SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
MORACEAE	
FAMILY
งานสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6 ( ว 30246 )
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560
ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการเรียนคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ ห้อง 77
พืชที่นำเสนอ คือ พืชวงศ์ MORACEAE จำนวน 12 ชนิด
จัดทำโดย
น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
นำเสนอ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูคศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นำเสนอ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูคศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
จัดทำโดย
น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
คำนำงานสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนนี้จัดทำขึ้นเพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยาเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์เกี่ยวกับพืชที่
อยู่วงศ์เดียวกับหม่อนอันได้แก่ มะเดื่อ สาเก ขนุน ยางอินเดีย ไกร โพธิ์ ปอสา ข่อย จำปาดะ
เลียงึ้ง ไทรหิน และผักเลือด
ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหา
ข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัย
มา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
MORACEAE	
- มะเดื่อ Ficus racemosa Linn.
- สาเก Artocarpus altilis
- ขนุน Artocarpus heterophyllus Lam.
- โพธิ์ Ficus religiosa L.
- ยางอินเดีย Ficus elastica Roxb. Ex Hornem
- ไกร Ficus subpisocarpa Gagnep.
- ปอสา Broussonetia papyrifera
- ข่อย Streblus asper Lour
- จำปาดะ Artocarpus integer
- ผักเลือด Ficus anastomosans Wall.
- พญารากเหลือง Parartocarpus  venenosus
- แกแล Maclura cochinchinensis
ชื่อสามัญ : Fig, Common Fig
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus racemosa Linn.
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่ออื่น : เดื่อเกลี้ยง, เดื่อน้ำ, มะเดื่ออุทุมพร
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีน้ำยางขาว
ใบเดี่ยว เรียงสลับ
ดอกช่อเกิดภายในฐานรองดอก ออกที่ลำต้นและกิ่ง แยก
เพศอยู่ในช่อเดียวกัน
ผลเป็นผลสด เมื่อสุกสีแดงแกมชมพู
มะเดื่อ
ประโยชน์
ราก – มีสรรพคุณใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้อาการร้อนใน ช่วย
กล่อมเสมหะและโลหิต
เปลือก – ช่วยแก้อาเจียน แก้อาการท้องร่วง ช่วยห้าม
เลือด แก้ประดงเม็ดผื่นคัน
ผลดิบ – ช่วยแก้โรคเบาหวาน
ผลสุก – ช่วยในการขับถ่าย มีฤทธิ์เป็นยาระบาย ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
ชื่อสามัญ : Breadfruit, Bread fruit tree, Bread nut tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus altilis
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่ออื่น : ขนุนสำปะลอ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นสูง ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งก้านทรงพุ่มแผ่กว้าง เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ ใบเว้าเป็นแฉกลึกเกือบ
ถึงเส้นกลางใบ ดอกเป็นดอกช่อ แยกเป็นช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมีย ผลเป็นผลรวม มีรูปทรงรูปไข่หรือเกือบกลม
ภายในมีเนื้อไม่มีเมล็ด
ประโยชน์
ผล - ป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ความจำเสื่อม และโรคกระดูกผุในผู้หญิงที่อยู่ในวัยหมดประจำเดือน
เปลือกต้น - ใช้เป็นยาปรับประสาททำให้ผ่อนคลายความตึงเครียด
ราก - ใช้เป็นยารักษากามโรค
ยาง - ใช้ในการรักษา หิด กลาก เกลื้อน
สาเก
ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
ขนุน
•  ชื่อสามัญ : Jackfruit, Jakfruit 
•  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus heterophyllus Lam.  
•  ชื่อวงศ์ : MORACEAE 
•  ชื่ออื่น : ขะเนอ, ขนู,นากอ, มะยวยซะ 
 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 
•  ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ทรงพุ่มรูปทรงกระบอก มีน้ำ
ยางสีขาวข้น 
•  ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปรี ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม
เป็นมัน  
•  ดอกช่อแบบช่อเชิงลด ดอกแยกเพศอยู่บนต้น
เดียวกัน ดอกเพศผู้ออกตามปลายกิ่ง ดอกเพศเมีย
จะออกตามกิ่งใหญ่และตามลำต้น ยอดเกสรเพศเมีย
เป็นหนามแหลม 
•  ผลรวมมีขนาดใหญ่ เนื้อที่รับประทานเจริญมาจาก
กลีบดอก ส่วนซังคือกลีบเลี้ยง  
ประโยชน์
ใบ – ช่วยในการบำรุงโลหิต ช่วยขับพยาธิ แก้อาการท้องเสีย
ยาง – ช่วยแก้อาการต่อมน้ำเหลืองอักเสบ แผลมีหนองอักเสบเรื้อรัง
เยื่อหุ้มเมล็ดสุก – ช่วยสำหรับบำรุงกำลัง และเป็นยาระบายอ่อนๆ
เนื้อในเมล็ด – ช่วยในการบำรุงกำลัง ขับน้ำนม บำรุงน้ำนม ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
โพธิ์
ชื่อสามัญ : Sacred tree, Sacred fig, Sacred
fig Tree, The peepal tree, Peepul tree,
Peepul of India, Pipal tree, Pipal of
India, Bo tree, Bodhi Tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus religiosa L.
ชื่ออื่น : สลี (ภาคเหนือ), สี สะหลี (ภาคตะวันตก
เฉียงเหนือ), โพ โพธิ โพศรีมหาโพ (ภาค
กลาง), ย่อง (แม่ฮ่องสอน), ปู (เขมร), โพธิใบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ผลัดใบ แตกกิ่งก้านสาขาออกเป็นพุ่มตรงส่วนยอดของลำต้น ปลายกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนเกลี้ยง ตามกิ่งมี
รากอากาศห้อยลงมาบ้าง ลำต้นมีความสูงประมาณ 20-30 เมตร มีน้ำยางสีขาว
ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปใจ ปลายใบแหลมและมีติ่งหรือหางยาว (ปลายติ่งบางใบมีความยาว
มากกว่าครึ่งหนึ่งของใบ) โคนใบมนเว้าเข้าหาก้านใบเป็นรูปหัวใจ
ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
โพธิ์(ต่อ) ออกดอกเป็นช่อกลม ๆ รวมกันเป็นกระจุกภายในฐานรองดอกรูป
คล้ายผล โดยจะออกที่ตอนปลายของกิ่ง ดอกย่อยเป็นแบบแยก
เพศ ไม่มีก้าน ผลเป็ นผลรวม ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม
ขนาดเล็ก ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูม่วง
สีแดงคล้ำ หรือม่วงดำและร่วงหล่นลงมา
ประโยชน์
ใบอ่อนใช้รับประทานเป็นอาหาร ใช้เลี้ยงหนอนไหม
นอกจากนี้ยังมีคุณค่าทางโภชนาการซึ่งสามารถนำ
มาใช้ในสูตรอาหารในการทำปศุสัตว์ได้ และยังพบ
ด้วยว่าใบมีปริมาณของโปรตีนและธาตุหินปูนสูงผล
อ่อนใช้รับประทานเป็นอาหารได้ใช้ปลูกเป็นไม้
ประดับตามวัดวาอาราม ปลูกเลี้ยงไว้เป็นไม้แคระ
แกร็นได้ หรือปลูกตามคบไม้หรือปลูกเกาะหิน
ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
ยางอินเดีย
ชื่อสามัญ : Decora tree, Indian rubber tree,
Rubber plant
ชื่อท้องถิ่น : ยางลบ (ภาคกลาง) ลุง (ภาคเหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus elastica Roxb. Ex
Hornem
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ต้น ขนาดกลาง สูง 10 – 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือน
ยอด ทุกส่วนมีน้ำยางสีขาวคล้ายน้ำนม มีรากอากาศ
ห้อยระย้า ใบอ่อนมีหูใบสีชมพู หรือสีแดง รูปร่าง
แคบยาวคล้ายกรวยหุ้ม
ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4
– 8 เซนติเมตร ยาว 10 – 12 เซนติเมตร โคนสอบ
เรียว ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบหนาคล้าย
แผ่นหนัง เกลี้ยงเป็นมัน ส้นกลางใบ และก้านใบของ
ใบอ่อนสีแดง
ดอกแยกเพศ มีขนาดเล็ก จำนวนมาก ติดอยู่ภายในฐานรองดอก
ที่มีรูปร่างคล้ายผล
ผลมีเนื้อ รูปร่างกลมรี หรือขอบขนาน กว้างประมาณ 1
เซนติเมตร ยาว 1 – 5 เซนติเมตร ผลสุกมีสีเหลือง
การกระจายพันธุ์มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดียและเอเชียใต้ พบ
ปลูกเลี้ยงทั่วไป เนื่องจากขึ้นได้ในดินทุกประเภท
ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
ยางอินเดีย(ต่อ)
ประโยชน์
นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
น้ำยาง : ใช้ทำยาง
ใบ : ใช้เป็นส่วนประกอบในการทำพวงหรีดแหล่งอ้างอิง
การใช้งานและอื่นๆ : ปัจจุบันมีพันธุ์ใบด่างที่มีสีสันสวยงาม
นิยมปลูกเป็นไม้กระถางในร่ม น้ำยางสีขาวเป็นพิษ ใน
ต่างประเทศใช้ทำยางลบ
ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
ไกร
ชื่อสามัญ : Sea Fig, Deciduous Fig
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus subpisocarpa Gagnep.
ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ : Ficus superba var. japonica Miq
ชื่ออื่น : ฮ่าง (ลำปาง), โพไทร (นครราชสีมา), เลียบ ไกร (กรุงเทพฯ), ไทรเลียบ (ประจวบคีรีขันธ์)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
มีความสูงประมาณ 8-10 เมตร ทรงพุ่ม
เป็นรูปไข่ มียางสีขาว มีรากอากาศรัดพัน
เล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียน
สลับ ลักษณะของใบเป็นรูปรี ดอกเป็นสี
เขียวอมเหลือง ผลเป็นผลสดแบบมะเดื่อ
สีขาวอมชมพู เป็นรูปกลมแกมรูปไข่กลับ
กลมแป้น หรือเป็นรูปหัวใจกลับ ออก
เป็นคู่ที่กิ่งเหนือรอยแผลของใบ
มีเขตการกระจายพันธุ์ในภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาค
มาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่ว
ทุกภาคของประเทศ โดยจะขึ้นอยู่บนพื้นที่ตั้งแต่
ระดับน้ำทะเลจนถึง ที่ความสูงประมาณ 150 เมตร
ประโยชน์
ผลสุกใช้รับประทานได้ และเป็นอาหารของนกและสัตว์
ต่างๆ
ใบอ่อนสามารถนำมารับประทานเป็นผักได้
ใช้ปลูกเป็นไม้แคระประดับ
ปอสา
ชื่อสามัญ : Paper Mulberry
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Broussonetia papyrifera
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่ออื่น ๆ : ฉำฉา ชำสา (นครสวรรค์), ปอกะสา (ภาคตะวันตก
เฉียงเหนือ), หมอมี หมูพี (ภาคกลาง), ปอฝ้าย (ภาคใต้),
ส่าแหล่เจ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เซงซะ (กะเหรี่ยง-
กาญจนบุรี), ชะดะโค ชะตาโค (กะเหรี่ยง-กำแพงเพชร),
สายแล (เงี้ยว-ภาคเหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นขนาดกลางแตกกิ่งก้านโปร่ง เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว
ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนสีเทาปกคลุมดอกแยกเพศแยก
ต้นกลีบดอกเป็นสีขาว ผลกลมสีแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดสีแดง
ประโยชน์
เปลือกลำต้นใช้ทำกระดาษสา เส้นใยจากเปลือกใช้ทำ
ผ้าตาปา เนื้อไม้ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์รากใช้ทำเชือกเปลือก
และผลใช้เป็นยาระบาย ลดไข้ในปากีสถาน
ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
ข่อย
ชื่อสามัญ : Siamese rough bush, Tooth brush tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Streblus asper Lour
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่ออื่น :  ตองขะแหน่ (กาญจนบุรี) กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ) ส้มพอ (เลย)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กไม่ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้าง
คดงอ แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกสีเทาอ่อน
เปลือกแตกเป็นแผ่นบางๆ มียางสีขาวเหนียวซึม
ออกมา ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับมีขนาดเล็ก รูปใบ
รีแกมรูปไข่กลับผิวสากดอกเป็นช่อสีขาวเหลือง
อ่อนดอกเดี่ยวแต่รวมกันเป็นกระจุก ดอกแยกเพศ
ผลสดกลมแก่จัดจะมีสีเหลือง
ประโยชน์
กิ่งข่อย - ทุบให้อ่อนใช้แทนแปรงสีฟันได้
เปลือก – เมื่อต้มกับเกลือจะได้เป็นยาอมแก้รำมะนาด
แก่น / เนื้อ - คนเชียงใหม่ใช้แก่นข่อยหั่นเป็นฝอยมวนเป็นบุหรี่สูบแก้
ริดสีดวงจมูก
เปลือกและผล - ใช้เป็นยาระบายและลดไข้ในปากีสถาน
ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
จำปาดะ
ชื่อสามัญ : cempedak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus integer
วงศ์ : Moraceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้น มียางสีขาวขุ่น ใบเป็นมัน ผล
คล้ายขนุนแต่เล็กกว่า ออกผลกลุ่มตามต้น
แต่ละต้นจะมีก้านผลร่วมกัน ผลดก
มากกว่าขนุน ผลสุกจะส่งกลิ่นหอมฉุน
เนื่องจากมีสารประกอบพวก อัลดีไฮด์ เนื้อ
ในสีแดงเข้มและสีเหลือง มีรสหวาน เนื้อ
หุ้มเมล็ดค่อนข้างแฉะผลดิบเปลือกแข็ง มี
ยางมาก พอสุกเปลือกนิ่มลง ยางน้อยลง
เนื้อมีกลิ่นหอมและรสหวานจัด
ประโยชน์
ผลใช้ประกอบอาหาร แก่นของต้นจำปาดะนำไปต้มใช้ย้อมสีจีวรพระได้.
ลำต้นสามารถใช้ทำเฟอร์นิเจอร์หรือใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์ทำการ
เกษตร ฯลฯ เปลือกไม้ของจำปาดะมีสรรพคุณที่ช่วยป้องกันการเกิดโรค
มะเร็งและช่วยรักษาโรคมาลาเรียได้
ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
ผักเลือด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus virens
ชื่อเรียกอื่น : ผักฮี้ ผักเลือด ผักเลียบ
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้น
ขนาดกลางและเป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นสูง 8-15
เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกแบบสลับสีเขียว
รูปรีหรือรูปไข่ปนขอบขนาน ปลายใบมนทู่
ขอบใบเรียบ ผิวใบมันกว้าง 6-7 ซม. ยาว
7-18 ซม. มีหูใบขนาดเล็ก ใบอ่อนสีชมพูหรือ
ชมพูอมเขียว ดอก เป็นช่อเส้นผ่าศูนย์กลาง
ของดอก 4-6 มม. ก้านใบสั้นออกจากซอกใบ
ผล ผลอ่อนสีเขียวและเปลี่ยนเป็นสีชมพูแดง
ม่วงหรือดำ เมื่อแก่เต็มที่ เส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 2 ซม.
ประโยชน์ : ผล ยอดและใบอ่อนนำมาประกอบอาหาร เปลือกและ
ลำต้นต้มดื่มแก้ปวดท้อง มีข้อห้ามสำหรับหญิงแม่ลูกอ่อนที่มีอาหารไอ
ห้ามดื่มเพราะจะทำให้อาการกำเริบ
ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
พญารากเหลือง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Parartocarpus  venenosus  (Zoll.  &  Mor.)  Becc.
ชื่ออื่น  :  หลีแคม (สุราษฎร์ธานี)  พะยูน ลูกโยน (นราธิวาส)  ตาปอเยาะ (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ต้น  สูง  30-40  เมตร  เรือนยอดค่อนข้างกลม
ถึงแผ่กว้าง  เปลือกสีน้ำตาลเทา  มีตุ่มขรุขระ 
หรือล่อนเป็นแผ่นบาง  เปลือกชั้นในสีส้ม  แผ่น
ใบ  รูปขอบขนาน  รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ 
ถึงรูปขนานแกมรูปหอก  กว้าง  3.5-9 
เซนติเมตร  ยาว  10-17  เซนติเมตร  ผิวใบ
เกลี้ยงเป็นมัน  ปลายใบแหลม  โคนใบสอบถึง
มน  เส้นแขนงใบ  9-12  คู่  ก้านใบยาว  3-5 
เซนติเมตร  ผล  รูปไข่กว้าง  เป็นพูโหนกนูนไม่
สม่ำเสมอ  กว้างยาว  10-18  เซนติเมตร  มีตุ่ม
ปลายแหลมสั้น ๆ
ประโยชน์  เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างภายในอาคารบ้านเรือน  เมล็ดเมื่อ
ต้มให้สุกรับประทานได้
ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
แกแล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner
ชื่ออื่น : แกก้อง, สักขี, เหลือง, แกล, แหร ,เข, ช้างงาต้อก, น้ำเคี่ยวโซ่, หนามแข
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นแกแล เป็นไม้
พุ่ม ตามเถามีหนามตลอดเถา เนื้อไม้สีค่อนข้าง
ขาว มียางขาว เปลือกลำต้นสีเทา แก่ยเป็นสี
เหลือง ใบแกแล ใบเดี่ยว เรี่ยงสลับ เวียนรอบ
กิ่งรูปวงรี กว้าง 1 – 3.5 ซม. ยาว 2 – 9 ซม. มี
หนามแหลมออกตรงซอกใบ 1 อัน ยาว
ประมาณ 1 ซม. ดอกแกแล ดอกช่อ ออกที่
ซอกใบ แยกเพศ อยู่คนละต้น รูปกลม ผล
แกแล เป็นผลรวม ผลแก่ สีเหลืองแล้วเปลี่ยน
เป็นสีส้มแดง เมล็ดกลม สีน้ำตาล
ประโยชน์ : แก่น มีรสขม แก้ไข้รากสาด แก้ท้องร่วง บำรุงน้ำ
เหลืองให้ปกติ บำรุงกำลัง บำรุงเลือด แก้พุพอง เป็นยาขับปัสสาวะ
เป็นยาสำหรับสตรีที่คลอดบุตร แก้มุตกิตระดูขาว
ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
บรรณานุกรม
- http://www.manyum.com/post/detail/136134.html
- https://www.samunpri.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%81/
- https://medthai.com/%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%99/
- http://www.wangtakrai.com/flora/category/
%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0
%B8%B1%E0%B8%9A/197
- https://medthai.com/%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3/
- https://easyayurveda.com/2017/05/22/banyan-tree-ficus-benghalensis/
- http://www.dnp.go.th/botany/mindexdictdetail.aspx?runno=4187
- https://medthai.com/%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C/
- http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1025
- https://medthai.com/หม่อน/
- https://plants.usda.gov/java/ClassificationServlet?source=display&classid=MORU2
- https://en.wikipedia.org/wiki/Morus_alba
บรรณานุกรม
- https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpatxngwithyakhm/khi-xmul-phanth-mi/px-
sa
- http://puechkaset.com/ข่อย/
- https://medthai.com/
%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B0/
- http://www.dnp.go.th/Pattani_botany/พันธุ์ไม้/ป่าพรุ/พญารากเหลือง/พญารากเหลือง.htm
- https://www.samunpri.com/แกแล/
- http://t-fern.forest.ku.ac.th/Forest/?
action=family&action2=family_detail&fam=MORACEAE
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานฉบับนี้จะสำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือจากคุณครูวิชัย
ลิขิตพรรักษ์ คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบ แก้ไข ข้อ
บกพร่องทุกขั้นตอนของการจัดทำโครงงาน คณะผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณคณะครูและอาจารย์ ผู้ปกครอง ตลอดจนเพื่อนนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวมา ณ ที่นี้ ที่ได้ให้กำลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี้สำเร็จ
ลุล่วงได้ด้วยดี และสุดท้ายนี้ทางคณะผู้จัดทำโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โคครงงานฉบับนี้จะ
เป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทำ

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 

Similar to Plant ser 77_60_5

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Similar to Plant ser 77_60_5 (20)

Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4Plant ser 77_60_4
Plant ser 77_60_4
 
Pakleang Resize
Pakleang ResizePakleang Resize
Pakleang Resize
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 77_60_5

  • 2. งานสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 6 ( ว 30246 ) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560 ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ ห้อง 77 พืชที่นำเสนอ คือ พืชวงศ์ MORACEAE จำนวน 12 ชนิด จัดทำโดย น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2 น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9 น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14 น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21 นำเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูคศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 3. นำเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูคศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 4. จัดทำโดย น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2 น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9 น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14 น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
  • 5. คำนำงานสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนนี้จัดทำขึ้นเพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยาเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์เกี่ยวกับพืชที่ อยู่วงศ์เดียวกับหม่อนอันได้แก่ มะเดื่อ สาเก ขนุน ยางอินเดีย ไกร โพธิ์ ปอสา ข่อย จำปาดะ เลียงึ้ง ไทรหิน และผักเลือด ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหา ข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทำ
  • 6. MORACEAE - มะเดื่อ Ficus racemosa Linn. - สาเก Artocarpus altilis - ขนุน Artocarpus heterophyllus Lam. - โพธิ์ Ficus religiosa L. - ยางอินเดีย Ficus elastica Roxb. Ex Hornem - ไกร Ficus subpisocarpa Gagnep. - ปอสา Broussonetia papyrifera - ข่อย Streblus asper Lour - จำปาดะ Artocarpus integer - ผักเลือด Ficus anastomosans Wall. - พญารากเหลือง Parartocarpus  venenosus - แกแล Maclura cochinchinensis
  • 7. ชื่อสามัญ : Fig, Common Fig ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus racemosa Linn. ชื่อวงศ์ : MORACEAE ชื่ออื่น : เดื่อเกลี้ยง, เดื่อน้ำ, มะเดื่ออุทุมพร ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีน้ำยางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อเกิดภายในฐานรองดอก ออกที่ลำต้นและกิ่ง แยก เพศอยู่ในช่อเดียวกัน ผลเป็นผลสด เมื่อสุกสีแดงแกมชมพู มะเดื่อ ประโยชน์ ราก – มีสรรพคุณใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้อาการร้อนใน ช่วย กล่อมเสมหะและโลหิต เปลือก – ช่วยแก้อาเจียน แก้อาการท้องร่วง ช่วยห้าม เลือด แก้ประดงเม็ดผื่นคัน ผลดิบ – ช่วยแก้โรคเบาหวาน ผลสุก – ช่วยในการขับถ่าย มีฤทธิ์เป็นยาระบาย ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
  • 8. ชื่อสามัญ : Breadfruit, Bread fruit tree, Bread nut tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus altilis ชื่อวงศ์ : MORACEAE ชื่ออื่น : ขนุนสำปะลอ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นสูง ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งก้านทรงพุ่มแผ่กว้าง เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ ใบเว้าเป็นแฉกลึกเกือบ ถึงเส้นกลางใบ ดอกเป็นดอกช่อ แยกเป็นช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมีย ผลเป็นผลรวม มีรูปทรงรูปไข่หรือเกือบกลม ภายในมีเนื้อไม่มีเมล็ด ประโยชน์ ผล - ป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ความจำเสื่อม และโรคกระดูกผุในผู้หญิงที่อยู่ในวัยหมดประจำเดือน เปลือกต้น - ใช้เป็นยาปรับประสาททำให้ผ่อนคลายความตึงเครียด ราก - ใช้เป็นยารักษากามโรค ยาง - ใช้ในการรักษา หิด กลาก เกลื้อน สาเก ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
  • 9. ขนุน •  ชื่อสามัญ : Jackfruit, Jakfruit  •  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus heterophyllus Lam.   •  ชื่อวงศ์ : MORACEAE  •  ชื่ออื่น : ขะเนอ, ขนู,นากอ, มะยวยซะ    ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  •  ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ทรงพุ่มรูปทรงกระบอก มีน้ำ ยางสีขาวข้น  •  ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปรี ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม เป็นมัน   •  ดอกช่อแบบช่อเชิงลด ดอกแยกเพศอยู่บนต้น เดียวกัน ดอกเพศผู้ออกตามปลายกิ่ง ดอกเพศเมีย จะออกตามกิ่งใหญ่และตามลำต้น ยอดเกสรเพศเมีย เป็นหนามแหลม  •  ผลรวมมีขนาดใหญ่ เนื้อที่รับประทานเจริญมาจาก กลีบดอก ส่วนซังคือกลีบเลี้ยง   ประโยชน์ ใบ – ช่วยในการบำรุงโลหิต ช่วยขับพยาธิ แก้อาการท้องเสีย ยาง – ช่วยแก้อาการต่อมน้ำเหลืองอักเสบ แผลมีหนองอักเสบเรื้อรัง เยื่อหุ้มเมล็ดสุก – ช่วยสำหรับบำรุงกำลัง และเป็นยาระบายอ่อนๆ เนื้อในเมล็ด – ช่วยในการบำรุงกำลัง ขับน้ำนม บำรุงน้ำนม ผู้รับผิดชอบ น.ส. จินต์จุฑา เจนกิตติวงศ์ เลขที่2
  • 10. โพธิ์ ชื่อสามัญ : Sacred tree, Sacred fig, Sacred fig Tree, The peepal tree, Peepul tree, Peepul of India, Pipal tree, Pipal of India, Bo tree, Bodhi Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus religiosa L. ชื่ออื่น : สลี (ภาคเหนือ), สี สะหลี (ภาคตะวันตก เฉียงเหนือ), โพ โพธิ โพศรีมหาโพ (ภาค กลาง), ย่อง (แม่ฮ่องสอน), ปู (เขมร), โพธิใบ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ผลัดใบ แตกกิ่งก้านสาขาออกเป็นพุ่มตรงส่วนยอดของลำต้น ปลายกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนเกลี้ยง ตามกิ่งมี รากอากาศห้อยลงมาบ้าง ลำต้นมีความสูงประมาณ 20-30 เมตร มีน้ำยางสีขาว ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปใจ ปลายใบแหลมและมีติ่งหรือหางยาว (ปลายติ่งบางใบมีความยาว มากกว่าครึ่งหนึ่งของใบ) โคนใบมนเว้าเข้าหาก้านใบเป็นรูปหัวใจ ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
  • 11. โพธิ์(ต่อ) ออกดอกเป็นช่อกลม ๆ รวมกันเป็นกระจุกภายในฐานรองดอกรูป คล้ายผล โดยจะออกที่ตอนปลายของกิ่ง ดอกย่อยเป็นแบบแยก เพศ ไม่มีก้าน ผลเป็ นผลรวม ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม ขนาดเล็ก ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูม่วง สีแดงคล้ำ หรือม่วงดำและร่วงหล่นลงมา ประโยชน์ ใบอ่อนใช้รับประทานเป็นอาหาร ใช้เลี้ยงหนอนไหม นอกจากนี้ยังมีคุณค่าทางโภชนาการซึ่งสามารถนำ มาใช้ในสูตรอาหารในการทำปศุสัตว์ได้ และยังพบ ด้วยว่าใบมีปริมาณของโปรตีนและธาตุหินปูนสูงผล อ่อนใช้รับประทานเป็นอาหารได้ใช้ปลูกเป็นไม้ ประดับตามวัดวาอาราม ปลูกเลี้ยงไว้เป็นไม้แคระ แกร็นได้ หรือปลูกตามคบไม้หรือปลูกเกาะหิน ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
  • 12. ยางอินเดีย ชื่อสามัญ : Decora tree, Indian rubber tree, Rubber plant ชื่อท้องถิ่น : ยางลบ (ภาคกลาง) ลุง (ภาคเหนือ) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus elastica Roxb. Ex Hornem ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น ขนาดกลาง สูง 10 – 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือน ยอด ทุกส่วนมีน้ำยางสีขาวคล้ายน้ำนม มีรากอากาศ ห้อยระย้า ใบอ่อนมีหูใบสีชมพู หรือสีแดง รูปร่าง แคบยาวคล้ายกรวยหุ้ม ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4 – 8 เซนติเมตร ยาว 10 – 12 เซนติเมตร โคนสอบ เรียว ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบหนาคล้าย แผ่นหนัง เกลี้ยงเป็นมัน ส้นกลางใบ และก้านใบของ ใบอ่อนสีแดง ดอกแยกเพศ มีขนาดเล็ก จำนวนมาก ติดอยู่ภายในฐานรองดอก ที่มีรูปร่างคล้ายผล ผลมีเนื้อ รูปร่างกลมรี หรือขอบขนาน กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาว 1 – 5 เซนติเมตร ผลสุกมีสีเหลือง การกระจายพันธุ์มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดียและเอเชียใต้ พบ ปลูกเลี้ยงทั่วไป เนื่องจากขึ้นได้ในดินทุกประเภท ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
  • 13. ยางอินเดีย(ต่อ) ประโยชน์ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ น้ำยาง : ใช้ทำยาง ใบ : ใช้เป็นส่วนประกอบในการทำพวงหรีดแหล่งอ้างอิง การใช้งานและอื่นๆ : ปัจจุบันมีพันธุ์ใบด่างที่มีสีสันสวยงาม นิยมปลูกเป็นไม้กระถางในร่ม น้ำยางสีขาวเป็นพิษ ใน ต่างประเทศใช้ทำยางลบ ผู้รับผิดชอบ น.ส. เบญญากร ศิริรจนากร เลขที่9
  • 14. ไกร ชื่อสามัญ : Sea Fig, Deciduous Fig ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus subpisocarpa Gagnep. ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ : Ficus superba var. japonica Miq ชื่ออื่น : ฮ่าง (ลำปาง), โพไทร (นครราชสีมา), เลียบ ไกร (กรุงเทพฯ), ไทรเลียบ (ประจวบคีรีขันธ์) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 8-10 เมตร ทรงพุ่ม เป็นรูปไข่ มียางสีขาว มีรากอากาศรัดพัน เล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียน สลับ ลักษณะของใบเป็นรูปรี ดอกเป็นสี เขียวอมเหลือง ผลเป็นผลสดแบบมะเดื่อ สีขาวอมชมพู เป็นรูปกลมแกมรูปไข่กลับ กลมแป้น หรือเป็นรูปหัวใจกลับ ออก เป็นคู่ที่กิ่งเหนือรอยแผลของใบ มีเขตการกระจายพันธุ์ในภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาค มาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่ว ทุกภาคของประเทศ โดยจะขึ้นอยู่บนพื้นที่ตั้งแต่ ระดับน้ำทะเลจนถึง ที่ความสูงประมาณ 150 เมตร ประโยชน์ ผลสุกใช้รับประทานได้ และเป็นอาหารของนกและสัตว์ ต่างๆ ใบอ่อนสามารถนำมารับประทานเป็นผักได้ ใช้ปลูกเป็นไม้แคระประดับ
  • 15. ปอสา ชื่อสามัญ : Paper Mulberry ชื่อวิทยาศาสตร์ : Broussonetia papyrifera ชื่อวงศ์ : MORACEAE ชื่ออื่น ๆ : ฉำฉา ชำสา (นครสวรรค์), ปอกะสา (ภาคตะวันตก เฉียงเหนือ), หมอมี หมูพี (ภาคกลาง), ปอฝ้าย (ภาคใต้), ส่าแหล่เจ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เซงซะ (กะเหรี่ยง- กาญจนบุรี), ชะดะโค ชะตาโค (กะเหรี่ยง-กำแพงเพชร), สายแล (เงี้ยว-ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดกลางแตกกิ่งก้านโปร่ง เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนสีเทาปกคลุมดอกแยกเพศแยก ต้นกลีบดอกเป็นสีขาว ผลกลมสีแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดสีแดง ประโยชน์ เปลือกลำต้นใช้ทำกระดาษสา เส้นใยจากเปลือกใช้ทำ ผ้าตาปา เนื้อไม้ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์รากใช้ทำเชือกเปลือก และผลใช้เป็นยาระบาย ลดไข้ในปากีสถาน ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
  • 16. ข่อย ชื่อสามัญ : Siamese rough bush, Tooth brush tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Streblus asper Lour ชื่อวงศ์ : MORACEAE ชื่ออื่น :  ตองขะแหน่ (กาญจนบุรี) กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ) ส้มพอ (เลย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กไม่ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้าง คดงอ แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกสีเทาอ่อน เปลือกแตกเป็นแผ่นบางๆ มียางสีขาวเหนียวซึม ออกมา ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับมีขนาดเล็ก รูปใบ รีแกมรูปไข่กลับผิวสากดอกเป็นช่อสีขาวเหลือง อ่อนดอกเดี่ยวแต่รวมกันเป็นกระจุก ดอกแยกเพศ ผลสดกลมแก่จัดจะมีสีเหลือง ประโยชน์ กิ่งข่อย - ทุบให้อ่อนใช้แทนแปรงสีฟันได้ เปลือก – เมื่อต้มกับเกลือจะได้เป็นยาอมแก้รำมะนาด แก่น / เนื้อ - คนเชียงใหม่ใช้แก่นข่อยหั่นเป็นฝอยมวนเป็นบุหรี่สูบแก้ ริดสีดวงจมูก เปลือกและผล - ใช้เป็นยาระบายและลดไข้ในปากีสถาน ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
  • 17. จำปาดะ ชื่อสามัญ : cempedak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus integer วงศ์ : Moraceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้น มียางสีขาวขุ่น ใบเป็นมัน ผล คล้ายขนุนแต่เล็กกว่า ออกผลกลุ่มตามต้น แต่ละต้นจะมีก้านผลร่วมกัน ผลดก มากกว่าขนุน ผลสุกจะส่งกลิ่นหอมฉุน เนื่องจากมีสารประกอบพวก อัลดีไฮด์ เนื้อ ในสีแดงเข้มและสีเหลือง มีรสหวาน เนื้อ หุ้มเมล็ดค่อนข้างแฉะผลดิบเปลือกแข็ง มี ยางมาก พอสุกเปลือกนิ่มลง ยางน้อยลง เนื้อมีกลิ่นหอมและรสหวานจัด ประโยชน์ ผลใช้ประกอบอาหาร แก่นของต้นจำปาดะนำไปต้มใช้ย้อมสีจีวรพระได้. ลำต้นสามารถใช้ทำเฟอร์นิเจอร์หรือใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์ทำการ เกษตร ฯลฯ เปลือกไม้ของจำปาดะมีสรรพคุณที่ช่วยป้องกันการเกิดโรค มะเร็งและช่วยรักษาโรคมาลาเรียได้ ผู้รับผิดชอบ น.ส. อิสรีย์ ไพพินิจ เลขที่21
  • 18. ผักเลือด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus virens ชื่อเรียกอื่น : ผักฮี้ ผักเลือด ผักเลียบ ชื่อวงศ์ : MORACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลางและเป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นสูง 8-15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกแบบสลับสีเขียว รูปรีหรือรูปไข่ปนขอบขนาน ปลายใบมนทู่ ขอบใบเรียบ ผิวใบมันกว้าง 6-7 ซม. ยาว 7-18 ซม. มีหูใบขนาดเล็ก ใบอ่อนสีชมพูหรือ ชมพูอมเขียว ดอก เป็นช่อเส้นผ่าศูนย์กลาง ของดอก 4-6 มม. ก้านใบสั้นออกจากซอกใบ ผล ผลอ่อนสีเขียวและเปลี่ยนเป็นสีชมพูแดง ม่วงหรือดำ เมื่อแก่เต็มที่ เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 2 ซม. ประโยชน์ : ผล ยอดและใบอ่อนนำมาประกอบอาหาร เปลือกและ ลำต้นต้มดื่มแก้ปวดท้อง มีข้อห้ามสำหรับหญิงแม่ลูกอ่อนที่มีอาหารไอ ห้ามดื่มเพราะจะทำให้อาการกำเริบ ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
  • 19. พญารากเหลือง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Parartocarpus  venenosus  (Zoll.  &  Mor.)  Becc. ชื่ออื่น  :  หลีแคม (สุราษฎร์ธานี)  พะยูน ลูกโยน (นราธิวาส)  ตาปอเยาะ (มลายู-นราธิวาส) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น  สูง  30-40  เมตร  เรือนยอดค่อนข้างกลม ถึงแผ่กว้าง  เปลือกสีน้ำตาลเทา  มีตุ่มขรุขระ  หรือล่อนเป็นแผ่นบาง  เปลือกชั้นในสีส้ม  แผ่น ใบ  รูปขอบขนาน  รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ  ถึงรูปขนานแกมรูปหอก  กว้าง  3.5-9  เซนติเมตร  ยาว  10-17  เซนติเมตร  ผิวใบ เกลี้ยงเป็นมัน  ปลายใบแหลม  โคนใบสอบถึง มน  เส้นแขนงใบ  9-12  คู่  ก้านใบยาว  3-5  เซนติเมตร  ผล  รูปไข่กว้าง  เป็นพูโหนกนูนไม่ สม่ำเสมอ  กว้างยาว  10-18  เซนติเมตร  มีตุ่ม ปลายแหลมสั้น ๆ ประโยชน์  เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างภายในอาคารบ้านเรือน  เมล็ดเมื่อ ต้มให้สุกรับประทานได้ ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
  • 20. แกแล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner ชื่ออื่น : แกก้อง, สักขี, เหลือง, แกล, แหร ,เข, ช้างงาต้อก, น้ำเคี่ยวโซ่, หนามแข ชื่อวงศ์ : MORACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นแกแล เป็นไม้ พุ่ม ตามเถามีหนามตลอดเถา เนื้อไม้สีค่อนข้าง ขาว มียางขาว เปลือกลำต้นสีเทา แก่ยเป็นสี เหลือง ใบแกแล ใบเดี่ยว เรี่ยงสลับ เวียนรอบ กิ่งรูปวงรี กว้าง 1 – 3.5 ซม. ยาว 2 – 9 ซม. มี หนามแหลมออกตรงซอกใบ 1 อัน ยาว ประมาณ 1 ซม. ดอกแกแล ดอกช่อ ออกที่ ซอกใบ แยกเพศ อยู่คนละต้น รูปกลม ผล แกแล เป็นผลรวม ผลแก่ สีเหลืองแล้วเปลี่ยน เป็นสีส้มแดง เมล็ดกลม สีน้ำตาล ประโยชน์ : แก่น มีรสขม แก้ไข้รากสาด แก้ท้องร่วง บำรุงน้ำ เหลืองให้ปกติ บำรุงกำลัง บำรุงเลือด แก้พุพอง เป็นยาขับปัสสาวะ เป็นยาสำหรับสตรีที่คลอดบุตร แก้มุตกิตระดูขาว ผู้รับผิดชอบ น.ส. มาริสา ปัญญาวุฒิชัย เลขที่14
  • 21. บรรณานุกรม - http://www.manyum.com/post/detail/136134.html - https://www.samunpri.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%81/ - https://medthai.com/%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%99/ - http://www.wangtakrai.com/flora/category/ %E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0 %B8%B1%E0%B8%9A/197 - https://medthai.com/%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3/ - https://easyayurveda.com/2017/05/22/banyan-tree-ficus-benghalensis/ - http://www.dnp.go.th/botany/mindexdictdetail.aspx?runno=4187 - https://medthai.com/%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C/ - http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1025 - https://medthai.com/หม่อน/ - https://plants.usda.gov/java/ClassificationServlet?source=display&classid=MORU2 - https://en.wikipedia.org/wiki/Morus_alba
  • 22. บรรณานุกรม - https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpatxngwithyakhm/khi-xmul-phanth-mi/px- sa - http://puechkaset.com/ข่อย/ - https://medthai.com/ %E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B0/ - http://www.dnp.go.th/Pattani_botany/พันธุ์ไม้/ป่าพรุ/พญารากเหลือง/พญารากเหลือง.htm - https://www.samunpri.com/แกแล/ - http://t-fern.forest.ku.ac.th/Forest/? action=family&action2=family_detail&fam=MORACEAE
  • 23. กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้จะสำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือจากคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบ แก้ไข ข้อ บกพร่องทุกขั้นตอนของการจัดทำโครงงาน คณะผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณคณะครูและอาจารย์ ผู้ปกครอง ตลอดจนเพื่อนนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวมา ณ ที่นี้ ที่ได้ให้กำลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี้สำเร็จ ลุล่วงได้ด้วยดี และสุดท้ายนี้ทางคณะผู้จัดทำโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โคครงงานฉบับนี้จะ เป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทำ