เป็นพืชที่แตกกิ่งก้ำนสำขำมำกจนเหมือนทรงพุ่ม กิ่งก้ำนและลำต้นจะปกคลุมไปด้วยขนนุ่ม อ่อน ๆ มีลำต้นสูงประมำณ 1-2 เมตร และสำบเสือจัดเป็นพืชรุกรำนต่ำงถิ่นที่สำมำรถเติบโต และแพร่กระจำย ได้อย่ำงรวดเร็ว เนื่องจำกมีเมล็ดจำนวนมำก และเมล็ดสำมำรถลอยตำมลมได้ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 1 แสดง ต้นสาบเสือ ที่มา : https://medthai.com
  • 17. ใบสาบเสือ มีใบเป็นใบเดี่ยวออกจำกลำต้น ที่ข้อแบบตรงกันข้ำม ใบมีสีเขียวอ่อน ลักษณะของใบคล้ำยรูปรีทรงรูป สำมเหลี่ยม ปลำยใบแหลม ฐำนใบกว้ำง ใบเรียวสอบเข้ำหำกัน มีขอบใบหยัก ที่ใบ เห็นเส้นชัดเจน 3 เส้น ผิวใบทั้งสองด้ำนมี ขนอ่อนปกคลุม ใบและก้ำนเมื่อนำมำขยี้ จะมีกลิ่นแรงคล้ำยกลิ่นสำบเสือ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 2 แสดง ใบสาบเสือ ที่มา : https://mgronline.com/sout h/detail/9590000126717
  • 18. สรรพคุณในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของสาบเสือ สำรสกัดจำกใบสำบเสือสำมำรถฆ่ำเชื้อจุลินทรีย์ รักษำแผล และลดกำรอักเสบได้ดี ซึ่งอำจเป็นผลมำจำกสำรสำคัญที่อยู่ในใบสำบเสือซึ่งได้ถูกรำยงำนไว้ โดยใบสำบเสือมี สำรสำคัญหลำยชนิด ได้แก่ สำรในกลุ่ม alkaloids, saponins, tannins, flavonoils, flavonones, chalcones, phenolics, protocatachuic acid และessential oils เป็นต้น นอกจำกนี้ กำรศึกษำควำมเป็นพิษเฉียบพลันของสำรสกัดเอทำนอลจำกใบสำบเสือในหนูเมำส์ พบว่ำ สำรสกัดใบสำบเสือไม่มีควำมเป็นพิษเฉียบพลัน โดยมีค่ำ LD50> 20 g/kg body weight ซึ่งควำมเข้มข้นของสำรสกัดที่ทดสอบ (1- 20 g/kg/body weight) ไม่ทำให้เกิด กำรตำยในหนูที่ทดลอง บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 19. 2.1.2 ข้อมูลเบื้องต้นของแบคทีเรียที่นามาใช้ในการปฏิบัติโครงงาน ◉ S. aureus สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus เขียนย่อว่ำ S. aureus) เป็นแบคทีเรีย (bacteria) ชนิดหนึ่งในสกุล (genus) Staphylococcus และ อยู่ในวงศ์ (family) Staphylococcaceae
  • 20. ◉ S. aureus เป็นแบคทีเรียแกรมบวก รูปกลม อยู่รวมกันเป็นพวงคล้ำยพวงองุ่น เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจำถิ่นในผิวหนังและโพรงจมูก เป็นแบคทีเรียก่อโรค ชนิดหนึ่ง นอกจำกนี้ยังเป็นแบคทีเรียก่อโรคที่สำคัญในอำหำร เมื่อ S. aureus ปนเปื้อนลงไป ในอำหำร จะสร้ำงสำรพิษที่เรียกว่ำเอนเทอโรทอกซินขึ้น สำรพิษนี้ทนต่อควำมร้อนได้ดีมำก ทำให้ผู้บริโภคเกิดอำหำรเป็นพิษ ภาพที่ 3 แสดง เชื้อ S. aureus ที่มา : http://www.foodnetworksolution.com
  • 21. ◉ S. aureus ก่อให้เกิดกำรติดเชื้อบริเวณแผลผ่ำตัด ซึ่งเป็นสำเหตุที่สำคัญของ โรคติดเชื้อในโรงพยำบำล พบในผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรผ่ำตัดแล้วมีกำรติดเชื้อ S. aureus ที่อำศัยอยู่บริเวณผิวหนังของผู้ป่วยจำกบุคลำกรทำงกำรแพทย์ หรือจำกสิ่งแวดล้อม ทำให้แผลเกิดกำรอักเสบ บวมแดง และเป็นหนอง ภาพที่ 4 แสดง แผลผ่าตัดที่ติดเชื้อ S. aureus ที่มา : https://cdn- prod.medicalnewstoday.com/content/images/article s/324/324505/methicillen-resistant-staphylococcus- aureus-abdomen.jpg
  • 22. 2.1.3 สถิติผู้ป่วยจากบาดแผลติดเชื้อ ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำด้วยกำรผ่ำตัดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับ กำรระบำดของเชื้อดื้อยำต้ำนจุลชีพหลำยชนิดในสถำนบริกำรทำงกำรแพทย์ ทำให้ผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำด้วย กำรผ่ำตัดมีโอกำสเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดมำกขึ้นโดยพบกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดคิดเป็นร้อยละ 20 ของกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลทั้งหมด (Anderson et al., 2014) และมีอัตรำกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัดเฉลี่ย ร้อยละ 3.7 (Korol et al., 2013) ส่วนกำรศึกษำในประเทศไทย ในโรงพยำบำลทั้งหมด 13 แห่ง พบว่ำ มีอัตรำกำรติดเชื้อที่ตำแหน่ง ผ่ำตัดร้อยละ 1.4 (Kasatpibal, Norgaad, & Jamulitra,2009) กำรติดเชื้อที่เกิดขึ้นส่งผลให้ผู้ป่วยที่ได้รับกำร ผ่ำตัดต้องอยู่โรงพยำบำลนำนขึ้น ประมำณ 7-11 วัน และมีควำมเสี่ยงต่อกำรเสียชีวิตสูงถึง 2-11 เท่ำ เมื่อเทียบ กับผู้ป่วยหลังผ่ำตัดที่ไม่มีกำรติดเชื้อ นอกจำกนี้ยังพบว่ำ ร้อยละ 75 ของกำรเสียชีวิตในผู้ป่วยที่มีกำรติดเชื้อที่ ตำแหน่งผ่ำตัดมีสำเหตุโดยตรงจำกกำรติดเชื้อที่เกิดขึ้น อ้างอิงจาก : วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2017
  • 23. 2.1.4 ข้อมูลเบื้องต้นของยาปฏิชีวนะที่เลือกใช้ในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ยำกำนำมัยซิน (Kanamycin) หรือ กำนำมัยซิน เอ (Kanamycin A) เป็นยำปฏิชีวนะที่อยู่ในกลุ่ม อะมิโนไกลโคไซด์ (Aminoglycoside) ใช้บำบัดรักษำอำกำรติดเชื้อแบคทีเรียได้กว้ำง (Broad spectrum antibiotic) โดยออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรวมถึงชนิด Escherichia coli, Proteus, Serratia marcescens และ Klebsiella pneumoniae ยำกำนำมัยซินมีสรรพคุณดังนี้ • ยับยั้งกำรเจริญเติบโตของแบคทีเรียในลำไส้ที่มีมำกเกินไป • บำบัดรักษำอำกำรอักเสบติดเชื้อจำกแบคทีเรียแกรมลบรวมถึงกำรติดเชื้อ S. aureus • รักษำกำรติดเชื้อโกโนเรีย (หนองใน) ที่ดื้อต่อยำเพนิซิลลิน (Penicillin) • ลดกำรปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียภำยในช่องท้องในระหว่ำงเข้ำรับกำรผ่ำตัดช่องท้อง
  • 24. 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2.1 รายงานการวิจัยประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบสาบเสือและใบเสม็ดขาวในการกาจัด ปลวกกินเนื้อไม้วรรณะปลวกงาน จำกงำนวิจัยของ สุธิตำ แปะโพระ และ อำรียำ ยำมำเจริญ ได้มีการระบุถึง องค์ประกอบทางเคมีของใบสาบเสือซึ่งพบว่ำมีหลำยชนิดด้วยกัน ได้แก่ แอลฟำพินีน (alpha- pinene) ร้อยละ 19.32 คำร์ดีน (Cadinene) ร้อยละ 19.09 แคมบรู (Camphor) ร้อยละ 15.46 ลิโมนีน (Limonene) ร้อยละ 15.46 ส่วนคำร์โยไพลีน (Caryophyllene) ร้อยละ 7.05 และอื่นๆ (Ceryl algohol , Betasitosterol , Terpenoids , Anisic acid , Trihydric algohol , Isosa kuranetin, Odaratin , Tannin , Saponin) ตำมลำดับ สืบค้นจาก : http://oservice.skru.ac.th/ebookft/1442/
  • 25. 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2.2 เจลแต้มสิวสาบเสือ จำกงำนวิจัยของนำงสำวจุฑำมณี แสงสว่ำง และคณะ สังกัดศูนย์วิจัยและถ่ำยทอด เทคโนโลยีกำรเกษตร คณะเกษตร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (มก.) ได้ทำกำรศึกษำวิจัยเกี่ยวกับ พืชสำบเสือ ซึ่งเป็นไม้ล้มลุก และพบว่ำ ใบและดอกของสำบเสือสำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ได้ โดย สรรพคุณของสำบเสือมีมำกมำย สำมำรถใช้เป็นยำรักษำแผลสด สมำนแผล ถอนพิษแก้อักเสบ แก้น้ำเหลือง ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา จึงได้ทำกำรพัฒนำเป็นเจลแต้มสิวสำบเสือ ซึ่งมีส่วนประกอบ ของสำรสกัดสำบเสือเป็นส่วนผสม และมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ได้ดำเนินกำรยื่นคำขอรับ อนุสิทธิบัตร เรื่อง “เจลแต้มสิวสำบเสือ” ต่อกรมทรัพย์สินทำงปัญญำและได้รับจดทะเบียน อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11246 สืบค้นจาก : https://www.kasetkaoklai.com/home/2016/08
  • 26. 26 ภาพที่ 5 แสดง เจลแต้มสิวใบสาบเสือ ที่มา : http://www.taradhealth.com บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 27. 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2.3 การศึกษาเปรียบเทียบสารสกัดจากใบสาบเสือกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งการเจริญของ แบคทีเรีย จำกงำนวิจัยของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ อนุชสรำ คำตัน ซึ่งเป็นกำรศึกษำกำร เปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของ เชื้อ Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus โดยทำกำรสกัดใบสำบเสือด้วยตัวทำละลำยสองชนิด คือ น้ำกลั่นและ 95% เอทำนอล ได้สำรผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม เพื่อหำควำมเข้มข้นต่ำสุดของสำรสกัด ใบสำบเสือที่สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรีย (MIC) พบว่ำสารสกัดจากใบสาบเสือที่สกัดด้วย 95% เอทานอล มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa และ S. aureus ได้ดีที่สุด และสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa และ S. aureus ได้ร้อยละ 33.56 และ 28.76 ของ การใช้ยาปฏิชีวนะ สืบค้นจาก : http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2014/03/127276.pdf
  • 30. วัสดุ บทที่ 3 การดาเนินโครงงาน 1. ใบสำบเสือตำกแห้ง ปริมำณ 30 กรัม 2. กระดำษกรอง จำนวน 15 แผ่น ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 6 mm 3. ผ้ำขำวบำง ขนำด 15x20 cm จำนวน 6 ผืน 4. แผ่นฟอยล์ จำนวน 6 แผ่น 5. ยำงวง จำนวน 6 เส้น 6. ไม้พันสำลี จำนวน 6 อัน บริภำพที่ 6 แสดง ใบสำบเสือแห้ง ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 8 แสดง ผ้ำขำวบำง ขนำด 15x20 cm (ที่มำ : https://shopee.co.th/ผ้ำขำวบำง-ผ้ำกรอง- ขนำด100x115cm.-i.8096338.114802910) ภำพที่ 7 กระดำษกรองขนำดเส้นผ่ำน ศูนย์กลำง 6 mm ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 9 แสดง แผ่นฟอยล์ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 10 แสดง ยำงวง (ที่มำ : http://www.uboncts.com/image/ cache/data/23-packing/04-plastic- band/280900420-223x290.jpg) ภำพที่ 11 แสดง ไม้พันสำลี ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (26 กันยำยน 2562)
  • 31. 31 7. เครื่องเขย่ำแบบสั่น (Vortex Mixer) จำนวน 1 เครื่อง 8. เครื่องปั่นสำร จำนวน 1 เครื่อง 9. เครื่องชั่งแบบละเอียด จำนวน 1 เครื่อง 10. เครื่องเขย่ำสำร (Orbital Shaker) จำนวน 1 เครื่อง 11. เครื่องนึ่งฆ่ำเชื้อ (Autoclave) จำนวน 1 เครื่อง 12. ตู้เย็น จำนวน 1 ตู้ 13. ตะเกียงบุนเสน จำนวน 1 เครื่อง 14. ตู้ปลอดเชื้อ (Biological Safety Cabinet) จำนวน 1 ตู้ อุปกรณ์
  • 32. 32 ภำพที่ 13 แสดง เครื่องปั่นสำร (ที่มำ : http://topicstock.pantip.com/food/ topicstock/2010/07/D9461764/D946176 4-3.jpg) ภำพที่ 16 แสดง เครื่องนึ่งฆ่ำเชื้อ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 14 แสดง เครื่องชั่งแบบละเอียด ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 15 แสดง เครื่องเขย่ำสำร ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 สิงหำคม 2562) ภำพที่ 19 แสดง ตู้ปลอดเชื้อ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 12 แสดง เครื่องเขย่ำแบบสั่น (Vortex Mixer) ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 18 แสดง ตะเกียงบุนเสน ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 17 แสดง ตู้เย็น ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562)
  • 33. 33 15. หลอดบรรจุเชื้อ S. aureus จำนวน 1 หลอด 16. กระบอกตวงพลำสติกขนำด 500 ml จำนวน 1 ใบ 17. ขวดรูปชมพู่ขนำด 500 ml จำนวน 3 ใบ 18. จำนเพำะเลี้ยงเชื้อ จำนวน 11 จำน 19. เวอร์เนียคำลิปเปอร์ จำนวน 1 อัน 20. ไมโครปิเปตต์ จำนวน 1 อัน 21. ปำกคีบ จำนวน 2 อัน 22. ช้อนตักสำรพลำสติก จำนวน 1 อัน อุปกรณ์ (ต่อ)
  • 34. 34 ภำพที่ 21 แสดง กระบอกตวงพลำสติก ขนำด 500 ml ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 22 แสดง ขวดรูปชมพู่ขนำด 500 ml ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 23 แสดง จำนเพำะเลี้ยงเชื้อ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 26 ปำกคีบ ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 20 แสดง หลอดบรรจุเชื้อ S. aureus ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 24 เวอร์เนียคำลิปเปอร์ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 25 ไมโครปิเปตต์ ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 27 ช้อนตักสำรพลำสติก ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562)
  • 35. 35 23. แท่งแก้วคนสำร จำนวน 1 อัน 24. จุกผ้ำ จำนวน 1 อัน 25. ปำกกำเคมี จำนวน 1 ด้ำม 26. ห่วงเขี่ยเชื้อ จำนวน 2 อัน 27. ไมโครปิเปตต์ทิป จำนวน 5 อัน 28. เครื่องระเหยแห้งภำยใต้สุญญำกำศแบบหมุน จำนวน 1 เครื่อง 29. ตู้บ่มเชื้อ จำนวน 1 เครื่อง อุปกรณ์ (ต่อ)
  • 36. 36 ภำพที่ 28 แท่งแก้วคนสำร ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 29 จุกผ้ำ (ที่มำ : https://dx.lnwfile.com/hlsglb.png) ภำพที่ 30 แสดง ปำกกำเคมี ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 31 แสดง ห่วงเขี่ยเชื้อ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 32 แสดง ไมโครปิเปตต์ทิป ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 33 แสดง เครื่องระเหยแห้งภำยใต้ สุญญำกำศแบบหมุน (ที่มำ : https://sites.google.com/site/nichomachine/ _/rsrc/1349862650368/rotary- evaporator/rotary.jpg?height=320&width=292 ) ภำพที่ 34 แสดง ตู้บ่มเชื้อ ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562)
  • 37. สารเคมี 30. DMSO ปริมำตร 40 มิลลิลิตร 31. เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ปริมำตร 1.5 ลิตร 32. น้ำกลั่น ปริมำตร 1 ลิตร 33. ยำกำนำมัยซิน ปริมำตร 100 มิลลิลิตร 34. Agar ปริมำณ 3.6 กรัม 35. Mueller Hinton Broth ปริมำณ 4.2 กรัม ภำพที่ 37 น้ำกลั่น ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 36 เอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ถ่ำยภำพโดย: พรรณสิริ สระโสม (5 กรกฎำคม 2562) ภำพที่ 38 ยำกำนำมัยซิน ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 35 แสดง DMSO ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (26 กันยำยน 2562) ภำพที่ 39 Agar ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562) ภำพที่ 40 Mueller Hinton Broth ถ่ำยภำพโดย: กฤตอร โสภณพงษ์ (17 เมษำยน 2562)
  • 38. 3.2 ขั้นตอนการทาโครงงาน 3.2.1 ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ ตอนที่ 1 การเตรียมสารสกัดจากใบสาบเสือ 2) นาผงใบสาบเสือมาเตรียมสารละลาย ในเอทานอล ความเข้มข้น 95% v/v โดยบรรจุผงสาบเสือ 10 กรัม และ เอทานอล 250 ml ในขวดรูปชมพู่ขนาด 500 ml ทาจานวน 3 ใบ 1) นาใบสาบเสือตากแห้ง มาปั่นให้ละเอียดโดยใช้ เครื่องปั่นสาร ชั่งน้าหนักให้ได้ 30 กรัม 3) นาขวดรูปชมพู่ทั้ง 3 ใบ ไปเลี้ยงในสภาวะเขย่า โดยใช้เครื่องเขย่าสาร ความเร็ว 160 รอบ/นาที ทิ้งไว้ 14 วัน
  • 39. 4) นาสารละลายจากข้อ 3 มา กรองลงในบีกเกอร์ด้วยผ้าขาวบาง เทใส่ขวดรูปชมพู่แล้วปิดปากขวด ด้วยแผ่นฟอยล์และรัดด้วย หนังยาง 3.2 ขั้นตอนการทาโครงงาน 3.2.1 ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ ตอนที่ 1 การเตรียมสารสกัดจากใบสาบเสือ (ต่อ) 5) นาขวดรูปชมพู่ไปใส่ในเครื่องระเหย แห้งภายใต้สุญญากาศแบบหมุน เพื่อ ระเหยเอทานอล ความเข้มข้น 95% v/v ออกจากสารละลาย ให้เหลือเพียงสาร สกัดเข้มข้นจากใบสาบเสือ 6) แบ่งสารสกัดเข้มข้นจาก ขวดรูปชมพู่และเติม DMSO จนได้สารสกัด 3 ระดับความเข้มข้น 100 mg/ml 250 mg/ml 500 mg/ml
  • 40. 40 ตอนที่ 2 การเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ ในกำรทดสอบนี้จะใช้อำหำรเลี้ยงเชื้อแบบแข็งโดยวิธี Agar diffusion โดยใช้อำหำรเชื้อแบบแข็ง (Plate count agar) วิธีกำรเตรียม จำนอำหำรเลี้ยงเชื้อมีดังต่อไปนี้ ตอนที่ 3 การเตรียมแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบ ใช้แบคทีเรียที่มีอำยุไม่เกิน 24 ชั่วโมง และควำมเข้มข้นของเชื้อที่ใช้ต้องในปริมำณที่เหมำะสม ซึ่งโดยทั่วไปจะนิยมใช้เชื้อปริมำณ 105 – 107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร วิธีกำรทำมีดังต่อไปนี้ 1) ชั่ง Agar ปริมาณ 3.6 กรัม และ Mueller Hinton Broth ปริมาณ 4.2 กรัม นามา ละลายในน้ากลั่นปริมาตร 200 ml คนจน สารละลายหมดเป็นเนื้อเดียวกัน 2) บรรจุอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหลวลงใน ขวดรูปชมพู่ และนาไปนึ่งฆ่าเชื้อด้วย อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 15 นาที 3) นาอาหารเลี้ยงเชื้อเทลงบน จานเลี้ยงเชื้อให้ได้จานวน 6 จาน และพักจานอาหารเลี้ยงเชื้อไว้ใน ตู้ปลอดเชื้อ 1) เขี่ยโคโลนีของเชื้อที่ต้องการทดสอบที่ เพาะเลี้ยงไว้ในจานอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีอายุ ประมาณ 24 ชั่วโมง มาใส่ในอาหารสาหรับ เลี้ยงเชื้อที่เตรียมไว้ในหลอด ทดสอบ ปริมาตรหลอดละ 2 ml 3) นาเชื้อมาเจือจางให้ได้จานวน แบคทีเรีย 105 – 107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร ในน้าเกลือ 0.85% w/v แล้วนาไปเทียบ ความขุ่นกับหลอดบรรจุเชื้อที่เตรียมไว้ เป็นมาตรฐาน 2) นาหลอดอาหารเลี้ยงเชื้อไปเพาะเลี้ยง ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซียลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
  • 41. 41 3.2.2 ขั้นตอนการทดลอง กำรทดลองเกี่ยวกับประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย S. aureus โดยกำรทดสอบด้วยวิธี Disc diffusion techniques 3.2.2.1 กลุ่มประชากรตัวอย่างที่ศึกษา เชื้อ S. aureus 3.2.2.2 กลุ่มในการทดลอง 1) กลุ่มทดลอง (Experimental group) จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่หยดสำรสกัดจำกใบสำบเสือ 2) กลุ่มควบคุม (Control group) 2.1) กลุ่มควบคุมแบบบวก (Positive Control) : จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่ หยดยำปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งเชื้อได้ (ยำกำนำมัยซิน ควำมเข้มข้น 250 mg/ml) 2.2) กลุ่มควบคุมแบบลบ (Negative Control) : จำนเพำะเลี้ยงเชื้อจุดที่วำงกระดำษกรองที่ หยด DMSO
  • 42. 42 3.2.2.3 ขั้นตอนการศึกษาทดลอง ภำพที่ 41 แสดงตัวอย่ำงกำรวำงแผ่นกระดำษกรองบนจำนเพำะเชื้อ 1) เขียนที่จานอาหารเลี้ยงเชื้อแบบแข็ง จานวน 6 จาน เพื่อระบุตาแหน่งที่จะวาง แผ่นกระดาษกรอง (paper disk) ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 mm ดังภาพที่ 41 2) เพาะเลี้ยงเชื้อ S. aureus ลงบนอาหารเลี้ยง เชื้อแบบแข็งโดยใช้ไม้พันสาลีชุบแบคทีเรียใน น้าเกลือ แล้วบิดให้แห้งพอหมาดๆ กับข้างหลอด ทดลอง จากนั้นทาการ swab ให้ทั่วบนผิวอาหาร เลี้ยงเชื้อ ทิ้งไว้ในตู้ปลอดเชื้อประมาณ 3 - 5 นาที เพื่อให้ส่วนผิวหน้าของอาหารเลี้ยงเชื้อแห้ง 3) ใช้ไมโครปิเปตต์ดูดสารสกัดจาก ใบสาบเสือใน DMSO ความเข้มข้น 100 mg/ml หยดลงบนกระดาษกรอง จานวน 3 ชิ้น ชิ้นละ 10 µl
  • 43. 3.2.2.3 ขั้นตอนการศึกษาทดลอง (ต่อ) 4) ใช้ปากคีบคีบกระดาษกรองจากข้อ 3 วางบนจานเพาะเชื้อที่เตรียมไว้ข้างต้น จานวน 3 จาน จานละ 1 ชิ้น โดยนามาวาง ที่ตาแหน่งที่กาหนดแล้วกดเบาๆ 5) ทาซ้าข้อ 3-4 กับสารสกัดจากใบสาบเสือ ใน DMSO ความเข้มข้น 250 mg/ml , 500 mg/ml และสารละลายกลุ่มควบคุม แบบลบ โดยวางกระดาษกรองลงบนจาน 3 จานเดิม 6) ใช้ไมโครปิเปตต์ดูดสารละลายกลุ่ม ควบคุมแบบบวก หยดลงบนกระดาษกรอง จานวน 3 ชิ้น ชิ้นละ 10 µl 7) ใช้ปากคีบคีบกระดาษกรองจากข้อ 6 วาง บนจานเพาะเชื้อที่เตรียมไว้ข้างต้นอีก 3 จาน ที่เหลือ จานละ 1 ชิ้น โดยนามาวางที่ตาแหน่ง ที่กาหนดแล้วกดเบาๆ 8) นาจานเลี้ยงเชื้อทั้ง 6 จาน ไปเลี้ยงเชื้อใน สภาวะที่มีแก๊สออกซิเจน ภายใต้อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง 9) วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใสที่ เกิดขึ้นโดยวัดจากขอบข้างหนึ่งไปยังขอบอีก ข้างหนึ่ง ให้ผ่านจุดศูนย์กลางของกระดาษกรอง และบันทึกหน่วยเป็น cm
  • 44. ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส (Inhibition zone; cm) = ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของ กระดำษกรองรวมกับบริเวณใสของเชื้อ ภำพที่ 42 แสดงตัวอย่ำงกำรเกิดบริเวณใสบนจำนเพำะเชื้อ (Inhibition zone)
  • 45. 3.3 การวิเคราะห์ข้อมูลและการรายงานผลการทาโครงงานวิจัย ◉ นาเสนอข้อมูลด้วยการรายงานสถิติเชิงพรรณา กำรวิเครำะห์ข้อมูลผลกำรยับยั้งแบคทีเรียของสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดย คำนวณหำค่ำเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ของขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใส ในจำนเพำะเชื้อกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
  • 48. 4.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางที่ 1 ผลการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง สารละลายที่ใช้ทดสอบ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ บริเวณใส (cm) ค่าเฉลี่ย (ഥ𝒙) (cm) ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD.) ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 กลุ่มทดลอง (สำรสกัดใบสำบเสือ) ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.89 0.75 0.78 0.81 0.07 ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.95 0.95 1.01 0.97 0.03 ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.13 1.16 1.20 1.16 0.04 กลุ่มควบคุม Positive Control : ยำกำนำมัยซิน 4.63 4.63 4.62 4.63 0.01 Negative Control : DMSO 0 0 0 0 0
  • 49. 49 ตารางที่ 2 วิเคราะห์ผลการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม 49 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง สารละลายที่ใช้ทดสอบ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใส (cm) (ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) กลุ่มทดลอง (สำรสกัดใบสำบเสือ) 1.ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.81 ± 0.07 2.ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.97 ± 0.03 3.ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.16 ± 0.04 กลุ่มควบคุม Positive Control : ยำกำนำมัยซิน 4.63 ± 0.01 Negative Control : DMSO 0 ± 0
  • 50. 50 ตารางที่ 3 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแบบบวก 50 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง กลุ่มทดลอง (สารสกัดใบสาบเสือ) ค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของบริเวณใสใน กลุ่มทดลอง (cm) ค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของบริเวณใสใน กลุ่มควบคุมแบบบวก (cm) ร้อยละของค่าเฉลี่ยความ แตกต่างขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของบริเวณใส (cm) 1.ควำมเข้มข้น 100 mg/ml 0.81 4.63 17.49 2.ควำมเข้มข้น 250 mg/ml 0.97 20.95 3.ควำมเข้มข้น 500 mg/ml 1.16 25.05
  • 51. 51 4.2 กราฟแสดงผลการทดลอง กราฟแท่งแสดงผลการยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus จากค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใสใน จานเพาะเลี้ยงเชื้อของสารสกัดจากใบสาบเสือและสารละลายกลุ่มควบคุม บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 100 mg/ml 250 mg/ml 500 mg/ml Positive Control Negative Control ค่า ฉลี่ยขนาด ้นผ่านศูนย์กลางของ (cm) า ละลายที่ ช้ ทด อ
  • 52. ภาพที่ 43 - 48 ที่ กดขึ้น นจาน พาะ ชื้อท้้งมดด ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562) บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
  • 53. 4.3 วิเคราะห์ผลการทดลอง จำกผลกำรทดลองพบว่ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือโดยวิธีแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำม เข้มข้น 95% v/v มีผลต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus กลุ่มควบคุมแบบบวก และ กลุ่มควบคุมแบบลบมีค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อ 4.63 และ 0 cm ตำมลำดับ จำกควำมเข้มข้นของสำรสกัด 3 ระดับควำมเข้มข้น ได้แก่ 100 mg/ml , 250 mg/ml และ 500 mg/ml ทำให้เกิดค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของบริเวณใสใน จำนเพำะเชื้อ 0.81 , 0.97 และ 1.16 cm คิดเป็นร้อยละ 17.49 , 20.95 และ 25.05 ของกลุ่ม ควบคุมแบบบวก ตำมลำดับ หมายเหตุ : การคิดร้อยละของค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณใส อ้างอิงจากงานวิจัยเรื่องการศึกษา เปรียบเทียบสารสกัดจากใบสาบเสือกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียของปนิศา นมัสการ , สุภาพร รัตนพลที และ อนุชสรา คาตัน (2555) บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
  • 54. 4.3 วิเคราะห์ผลการทดลอง (ต่อ) ควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในตัวทำละลำย DMSO ที่เพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้ กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus เพิ่มขึ้น ซึ่งวัดได้จำกค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง ของบริเวณใสที่เพิ่มขึ้นตำมลำดับ และสำรสกัดควำมเข้มข้น 500 mg/ml เป็นควำมเข้มข้นที่ สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ได้มำกที่สุด และพบว่ำเมื่อเพิ่มควำมเข้มข้นของสกัด จำก 100 mg/ml เป็น 250 mg/ml คิดเป็น 2.5 เท่ำ ส่งผลให้กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ของสำรสกัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.75 และเมื่อเพิ่มควำมเข้มข้นของสกัดจำก 250 mg/ml เป็น 500 mg/ml คิดเป็น 2 เท่ำ ส่งผลให้กำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ของ สำรสกัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.58 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
  • 56. 5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 1. จำกกำรศึกษำวิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือ โดยกำรแช่สกัดด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v เนื่องจำกกำรแช่สกัดสำรสกัดมีข้อดี คือ สำรสกัดจะไม่ถูกควำมร้อนและเป็นวิธีกำรที่ไม่ซับซ้อน และ อ้ำงอิงจำกงำนวิจัยเรื่องกำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำร เจริญของแบคทีเรียของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ อนุชสรำ คำตัน ที่กล่ำวว่ำกำรสกัด สำรด้วยเอทำนอล ควำมเข้มข้น 95% v/v ทำให้ประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือในกำรยับยั้ง กำรเจริญของ S. aureus ให้ผลดีที่สุด หลังจำกสกัดจะนำมำระเหยเอทำนอลออก และเลือกใช้ตัวทำ ละลำย DMSO ในกำรเจือจำงสำรสกัดหยำบ เนื่องจำกเป็นตัวทำละลำยที่ไม่มีขั้ว จึงสำมำรถละลำย สำรสกัดจำกพืชได้ดี ปลอดภัย และไม่ให้ผลในกำรยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  • 57. 5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 2. จำกกำรศึกษำผลกำรยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ พบว่ำสำรสกัด สำมำรถยับยั้งกำรเจริญของ S. aureus ได้ เนื่องจำกเกิดบริเวณใสในจำนเพำะเลี้ยงเชื้อ ซึ่งเป็นไป ตำมสมมติฐำนที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับงำนวิจัยเรื่องกำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับ ยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรียของปนิศำ นมัสกำร , สุภำพร รัตนพลที และ อนุชสรำ คำตัน ที่กล่ำวว่ำสำรสกัดจำกใบสำบเสือยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ S. aureus ได้ และ งำนวิจัยเรื่องเจลแต้มสิวสำบเสือของนำงสำวจุฑำมณี แสงสว่ำง และคณะ ที่กล่ำวว่ำใบสำบเสือมี ฤทธิ์ต้ำนแบคทีเรียและเชื้อรำ บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  • 58. 5.1 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 3. จำกกำรเปรียบเทียบผลกำรยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและสำรละลำย กลุ่มควบคุม พบว่ำสำรละลำยกลุ่มควบคุมแบบบวก (ยำกำนำมัยซิน) มีประสิทธิภำพในกำรยับยั้ง แบคทีเรีย S. aureus ได้ดีที่สุด รองลงมำคือสำรสกัดจำกใบสำบเสือที่มีควำมเข้มข้น 500 mg/ml , 250 mg/ml และ 100 mg/ml ซึ่งทำให้เกิดบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อที่มีค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง เท่ำกับ 4.63 , 1.16 , 0.97 และ 0.81 cm ตำมลำดับ ส่วนสำรละลำยกลุ่มควบคุมแบบลบ (DMSO) ไม่ ทำให้เกิดบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อ โดยเมื่อค่ำควำมเข้มข้นของสำรสกัดเพิ่มขึ้น ค่ำเฉลี่ยขนำดเส้นผ่ำน ศูนย์กลำงของบริเวณใสในจำนเพำะเชื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน แสดงว่ำประสิทธิภำพในกำรยับยั้งกำรเจริญ ของ S. aureus ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือแปรผันตรงตำมควำมเข้มข้นของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ เป็นไปตำมสมมติฐำนที่ตั้งไว้ บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  • 59. 5.2 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. ทำกำรทดลองกับเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นที่เป็นเชื้อก่อโรคบริเวณผิวหนัง เช่น P. Aeruginosa , Streptococcus pyogenes ฯลฯ ในกำรทดลองครั้งต่อไป 2. ใช้วิธีกำรสกัดสำรจำกใบสำบเสือแบบอื่น เช่น วิธีกำรสกัดแบบกำรไหลซึม ฯลฯ 3. ควรเพิ่มเวลำในกำรสกัดหรือสกัดซ้ำ เพื่อให้สกัดสำรจำกกำกใบสำบเสือออกมำได้ มำกที่สุด 4. นำไปต่อยอดเป็นนวัตกรรมทำงกำรแพทย์ เช่น พลำสเตอร์ยำ ผ้ำก๊อซปิดแผล และ เจลทำแผลป้องกันกำรติดเชื้อ 5. อำจทำกำรศึกษำสรรพคุณอื่นๆ ของสำรสกัดจำกใบสำบเสือ เช่น กำรห้ำมเลือด กำรยับยั้งจุลินทรีย์ในน้ำ บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  • 60. ภาคผนวก 60 ภาพที่ 53 า ก้ดที่ได้จากกา ก อง ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (16 ก กฎาคด 2562) ภาพที่ 52 ลี้ยง า ก้ด น ภา ะ ขย่า ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (16 ก กฎาคด 2562) ภาพที่ 51 แช่ ก้ด า ือ น อทานอล ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 50 ช้่งน้ามน้กผง า ือ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 49 อุปก ์ที่ ช้ นกา ก้ด า ก้ด า ือ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562)
  • 61. ภาคผนวก 61 ภาพที่ 54 ช้่งน้ามน้ก ้ตถุด าม ้ ทาอามา ลี้ยง ชื้อ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 55 คน า ม้ ข้าก้น ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 56 อามา ลี้ยง ชื้อ ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 57 นาอามา ลี้ยง ชื้อพ ้อด อุปก ์ต่างๆดานึ่งฆ่า ชื้อ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562)
  • 62. 62 ภาพที่ 58 อามา ลี้ยง ชื้อที่ผ่านกา นึ่ง ฆ่า ชื้อแล้ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 59 ทอามา ลี้ยง ชื้อลง นจาน พาะ ชื้อ ปล่า ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 60 พ้กจานอามา ลี้ยง ชื้อไ ้ นตู้ ปลอด ชื้อ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาคผนวก
  • 63. ภาพที่ 64 ทีย ค าดขุ่นของ ชื้อก้ มลอด จุ ชื้อที่ ต ียดไ ้ป็นดาต ฐาน ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (17 เมษายน 2562) ภาพที่ 63 ช้ค ื่องVortex Mixer นกา ผ ด ชื้อ ม้ ป็น นื้อ ดีย ก้นก้ น้า กลือ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (26 กันยายน 2562) ภาพที่ 62 ทากา จือจาง ชื้อS. aureus ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (26 กันยายน 2562) ภาพที่ 61 ต้ อย่าง ชื้อ S. aureus ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562) ภาคผนวก
  • 64. ภาพที่ 66 - 67 ช้ได้พ้น าลีชุ แ คที ีย นน้า กลือ และปาด ม้ท้่ ผ มน้าของ อามา ลี้ยง ชื้อ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (26 ก้นยายน2562) ภาพที่ 65 ขียน ะ ุตาแมน่ง าง แผ่นก ะดาษก อง นจานอามา ลี้ยง ชื้อ ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (26 กันยายน 2562) ภาคผนวก
  • 65. ภาพที่ 68 า ก้ดที่ จือจาง น ะด้ ค าด ข้ดข้นต่างๆ ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562) ภาคผนวก ภาพที่ 69 ช้ไดโค ป ปตต์ดูด า ก้ด ดามยดลง นก ะดาษก อง ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562) ภาพที่ 71 จาน พาะ ชื้อที่ างก ะดาษก อง ีย ้อยแล้ ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562) ภาพที่ 70 คี ก ะดาษก องดา างลง น จาน พาะ ชื้อ นตาแมน่งที่กามนด ถ่ายภาพโดย: พ ะโ ด (26 ก้นยายน 2562)
  • 66. ภาคผนวก ภาพที่ 73 ช้ อ ์ นียคาลป ปอ ์ ้ดขนาด ้นผ่านศูนย์กลางของ ที่ กดขึ้น ถ่ายภาพโดย:กฤตอ โ ภ พงษ์ (27 ก้นยายน 2562) ภาพที่ 72 นาจาน ลี้ยง ชื้อท้้ง6 จาน ไป ลี้ยง นตู้ ่ด ชื้อ ป็น ะยะ ลา24ช้่ โดง ถ่ายภาพโดย: กฤตอ โ ภ พงษ์ (26 ก้นยายน 2562)
  • 67. เอกสารอ้างอิง 1. “กำรศึกษำเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบสำบเสือกับยำปฏิชีวนะในกำรยับยั้งกำรเจริญของแบคทีเรีย.” 2555. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.research.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2014/03/127276.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562). 2. Akah PA. Mechanism of hemostatic activity of Eupatorium odoratum. Int J Crude Drug Res 1990 ; 28 : 253-6. 3. Joshi R. K. Chemical Composition of the Essential Oils of Aerial Parts and Flowers of Chromolaena odorata. Journal of Essential Oil Bearing Plants 2013 ; 16(1) : 71-75. 4. Pandith H, Zhang X, Liggett J, Won Min K, Gritsanapan W, Baek SJ. Hemostatic and wound healing properties of Chromolaena odorata leaf extract. ISRN Dermatol 2013 ; 2013 : 1-9. 5. เมดไทย. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://medthai.com. (สืบค้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกำยน 2561). 6. วิกิพีเดีย [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://www.wikipedia.org. (สืบค้นเมื่อวันที่ 4 กุมภำพันธ์ 2562). 7. “สำบเสือ ใบสำบเสือ และสรรพคุณสำบเสือ.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://puechkaset.com. (สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภำคม 2562). 8. “สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.foodnetworksolution.com /wiki/word/1197/staphylococcus-aureus. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562). 9. “กำรป้องกันกำรติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่ำตัด.” 2560. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : file:///C:/Users/User/ Downloads/103366-Article%20Text-261121-1-10-20171119.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562).
  • 68. เอกสารอ้างอิง 10. “สำบเสือ...วัชพืชที่ไม่ใช่แค่วัชพืช.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : file:///C:/Users/User/Downloads /YYYYYYYYYYYYYYYYY59.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2562). 11. “รำยงำนกำรวิจัยประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกใบสำบเสือและใบเสม็ดขำวในกำรกำจัดปลวกกินเนื้อไม้วรรณะ ปลวกงำน.” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://oservice.skru.ac.th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภำคม 2562). 12. “กำนำมัยซิน (Kanamycin).” 2558. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://haamor.com/th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภำคม 2562). 13. “กำรดื้อยำปฏิชีวนะของ Staphylococcus aureus และแนวทำงกำรควบคุม.” 2552. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้ จำก : http://medinfo.psu.ac.th/smj2/27_4_09/27_4pdf/08nitipong.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยำยน 2562). 14. “ตัวทำละลำยอะโพรติกที่ไม่มีขั้วชนิด DMSO (ไดเมททิล ซัลฟอกไซด์).” 2562. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้ จำก : https://www.toray.co.th/products/chemicals/che_0150.html. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562). 15. “กำรสกัดแยกสำรออกฤทธิ์ทำงชีวภำพและวิเครำะห์องค์ประกอบทำงเคมี จำกสมุนไพร.” 2561. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : https://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=4737. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562). 16. “โรคไฟลำมทุ่ง.” 2557. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://dst.or.th/Publicly/Articles/1195.23.12/0ZVwsssrEf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2562).