SlideShare a Scribd company logo
1 of 129
Download to read offline
ครูวิจัย..ผูสรางการเรียนรู
โครงการครุวิจัย สกว.
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112
โทรศัพท/โทรสาร : 074-287207, 074-446523 H/P : 081-5402587, 081-5412578
Website : http://kruvijai.wordpress.com E-mail : kruvijai.trf@gmail.com
ชื่อหนังสือ : ครูวิจัย...ครูผูสรางการเรียนรู
ผูเขียน : ไพโรจน คีรีรัตน
ขวัญฤทัย วงษสวัสดิ์
สวรรยา พรวิบูลภาค
นราพร อาษาพันธ
พิมพครั้งแรก : ตุลาคม 2553
ผูพิมพ : โครงการครุวิจัย สกว.
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112
E-mail : kruvijai.trf@gmail.com
Homepage : http://kruvijai.wordpress.com
Tel/Fax : 074-446523, 074-287207
Mobile : 081-541278, 081-5402587
คํานํา
โครงการครุวิจัย สกว.
- การเรียนดวยกระบวนการวิจัย 1
- ศูนยพี่เลี้ยง 6 ศูนย 2
- ผลการสังเคราะหโครงการครุวิจัยป 2553 4
- การศึกษาผลการรวมโครงการครุวิจัย ป 2553 7
เรื่องเลาประสบการณจัดการเรียนรู
ไดประสบการณตั้งชุมนุมอนุรักษ จัดคายแกนนํา และเครือขายครู... จักรายุทธ พลทะสอน 11
จัดตั้งชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาว... จิตรา สอนพงษ 12
จัดแสดงซากดึกดําบรรพ... วุฒิศักดิ์ บุญแนน 13
พบกระบวนการเรียนรูสําหรับนักเรียน... อมฤทธิ์ พิณพาทย 14
เปนวิทยากรธรณีวิทยา... กาญจนา โปะประนม 15
สอนนักเรียนสรางสรรคจิตนาการ... นรินทร ผิวทอง 16
จัดทัศนศึกษาแหลงเรียนรู... ณรงคฤทธิ์ ประเสริฐสุข 16
สอนซากดึกดําบรรพในชีววิทยาเรื่องวิวัฒนาการ... เจษฎา นาจันทอง 17
ดอกไมไรคา…แตสรางการเรียนรูอยางมหันต... อรนุช เสียงดัง 18
ทําโครงงานวิทยาศาสตร... อรัญญา หมอกไชย 18
ซึมซับการวิจัยปรับเปลี่ยนวิธีสอน... สมจิต ผอมเซง 19
ไดวิธีสืบเสาะความรู ถายทอดใหลูกศิษย... นิกร สีกวนชา 20
กอตั้งชมรมอัจฉริยะภาพทางวิทยาศาสตร... สาโรจน ทองนาค 21
วิจัยในชั้นเรียน... ฐิติสิทธิ นิลโสม 22
ตั้งพิพิธภัณฑ ดิน หิน แร ในหองเรียน... ยุพิน ขันธวิชัย 23
นํานักเรียนออกนอกหองเรียน... มินตรา มีสงา 24
ชุมนุมนักสืบ และนักวิจัยนอย... รุงทิพย สุกใส 25
สื่อการสอน: ฟอสซิลและหิน... ทวีทรัพย โพธิสมภาร 26
ชมรมวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม... กมลรัตน วงศรักษา 27
เรื่องเลาของครูเปยก... กิตติชัย บุษราคัม 28
สอนวิทยาศาสตรแบบเชื่อมโยงความสัมพันธของธรรมชาติรอบตัว ... นวลจันทร มัครินทร 29
สารบัญ
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว จ.กาฬสินธุ กรมทรัพยากรธรณี
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยสิ่งแวดลอมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน
ไดขุมพลังแหงรู สรางสรรคความงามผานกิจกรรมโรงเรียน... คนึงนิจ ณ นาน 30
ใชการทําโยเกิรตเปนโครงงาน... ศิรประภา สุรชน 31
ไดใชเทคนิครวมทํากับลูกศิษย... จตุรงค กมลเลิศ 32
การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ... ผอ.ชูศรี กาญจนวงศ 34
ตั้งชุมนุมพฤกษศาสตร ... นภาภรณ สมสะอาด 36
เปลี่ยนทรรศนะของครูและนักเรียน ... บังออน จุลพล 37
ฝกทําวิจัยชวยสรางการเปลี่ยนแปลงในวิธีการสอน ... ปยรัตน พิมพสวัสดิ์ 38
สอนโครงงานและอนุรักษสิ่งแวดลอม... พรทิพย รินไธสง 39
จุดประกายความคิดในการทําโครงงาน... พัชนุช แสนกัน 40
มุมมองที่เปลี่ยนไปกับการนําวิจัยมาใชในการเรียน... เมธาวี สายสิน 41
ไดประยุกตใชการเรียนการสอน และประเมินเด็กได... วราพร โยธาภักดี 42
สอนนักเรียนทําโครงงาน... สุคนธ จารุสาร 43
พัฒนาการสอนสิ่งแวดลอม... จรูญลักษณ แสนพิสาน 47
นํานักเรียนไปศึกษานอกหองเรียน... อรทัย นิติพงษอนุพร 48
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล เกาะสีชัง จ.ชลบุรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
จากครุวิจัยสีชังมาสู รร.ประโคนชัยพิทยาคม จ.บุรีรัมย... นิพนธ ประทุมวงค 49
สอนกลุมสาระภาษาตางประเทศดวยกระบวนการวิจัย... ณาตยา อุทยารัตน 50
โครงงานวิจัยเชิงบูรณาการ... เบญจนา กลอมแกว 50
เรื่องเลาประสบการณสูการปฏิบัติจากโครงการ ครุวิจัย’ 53... วัชรินทร จันทิมา 51
เรื่องเลาจากโครงการ ครุวิจัย’ 53 สูการปฏิบัติ... จันทนา สุปนะ 52
เลาประสบการณการนําทักษะกระบวนการวิจัยไปใชในหองเรียน... ธีระรัตน อุบลรัตน 53
จากการเรียนรูวิทยาศาสตรทางทะเลสูหองเรียน... ปยา รพีธรรม 54
สื่อและนวัตกรรม... สุภาพร หินนอย 55
ทําตูอบแหงไดเอง... กฤตินันท สอวิหค 57
ไดกระบวนการคิด... กิตติชัย ปญญารมย 57
กระบวนการฝกการคิดที่เปนระบบ... ธีรวัฒน บุรวิศิษฐ 58
เปลี่ยนมุมมองของ...การจัดการเรียนรู... นิตยา อุดทาคํา 59
สรางชุมนุมยุววิจัย... ไพศาล วงคกระโซ 60
พลัง(งาน) มิเคยสูญหาย: จัดการเรียนรูแบบสงเสริมการทํางานเปนกลุม... ฟูซียะห เจะกา 61
กระตุนนักเรียนทําโครงงาน... รัชนีกร นําชัย 62
สื่อการสอนเตาแกสชีวมวล... รุงคราญ วิริยัง 63
ไดกระบวนการสอนทําโครงงาน... วรรณกร กุลศรี 64
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.สงขลา
ประดิษฐเครื่องอบแหงสอนนักเรียน... สมาแอ กาเซ็ง 65
ไดแนวทางพัฒนาและอุทิศตน... สลิลลา ชาญเชี่ยว 66
เรียนรูพลังงานลม... สุภาภรณ เสารสิงห 67
รูจักตั้งคําถามและสอนวิเคราะหขอมูล... อัจฉรียา นารีวงศ 68
การเรียนการสอนบนหลักการวิจัยไดสรางจิตสํานึกใหม... ภัชรินทร เลิศบุรุษ 69
ไดปุยหมักแทนกาซชีวภาพ และครูในโรงเรียนเปลี่ยนไป... อําไพ กลับทับลังค 70
ฝกลูกศิษย ... สิรภพ กาฬสุวรรณ 71
มุมมองเปดกวางและรูจักตัวเอง... รณภบ สําเภาทอง 72
ไดเรียนวิจัย: ไดประสบการณแปลกใหม... ยุทธศาสตร ฮาดดา 73
สื่อการสอนเรื่องไบโอแกส... จรูญ อินเอก 74
ประยุกตใชสอนเรื่องเซลล... สุนันทา สุวรรณะ 75
สอนแบบผูเรียนสรางความรูไดดวยตนเอง... ดวงแข เพชรเรือนทอง 76
พาครูสอนแบบโครงงาน... เฉลิม ปานมา 77
ใหนักเรียนทํากาซชีวภาพจากเศษอาหารกลางวัน... ธีระพันธ จุลแกว 78
ใชสอนและฝกกระบวนการ... ไพบูรณ วิมลรัตน 79
ผสานกาซชีวมวลกับหนวยการเรียนรูความรอนและของไหล... สุริยะพร นาชัยเงิน 80
เรื่องเลา...หลังกลับสูโรงเรียน... นพกนก รองรัตน 80
จากประสบการณวิจัยสูการเรียนรูแบบโครงงาน... อนุจิตร จันทรศรี 81
สอนเด็กประถมทําโครงงาน... ศิริขวัญ จันทรมณี 82
จากแดนใตสูเวทีความรูที่ราบสูง... ไสว ทองอินทร 83
ไดเทคนิคจัดกิจกรรมการสอน... ซูเฟยน ยูโซะ 85
หาคําตอบจากคําถาม ทําไม... ศักดิ์ระพี ทองหนูนุย 86
เลาใหเพื่อนครูฟง... สาโรจน สังขทอง 87
ความรูจากฝกทําวิจัย.....ถายทอดสูเด็ก... ถาวร หนูสุข 88
การเรียนวิทยาศาสตรไมใชการเรียนจากหนังสือ... ยงจิตร ศิลาพิมพ 89
การใชปญหาเปนฐานแหงการเรียนรู... พุทธพงษ พงษพวงเพชร 90
การพัฒนาการคิดสูการพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร... สุทิน ฝาย 91
การขึ้นรูปเครื่องแกงคั่วกลิ้ง... วารุณี ธรรมขันธ 91
บูรณาการความรูที่ไดกับอาหาร... สุธีปกา หมื่นชนะ 92
ไดรูกระบวนการและสนับสนุนลูกศิษยทําโครงงาน... ศิริพร สุคนธ 93
ครูกับการเรียนรู... ยุพาพรรณ วรรณสาย 94
ประสบการณสูงานวิจัยในโรงเรียน... รัชนี มุงวัฒนกุล 95
ฝกทําวิจัย นําไปใชกับการสอนคณิตศาสตร... พิรุณพร อินถา 96
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.สงขลา
เครื่องแกงสมภาคใต…เปนถั่วเหลืองแมฮองสอน... นฤนาท วัฒนวงษ 97
บทความประสบการณครุวิจัย... วรลักษณาวลัย ยงสืบชาติ 98
จากการฝกสูการปฏิบัติจริง... อุษณี ขุนจันทร 99
สิ่งที่เรียนรูจาก มอ. กับการรอ ของเด็กดอย... บรรเจิด ถาบุญเรือง 100
"ความรูจากหอขนม"... ณัฐพงศ มนตออน 103
สิ่งที่ไดนําความรู ประสบการณที่ไดรับจากโครงการฯ ไปใช... สุธารัตน อนุกูลประเสริฐ 103
ชุมนุมรูรักษบึงโขงหลง... สุทธิรัตน ศรีสงคราม 104
ตัวแทนศูนยฯ ไปแขงขั้นในระดับเขตการศึกษา... สุมาลี สังเกิด 105
การนําความรูจากการอบรมครุวิจัย กลับไปใชในโรงเรียน... เกศินี อินถา 105
ความรูจากการอบรม...สูการใชงาน... วีระศักดิ์ วัฒนราช 106
หลังจากไดเขารวมโครงการครุวิจัย... จรัสพงษ มูลใจ 108
การเปดโลกกวางดวยโครงงานกับนักเรียนในชนบท... เกษมศักดิ์ ดอกผึ้ง 109
ประสบการณที่กลับมาจากอบรม “ครุวิจัย53”... ชัยเรือง ไชยคลัง 109
ลอมวง(เลา)...ชาว “We Kru 2” ... อรุณนภา คําแอ 110
การทดลองใชประสบการณการวิจัย... จรรยา ศักดิ์ดา 111
จุดสิ้นสุด…ของการเริ่มตน: สอนโครงงานวิทยาศาสตร... กอบวิทย พิริยะวัฒน 112
ครู..โครงการครุวิจัย สกว.
รายชื่อครูฝกอบรมครุวิจัย สกว. ป 2549 - ป 2553 115
เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยนวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยา
เขตพระราชวังสนามจันทร จ.นครปฐม
โครงการครุวิจัย สกว.
- 1 -
1. การเรียนดวยกระบวนการวิจัย
การวิจัย เปนกระบวนการที่เริ่มดวยคําถามหรือปญหาที่สงสัย จึงกระตุนใหอยากรู ดวยการ
ออกแบบ (คนควา เสาะหา และทดลอง) เพื่อใหไดขอมูลและหลักฐาน ที่เพียงพอสําหรับการทําความ
เขาใจ ที่จะสรุปเปนความรู ผูทําวิจัยรูยังไมพอ ตองทําใหผูอื่นรูดวย เพื่อชวยตรวจสอบความถูกตอง
โครงการครุวิจัย เปนโครงการสนับสนุนทุนฝกทําวิจัยอยางเขมขน 1 เดือนเต็ม ที่ศูนยพี่เลี้ยง ซึ่ง
มี 6 ศูนย โครงการนี้มีวัตถุประสงคสนับสนุนครูทุกระดับ ทุกสาระ ไปเรียนความรูวิทยาศาสตร ซึ่งความรู
ที่เรียนสวนใหญไมมีในตําราสอนที่โรงเรียน แตเปนความรูทีพี่เลี้ยงคัดเลือกและกลั่นกรอง เอามาสอนครู
ดวยกระบวนการสอนที่เรียกวา การวิจัย
ครูที่สมัครเขารวมโครงการ จะฝกเขียนขอเสนอโครงการ เพื่อบอกเลาวาตัวเองมีความสนใจเรื่อง
อะไร เรื่องนั้นมีความสําคัญอยางไร คาดวาจะทําอะไรบางในชวง1 เดือนที่ฝกวิจัย และจะนําความรูที่ได
ไปใชประโยชนอะไรบาง
โครงการครุวิจัยใชขอเสนอโครงการดังกลาว ในการคัดเลือกครูที่มีสมบัติเหมาะสม ใหแกศูนยพี่
เลี้ยงตาง ๆ การใหครูเขียนขอเสนอโครงการ เปนพัฒนาครูในขั้นแรก ครูเหลานี้จะมีเปาหมายชัดเจน
ในการฝกทําวิจัย 1 เดือน ศูนยพี่เลี้ยงแตละศูนยจะจัดการสอนแตกตางกันบาง ตามบริบทของ
ศาสตรแตละแขนง แตก็มีขั้นตอนเหมือนกัน คือ สอนความรูพื้นฐาน สอนทักษะการใชเครื่องมืออุปกรณ
สอนการแกไขปรับปรุงขอเสนอโครงการ ซึ่งทําใหครูไดเรียนรูจุดออนของตัวเอง สอนการเก็บขอมูล ฝก
นําเสนอรายงานความกาวหนา 2-3 ครั้ง ฝกการเขียนรายงานวิจัย เขียนบทความวิจัย ทําโปสเตอร
และเขียนเลาประสบการณ บางศูนยฝกทําสื่อการสอนดวย
หากพิจารณาใหดี จะเห็นวาครูไดรับการฝกทําวิจัยครบทุกขั้นตอน อาจจะดีกวาโครงงาน
นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่สําคัญไดเกิดการแลกเปลี่ยนความเห็นกับพี่เลี้ยง 2-3 อาทิตย ในระหวาง
วิเคราะหและสังเคราะหขอมูล ความเขมขนและมีครบทุกขั้นตอน ทําใหครูไดความรูอยางแทจริงภายใน
ระยะเวลาอันสั้น ซึ่งไมมีการอบรมที่ไหนทําไดอยางนี้
การเขารวมโครงการนี้ ครูไดความรูมากมาย ไมเฉพาะเพียงเรื่องเดียวที่ตนทํา แตไดเรียนรูงาน
ของครูคนอื่นในศูนยเดียวกัน และไดเห็นผลงานวิจัยของครูทุกศูนย ที่ครูสามารถเลือกนํากลับไปใชที่
โรงเรียน นอกจากนี้ในแตละป ศูนยพี่เลี้ยงตาง ๆ ก็ไดพัฒนาการสอนเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ใหแกกระบวนการ อีกไมนานคงจะไดนวัตกรรม “การจัดการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย”
ในยุคของ “ความรู” สําคัญกวา “แรงกาย” มวลความรูที่เพิ่มขึ้นเปนสองเทาทุก ๆ 3-4 ป หากจะ
เรียนรูใหทัน จําเปนตองพัฒนาศักยภาพการเรียนรูใหม ทดแทนการเรียนแบบเดิม ซึ่งไดผลชาและไมรู
จริง อาจเปน “การเรียน” คูกับ “การทําวิจัย” ซึ่งไดถูกทดลองแลวในโครงการครุวิจัย พบวา มี
ประสิทธิภาพสูง ทําใหครูที่ไมมีความรู สามารถเรียน เขาใจ และทําเปน ในเรื่องใหม ภายในชวงเวลาสั้น
ๆ 1 เดือน วิธีนี้ทําใหครูสามารถคนควาและสรางความรูไดดวยตนเอง
ครูเรียนไดมาก ไดทั้งความรูใหมและวิธีการสอน บางคนอาจไดชุดทดลอง ที่จะนําไปใหนักเรียน
ทําการทดลองตอไดที่โรงเรียน การฝกทําวิจัยแบบนี้ครูไดรับความรูที่ชัดและใชเปน
- 2 -
2. ศูนยพี่เลี้ยง 6 ศูนย
2.1. ครุวิจัยไดโนเสาร
ศูนยวิจัยไดโนเสาร ภูกุมขาว จ.กาฬสินธุ มีความแตกตางจากศูนยวิจัยอื่นๆ เนื่องจากเปน
ศูนยวิจัยที่ไมไดอยูในสถาบันการศึกษาหรือมหาวิทยาลัย การวิจัยจึงสอนบนพื้นฐานการลงมือปฏิบัติ
(ทํา)ใหเห็นจริงของนักวิจัยพี่เลี้ยง และนําครูลงมือปฏิบัติจริง ทําการทดลอง เก็บขอมูลตัวอยางจริง หาก
มีขอผิดพลาดก็จะแกไขไปตามสถานการณเฉพาะหนา เชน การปรับแกขอเสนอโครงการของครู ที่ไดรับ
คัดเลือกเขารวมฝกทําวิจัยที่ศูนยวิจัยไดโนเสาร โดยเริ่มจากการปรับพื้นฐานความรูของครูทุกคน ใหมี
ความเขาใจในเรื่องธรณีวิทยาและบรรพชีวินวิทยาเสียกอน จากนั้นจึงพาครูไปลงพื้นที่เพื่อไปเห็นของจริง
แลวกลับมาปรับแกขอเสนอโครงการของตัวเอง ใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน กับความมุงหมายของ
ศูนยวิจัย
การสอนของศูนยวิจัยไดโนเสาร ไมไดมุงเนนหาคําตอบของสิ่งมีชีวิตใหมๆ หรือทฤษฎีใหมๆ แต
เปนการบูรณาการระหวาง “กระบวนการวิจัย” กับ “กระบวนการจัดการเรียนรู” เขาดวยกัน รวมทั้ง
เชื่อมโยงสิ่งที่มีอยูในทองถิ่น หรือรอบๆ โรงเรียน เขามาเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรูดวย
หลังเสร็จสิ้นการอบรม ครูจะไดทั้งเนื้อหาสาระ กระบวนการ และประสบการณทํางานจริงที่หนา
งาน ซึ่งความรูเหลานี้สามารถถายทอดไปสูนักเรียนได
2.2. ศูนยครุวิจัยสิ่งแวดลอม
ศูนยนี้อยูคณะวิทยาศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยขอนแกน เริ่มกระบวนการสอน
ตั้งแตการทบทวนทฤษฎีและหลักการดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม การสํารวจพื้นที่เก็บตัวอยาง การฝก
ใชเครื่องมือและอุปกรณๆ การเก็บขอมูลภาคสนาม การบรรยายหลักการวิเคราะหขอมูลเพื่อเขียน
รายงานวิจัย
วัตถุประสงคของศูนยพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาศักยภาพครูดวยกระบวนการวิจัยจากประสบการณนอก
หองเรียน เพิ่มความรูความเขาใจในการหลักการทางวิยาศาสตรใหเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต พัฒนาใหครูเกิด
ทักษะการปรับปรุงแผนการสอนโดยใชการวิจัย และที่สําคัญคือ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน
ของครูที่สามารถสรางแรงบันดาลใจในการเรียนรูของนักเรียนได ศูนยพี่เลี้ยงจึงจัดรูปแบบเหมือน
โรงเรียน โดยมีผูอํานวยการศูนยเปรียบเสมือนผูอํานวยการโรงเรียน พี่เลี้ยงเปรียบเสมือนครู และครู
เปรียบเสมือนนักเรียน การสอนครูดวยกระบวนการแบบนี้ จะทําใหครูไดเรียนรูวา จะไปประยุกตใชกับ
นักเรียนที่โรงเรียนของตนเองอยางไร
2.3. ศูนยครุวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล
ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล สีชัง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีกระบวนการสอนเริ่มตั้งแตการ
คัดเลือกขอเสนอโครงการโดยมีเกณฑในการคัดเลือกดังนี้ คือ เปนงานที่ตรงตามความเชี่ยวชาญของ
ศูนย, เปนงานที่ครูไดเรียนรูและใชสอนในระดับโรงเรียนได, เปนงานที่ตองมีภาคปฏิบัติ/ทดลอง ซึ่งเปน
กิจกรรมที่ไปเปนการทดลองของนักเรียนได, เปนการศึกษาในพื้นที่ของศูนย แตสามารถประยุกตตอใน
- 3 -
พื้นที่ของตนเองได, งานตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการครุวิจัย สกว., สามารถดําเนินการ
ไดภายใน 1 เดือน
จากนั้นศูนยพี่เลี้ยงจะทําการแยกขอเสนอโครงการของครูออกเปนกลุมยอย จัดหานักวิจัยประจํา
กลุมคอยเปนพี่เลี้ยงใหครูในการปรับแกขอเสนอโครงการ หาขอมูลทําวิจัย แลกเปลี่ยนความรูกับครู
ตลอด จนการทํากิจกรรมวิจัยเสร็จสิ้น ซึ่งกิจกรรมวิจัยของศูนยวิทยาศาสตรทางทะเลแบงเปน 4 ชวง
หลัก คือ
1.การบรรยายกอนทําวิจัย เพื่อใหความรูดานวิทยาศาสตรทางทะเลแกครู รวมทั้งความรูเกี่ยวกับ
งาน เฉพาะแตละกลุมยอยเพื่อใชในภาคปฏิบัติ
2.กิจกรรมการสาธิตการปฏิบัติงานภาคสนามทดลองฝกปฏิบัติงานวิจัย เพื่อเพิ่มทักษะการฝก
ปฏิบัติ/ความมั่นใจในการใชเครื่องมือตางในการทํางานวิจัย
3.การแบกทํางานวิจัยตามความสนใจของครู (เก็บตัวอยางภาคสนามและทําวิจัยใน
หองปฏิบัติการ)
4.การเขียนรายงานและนําเสนอผลงานวิจัย
2.4. ศูนยครุวิจัยพลังงาน
ศู น ย ค รุ วิ จั ย พ ลั ง ง า น ดํ า เ นิ น ก า ร โ ด ย ส ถ า น วิ จั ย เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หาดใหญ ในชวง 2 สัปดาหแรกการสอนเนนไปที่การเรียนรูวิธีวิจัย
เครื่องมือวัด ความรูพื้นฐาน ทฤษฎีเฉพาะสําหรับการทําวิจัย จากพี่เลี้ยงกลุม และเสริมดวยการเรียนรู
จากแหลงเรียนรูภายในพื้นที่ โดยการพาครูไปเรียนรูวิถีชีวิตชาวบานในลุมทะเลสาบสงขลา เรียนรูการ
วิจัยโดยชาวบานเพื่อปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติใน อ.ละงู จ.สตูล
หลังจากนั้น ในสองสัปดาหสุดทาย จะเขาสูชวงการลงมือฝกทําวิจัยของครู ศูนยพี่เลี้ยงไดจัดการ
ติดตามการทํางานของครูเปนระยะๆ โดยการเสนอรายงานความกาวหนาทุกสัปดาห ซึ่งทั้งสิ้น 3 ครั้ง ซึ่ง
แจงใหทราบลวงหนาในคูมือของศูนยพี่เลี้ยง ทั้งนี้ไดจัดพี่เลี้ยงประจํากลุม ใหการดูแลและใหคําแนะนําครู
อยางใกลชิด
ครูที่มาฝกทําวิจัยที่ศูนยพลังงาน จะไดทั้งความรูทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ รูจักวางแผนการทํางาน
ออกแบบชุดทดลอง มีวินัย เรียนรูสังคมพหุวัฒนธรรม และไดฝกการเขียนงานวิชาการ อยางเขมขน
ตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็ม
2.5. ศูนยครุวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร
ศูนยอุตสาหกรรมเกษตร อยูที่คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
หาดใหญ สอนการวิจัยโดยใหครูเริ่มตนจากการสังเกตและตั้งคําถามวา ทําไม” เพื่อคนหาปญหาที่
แทจริง ฝกใหครูมองปญหาจากสิ่งที่อยูรอบตัวๆ แลวนํามาคนหาคําตอบดวยการวิจัย มีพี่เลี้ยงประจํา
กลุมคอยใหคําปรึกษา และมีการจัดเวทีเล็กๆ ทุก 2 วัน เนนการใหพี่เลี้ยงและครูไดรวมกันแลกเปลี่ยน
เรียนรู และระดมความคิดเห็นกัน เพื่อสามารถแกไขขอผิดพลาดตางๆ ไดอยางรวดเร็ว เชน ผลการ
- 4 -
ทดลองของครูบางกลุม ไมไดผลตามแผนที่วางไว ก็เอาเขาที่ประชุมระดมความคิดกันวา ควรทําอยางไร
เปนตน
ศูนยพี่เลี้ยงเนนการฝกครูใหเปนผูรูจักสังเกต คิด วิเคราะห อันเปนพื้นฐานใหเกิดการเรียนรูดวย
ตัวเอง ครูสามารถนําไปบูรณาการกับการเรียนการสอนที่โรงเรียนได
2.6. ศูนยครุวิจัยนวัตกรรม และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร
ศูนยนี้ตั้งอยูมหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม มีความมุงเนนที่กระบวนการคิดของครู ซึ่งเปน
กระบวนการแรกที่สําคัญ ในการชวยใหครูไมไปยึดติดกับองคความรูที่มีอยู เพราะจะทําใหคุณครูสนใจ
แตเพียง "วิธีทํา" แตไมไดสนใจ "วิธีการ" หรือกระบวนการของการวิจัยที่แทจริง
ดังนั้นรูปแบบการจัดการของศูนยนี้ มีพี่เลี้ยงแตละคนรับผิดชอบกลุมยอย และมุงเนนไปที่
กิจกรรมที่ "โดน" และใหคุณครูเห็นวา "นาสนุก" ที่จะทํา โดยมีพี่เลี้ยงคอยดูแลครูในแตละกลุมยอย พี่
เลี้ยงจะตองทําใหครูเห็นความสําคัญของ "ทักษะการแสวงหาความรู” โดยทําใหครูเห็นวา ตัวพี่เลี้ยง
เองก็ไมรูในบางเรื่องเชนกัน จากนั้นจึงแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันกับคุณครูในกลุม วาจะทําอยางไรถึงจะรู
ได รวมกับครูในการแสวงหาขอมูลหรือความรู สําหรับนํามาใชเปนเครื่องมือ ในการชวยตอบคําถามกับ
ขอสงสัย ที่เกิดขึ้นในระหวางกระบวนการทําวิจัย
ทั้งนี้ดวยกระบวนการจัดการดังกลาวทั้งหมดนี้ ทางทีมพี่เลี้ยงทุกคนไดอธิบายใหครูทุกคน ได
เห็นวาแทจริงแลวกระบวนการที่เกิดขึ้นในแตละกลุมนั้นยอมแตกตางกัน ซึ่งความแตกตางกันของวิธีการ
(กระบวนการคิด) นี้ยอมสามารถสรางสิ่งใหมขึ้นมาไดเสมอ และเรียกกระบวนการเหลานี้วา "นวัตกรรม"
3. ผลการสังเคราะหโครงการครุวิจัยป 2553
โครงการครุวิจัยนี้ คาดหวังวา ครูที่ผานการฝกทําวิจัย 1 เดือนเต็ม คงจะสามารถนําศาสตรดาน
การสอนที่ตนชํานาญ มายกระดับหรือปรับแตงความรูที่ไดจาการเรียนครั้งนี้ เพื่อนําไปใชอยางเหมาะสม
กับการใชสอนในหองเรียน
จากเวทีประชุมนําเสนอผลงานครุวิจัยประจําป 2553 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 ไดคําแนะนํา
จากผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ดังนี้
ดร.เลขา ปยะอัจฉริยะ ไดใหขอคิดวา หนาที่ของการจัดการการศึกษา ไมใชหนาที่ของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพียงอยางเดียว การที่ สกว. และศูนยวิจัย หรือมหาวิทยาลัย เขามามีสวนรวมใน
การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน นับไดวาเปนการเปดมิติใหม ในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับ
ลูกหลานเรา โดยกระทรวงศึกษาธิการตองมีหนาที่โดยตรงในการสืบสานนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในครั้งนี้
ซึ่งถือเปนนวัตกรรมของการพัฒนาครูอีกรูปแบบหนึ่ง เมื่อมหาวิทยาลัยที่เนนใหการศึกษา การบริการ
ทางวิชาการตอสังคม ไดลงมาเชื่อมโยงระหวางการอุดมศึกษาตอการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 5 -
กระบวนการฝกทําวิจัยที่ผานมาหนึ่งเดือน เปนกระบวนการที่ครูพยายามพัฒนาตนเอง โดยมีพี่
เลี้ยงคอยใหการกระจาง กระตุน และคอยชี้แนะแตไมชี้นํา ใหไปตัดสินใจในการพัฒนาตนเอง ได
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วิธีคิดและพฤติกรรม ที่เห็นชัด คือ พฤติกรรมการออกแบบการจัดการเรียนการ
สอน โดยเฉพาะในวิชาที่เราสอบตกทั่วประเทศ คือ วิชาที่เนนใหรูจักคิดอยางมีเหตุผล คิดเปนระบบ นั่น
คือวิชาวิทยาศาสตร เพราะวิชาวิทยาศาสตรไมไดสําคัญที่เนื้อหา แตอยูที่หนาที่ของครู ไมวาจะสอนวิชา
อะไร หนาที่ของทาน ตองสรางแรงบัลดาลใจ ใหลูกศิษยเกิดความตองการที่จะเรียนรู เพราะฉะนั้นถาจะ
สรางแรงบัลดาลใจ ตองใหรักที่จะคิดอยางมีเหตุผล คิดเปนระบบ แลววิชาที่สอนตรงในประเด็นนี้คือวิชา
วิทยาศาสตร แตวิชาสังคม ภาษาไทย และอื่นๆ ตองอาศัยการคิดที่เปนระบบเหมือนกัน
นอกจากครูจะไดพัฒนาตนเองฝกฝนจิตใจ แลวปรับพฤติกรรมเพื่อใหเอื้อตอการเรียนรูอยางมี
ความสุข สิ่งที่ไดจากการฝกอบรมของครูในหนึ่งเดือน มีความเห็นวา การวิจัย การเรียนรู และการสอน
คือเรื่องเดียวกัน เพราะการวิจัยคือเครื่องมือการเรียนรู และเชื่อมโยงไปสูการสอน การเรียนที่ไมเครียด
ซึ่งตองขจัด 2 อยางออกไป คือ ความเครียด และความกลัว เพื่อใหผูเรียนเกิดความสุขและสนุกในการ
เรียน
รศ.สุชาตา ชินะจิตร ไดกลาววาเราคาดหวังวา อยากเห็นเด็กทําอะไรบาง แตเราไมเคยทํากับ
ครู ทําใหเกิดคําถามวา การพัฒนาครูจะทําอยางไร โครงการครุวิจัยไดใชกระบวนการวิจัยเปน
เครื่องมือ เปนสวนที่ทําใหเกิดการเรียนรูไดดวยการลงมือทํา เปนพื้นที่ใหผูเรียนเปนศูนยกลาง
สิ่งที่โครงการครุวิจัยทําคือ การเขาถึงกระบวนการและเขาถึงบทบาทของตัวเอง เราเห็นการ
เรียนรูของทุกคนที่เขามาเกี่ยวของ ครู พี่เลี้ยง มหาวิทยาลัย ผูจัดการ และ สกว. เอง ก็ไดเรียนรูไป
ดวยกัน
การแลกเปลี่ยนบทบาทของพี่เลี้ยง พี้เลี้ยงในที่นี้ คือ คุณครูนั่นเอง เพราะเมื่อครูกลับไปก็จะไป
ทําหนาที่คลายๆ พี่เลี้ยงใหกับนักเรียน มีทาทีเหมือนกับพี่เลี้ยง คือ สรางความสุข สรางแรงบัลดาลใจให
เกิดการเรียนรู
การเรียนรูที่ตางระดับ ตางประสบการณ ซึ่งมีคุณคามาก สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นไมไดถาเปนการอบรม
แบบสื่อการเรียนทั่วไป วิทยากรก็ไมไดเรียนรูเพราะรูอะไร มาก็พูดไปอยางนั้น แตที่ศูนยพี่เลี้ยงครูมา
เรียนรูเพื่อจะเปนผูชวยพี่เลี้ยง พี่เลี้ยงไดเรียนรูครูในหลายๆ ดาน มีกระบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นดวย
การแลกเปลี่ยนกัน เปนความรูสึกที่ดีตอกัน เอื้ออาทรตอกัน รูจักวาคนเปนอยางไร จัดการอยางไรที่จะ
บรรลุเปาหมายรวมกัน อยูรวมกันอยางไรอยางจึงจะมีความสุข ชวยสงเสริมจุดแข็งซึ่งกันและกัน เกิดเปน
Social network ซึ่งสามารถที่จะแชรความรูดวยกัน เปนองคความรูที่เขมแข็ง
รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ ไดกลาวสรุปวา ครูมีโอกาสที่จะพัฒนากระบวนการ มากกวาที่
ครูเขาใจ ขณะนี้ครูจํานวนหนึ่งยังเขาใจกระบวนการวิจัย วาเปนวิธีการวิจัย ซึ่งความเขาใจกระบวนการ
จริงๆ แลว เราจะเขาใจระบบตั้งคําถาม ระบบคิด ระบบเก็บขอมูล การออกแบบ ระบบวิเคราะห ระบบ
เชื่อมโยงไปสูการแกปญหาและไปสูปญญา
- 6 -
กระบวนการวิจัยนี้นําใหเกิด การคิดแบบตรรกะ ซึ่งก็คือ วัฒนธรรมของความเชื่อในเหตุและผล
วัฒนธรรมของความเปนวิทยาศาสตร การวิจัยขอมูลการเกิดปรากฏการณตางๆ มันเชื่อมโยงใหเราเขา
ใจความเปนเหตุและผล
ปจจุบันนี้สังคมไทยมีวัฒนธรรมความเปนเหตุและผลต่ํามาก ทําใหวัฒนธรรมที่มีกลายเปน
วัฒนธรรมที่ตองพึ่งพาคนอื่น วัฒนธรรมอํานาจจึงเกิดขึ้น การพัฒนาสังคมจึงไปไมรอด เพราะฉะนั้นเรา
ตองสรางวัฒนธรรมใหมขึ้นมา คือวัฒนธรรมที่เปนเหตุเปนผล คือ กระบวนการวิจัย
อีกสิ่งหนึ่งที่ครูจะได คือความสามารถเขาใจสรรพสิ่งในภาพรวม เชนคุณครูที่ไปศูนยไดโนเสาร
จะเขาใจในสวนนี้ เขาใจวิวัฒนาการโลกในหลายหมื่นลานป ไดเห็นในสิ่งที่ไมเคยเห็น ไดเห็นความ
เปลี่ยนแปลงทีละนอย ซึ่งเราไมเคยเห็นในชีวิตประจําวัน เพราะชีวิตเราสั้นมาก 70-80 ป เราก็ตายไป แต
สิ่งที่ครูศูนยไดโนเสารเห็นคือพัฒนาการของโลก ของเปลือกโลก ซึ่งเปนวิวัฒนาการหลายหมื่นลานป ทํา
ใหเราจะเห็นวาชีวิตเรานั้นสั้นนิดเดียว เปนสิ่งที่ทําใหครูเปลี่ยนวิธีคิด เห็นภาพรวม เห็นการเชื่อมโยง
เห็นสังคมในเชิงวิวัฒนาการมากขึ้น
การทําวิจัยครั้งนี้ไดสรางสังคมกลุมหนึ่ง คือเริ่มมีคนเชื่อวาวิจัยมิใชสัมปทานที่ผูกขาดโดย
มหาวิทยาลัย และงานวิจัยมิใชเครื่องหมายการคาจดทะเบียน ของคนที่มีปริญญาสูง ปริญญาโทหรือ
ปริญญาเอก สองคํานี้สําคัญมากเพราะในระบบการคิดของบานเราขณะนี้ยังเปนงานวิจัยเปนสัมปทานที่
ผูกขาดโดยมหาวิทยาลัย ซึ่งเราไดระบายความคิดนี้ออกไปแลว
วิจัยในแนวทางนี้มิใชวิจัยเพื่อผลเลิศในเรื่องขององคความรู แตเปนการวิจัย เพื่อแนวคิดในการ
เปลี่ยนกระบวนการคิดของคน ใหหันมาเชื่อในเหตุและผลและเพิ่งตนเองมากขึ้น ความคิดที่เปนเหตุและ
ผลทําใหคนรูจักวาอะไรมันเกิดจากอะไร แลวการเพิ่งพาตนเองจะมากขึ้น การพึ่งพาคนอื่นจะนอยลง
สังคมนี้จะไมมีภาระมาก เพราะฉะนั้นถาเรานํากระบวนการวิจัยมาสูการพัฒนา ยอมรับวาวิจัยเปนสิทธิ์
ของทุกคน ทุกคนมีสิทธิ์ทําได ไมใชเปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนอยูที่ผูใดผูหนึ่ง ประเทศของเราจะ
พัฒนาไดอีกเยอะมาก
- 7 -
4. การศึกษาผลการรวมโครงการครุวิจัย ป 2553
4.1. ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม
การศึกษาครั้งนี้ ไดสงแบบสอบถาม ไปถามผูอํานวยการโรงเรียน ที่สงครูเขารวมโครงการวิจัย
ใน ป 2553 จํานวนทั้งหมด 170 โรงเรียน ไดรับคําตอบเพียงรอยละ 33.5 แสดงวา โรงเรียนสวนใหญ
ยังไมใหความสําคัญกับโครงการครุวิจัย
ตารางที่ 1 ขอมูลของผูอํานวยการโรงเรียนที่ตอบแบบสอบถาม
ขอมูลทั่วไป จํานวน(คน) รอยละ
1 จํานวนโรงเรียนที่ตอบแบบสอบถาม 57 33.5
2 เพศ ชาย 45 78.9
หญิง 12 21.1
3 ภูมิภาค เหนือ 7 12.1
ตะวันออกเฉียงเหนือ 24 42.1
กลาง 3 5.3
ตะวันออก 6 10.5
ตะวันตก 1 1.8
ใต 16 28.1
4.2. ผลการสงครูรวมโครงการครุวิจัย สกว.
จากการสอบถามประโยชน 2 ประเด็น คือ ประโยชนที่โรงเรียนไดรับ และ ความรูที่ครูได
นําไปใชสอน ที่ทําใหเกิดผล 2 ประการ คือ การเปลี่ยนแปลงเชิงทัศนคติและความคิดสรางสรรค และมี
ความเขาใจในวิธีการวิจัย ดังแสดงในตารางที่ 2 ปรากฏผลการศึกษาชี้ใหเห็นวา ทุกหัวขอมีคะแนนอยู
ในระดับดี (4.1-4.4) แสดงวา โครงการครุวิจัยสกว. คอนขางมีประโยชนตอโรงเรียน
ตารางที่ 2 โรงเรียนไดประโยชนจากการสงครูเขารวมโครงการครุวิจัย
สิ่งที่ไดรับ
ผูตอบ
รอยละ
คะแนน
เฉลี่ย
ครูเขารวมโครงการครุวิจัยครั้งนี้ โรงเรียนไดประโยชนในระดับใด 84.9 4.2
ครูมีความรู นําไปเลา/ถายทอดใหครูทานอื่น 81.4 4.1
ครูมีความรู นําไปใชสอน (บรรยาย) 84.2 4.2
ครูมีความรู นําไปใชจัดกิจกรรมโครงงาน หรือสอนแบบทดลอง 87.7 4.4
ครูเปลี่ยนแปลงดานการเสนอแนะ / คิดสรางสรรค / ทัศนคติ 88.1 4.4
ครูเปลี่ยนแปลงดานความกระตือรือรน 88.1 4.4
ครูเขาใจวิธีการวิจัย 86.3 4.3
- 8 -
4.3. ความตองการสงครูเขารวมโครงการในป 2554
จากการสอบถามโรงเรียนที่สงครูเขารวมโครงการครุวิจัยป 2553 พบวา มีความสนใจสงครู
เขารวมโครงการครุวิจัยในป 2554 จํานวนทั้งหมด 112 คน โดยครูสวนใหญรอยละ 29.7 สนใจจะไป
ศูนยสิ่งแวดลอม ครูที่แหลือก็สนใจไปศูนยตาง ๆ ในระดับใกลเคียงกัน ดังในรูปที่ 1 และจากการถามวา
โรงเรียนตองการความรูอะไร พบวาโรงเรียนจํานวนรอยละ 75- 80 ตองการความรูดาน สิ่งแวดลอม
พลังงาน เทคโนโลยีอาหาร และ อุตสาหกรรมอาหาร และมีรอยละ 70-75 ตองการความรูดาน
วิทยาศาสตรทางทะเล และธรณีวิทยา แสดงวา ความรูของพี่เลี้ยงศูนยตาง ยังเปนที่สนใจของโรงเรียน
นอกจากนี้ ยังไดสอบถามถึงความรูอื่น ๆ พบวา โรงเรียนตองการความรูดานปญหาและแนวทาง
พัฒนาดานสิ่งแวดลอม ทั้งเรื่องอากาศ เสียง ดิน/เกษตร และน้ํา, มลพิษทางอากาศและเสียง, ดานดารา
ศาสตร โลก, ดานพลังงานทดแทน/พลังงานสะอาด, ดานสังคม/จิตวิทยา/ภาษาศาสตร, ดานการผลิตสื่อ
การสอนดานธรณีวิทยา, ดานการผลิตสื่อการสอน/นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ, ดานการวิจัยในชั้นเรียน, ดาน
ภูมิปญญาทองถิ่น/ภาษาและวัฒนธรรม, และความตอเนื่องของการพัฒนาครูภายใตโครงการครุวิจัยที่
ยั่งยืน
รูปที่ 1 ความสนใจในการสงครูไปฝกทําวิจัย
4.4. แนวทางการพัฒนาครูดวยโครงการครุวิจัย
- โรงเรียนจํานวนรอยละ 84.2 เห็นดวยกับแนวทางการพัฒนาครูดวยการใหครูฝกทําวิจัย ซึ่ง
จะทําใหไดทั้งความรูจากพี่เลี้ยง และไดวิธีการวิจัย ครูสามารถนําไปสอนและจัดกิจกรรมเรื่องโครงงาน
(วิทยาศาสตร) ไดถูกตอง สามารถสอนใหนักเรียนทําวิจัยอยางงาย แนวทางนี้ใหผลอยางเปนรูปธรรม
นอกจากนี้ ครูที่เขารวมโครงการสามารถปรับใชในการทําวิทยฐานะได, สามารถสรางองค
ความรูที่อยูรอบกายมาสูหองเรียนไดดีมาก, สามารถถายทอดความรูที่ไดสูลูกศิษยและเพื่อนๆ ใน
0 5 10 15 20 25 30 35
อื่น ๆ
ศูนยอุตสาหกรรมเกษตร
ศูนยไดโนเสาร
ศูนยเทคโนโลยีอาหาร
ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล
ศูนยพลังงาน
ศูนยสิ่งแวดลอม
ความสนใจ (%)
- 9 -
โรงเรียน, เปนกระบวนการพัฒนาครูที่ถูกตอง, เปนระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร สามารถใชในการ
แกปญหาไดหลากหลายสาขา, เปนการพัฒนาโดยเนนประสบการณตรง เรียนรูจากการปฏิบัติจริง, ครูได
ประสบการณในเชิงลึก, สามารถไปถายทอดไดอยางถูกตอง
- ควรเพิ่มการผลิตสื่อนวัตกรรมในการเรียนการสอน, ควรมีการติดตามผลงานของครูที่เขา
รวมโครงการ หรือใหทุนครูที่เขารวมโครงการกลับมาสรางผลงานที่โรงเรียนอยางตอเนื่อง, ครูที่โรงเรียน
หลายครูกลัวมากเมื่อพูดถึงการวิจัย
4.5. ขอเสนอแนะ
- โรงเรียนรอยละ 66.7 มีความเห็นคลายๆ กัน คือ การมีโอกาสไดรับทุนในการฝกวิจัย ถือวา
ตัวครูและโรงเรียนไดประโยชนอยางมากมาย และสามารถนําผลการวิจัยมาใชประโยชนในโรงเรียนได
ตรงกับความตองการของโรงเรียน ทําใหครูมีคุณภาพครู เพื่อความกาวหนาของครู, การไปอบรมในชวง
ปดเทอมจึงไมมีผลกระทบตอโรงเรียน
- โรงเรียนรอยละ 19.3 มีความเห็นวา ควรสนับสนุนทุนใหครูที่เขาฝกทําวิจัย สําหรับเปนคาทํา
วิจัยของนักเรียน เปนตนทุนใหครูสานตอโครงการ จัดซื้อสื่อและวัสดุการเรียนการสอนเพิ่มในวิชา
วิทยาศาสตร, เผยแพรและสงเสริมการพัฒนาโครงงานนักเรียนตอ เพราะงบประมาณจากโรงเรียนมี
จํากัด
- โรงเรียนรอยละ 1.8 มีความเห็นวา ครูไมมีการเปลี่ยนแปรงการสอน หรือสอนนักเรียนใหทํา
โครงงานวิจัยตอ, จึงเสนอแนวทาง วาควรทําเปนเอกสารสรุปกิจกรรม บทเรียนการเรียนรูทุกครั้ง ทุก
กิจกรรม
- แนะนําใหชวยวิจัย “ปญหาในการเรียนการสอน” ตามเนื้อหาหลักสูตรและที่พบในสภาพ
ปจจุบัน
- ครูระดับประถมศึกษาใชวิจัยในการสอนนอย สวนใหญเนนการใหความรู เพื่อใหนักเรียนทํา
ขอสอบ NT, O-Net ใหไดคะแนนสูงๆ ดังนั้นจึงเนนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบมากๆ
- ชวยสงเสริมใหครูคิดเรื่องที่จะทําวิจัยเอง ลงมือปฏิบัติ แกปญหา ตามกระบวนการวิจัย โดย
ศูนยพี่เลี้ยงใหคําแนะนํา จนไดผลการวิจัยที่ดี, เปดโอกาสใหครูที่ผานการอบรม นําประสบการณที่เคยใช
ในโรงเรียนเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการ
- ควรพัฒนาครูเปนระยะ เชน ฝกอบรมกระบวนการวิจัย กิจกรรมพัฒนาความรู และการจัดการ
เรียนการสอน, ติดตามผลงานการวิจัยมาใชในการสอน และมีเวทีใหแสดงผลงาน
- สงเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห หรือทักษะการคิดของนักเรียน ดวยงานวิจัยที่สงเสริมการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนสามารถทําวิจัยเล็กๆ ได, ปรับปรุงหลักสูตรกอน กําหนดเปน
นโยบายของหนวยงาน “ครูทําวิจัย เด็กทําโครงงาน”, ใหครูตระหนักเห็นวาผลการวิจัย ที่เปนเครื่องมือ
ที่แกปญหาไดจริง และใหความรู พรอมกับทําจริง (ใหทุน) และนําเอาผลวิจัยไปใชประโยชนไดจริง
- 10 -
- สรางกลุมเครือขาย และนิเทศติดตามใกลชิด, ใหคุณครูไดนําเสนอผลงาน และจัดนิทรรศการ
ผลงานทางวิชาการ สัมมนา ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการวิจัย เพื่อพัฒนาความคิดใหสูงขึ้น และครูจะ
ไดทําวิจัยเชิงลึกตามลักษณะงานและความสามารถของครู
- การฝกทําวิจัยทําใหมุมมองครูเปลี่ยนไป ครูสามารถจินตนาการ โดยใชรูปแบบการวิจัย สอน
เด็กเปนนักวิจัยได และจะเปนการดีถาครู 1 คน สามารถสรางยุววิจัยได 5 คน, ปรับทัศนคติในการทํา
วิจัย ครูตองเขาใจวา “วิจัยไมใชเรื่องยาก” และปรับพฤติกรรมใหครูในโรงเรียนเรียนรูวาวิจัย ใหเปนสวน
หนึ่งของกระบวนการสอน
- เพิ่มเวทีเพื่อใหครูไดแสดงผลงาน จะทําใหครูมีแรงจูงใจ ที่จะทําผลงานมากขึ้น สนับสนุน
ประสานงานกับหนวยงานตนสังกัดของครู ที่จะสรรหาผลตอบแทนเพื่อเลื่อนวิทยาฐานะ จะทําใหครูมี
ความสนใจและมีขวัญกําลังใจในการสรางสรรคผลงานมากขึ้น, ใหครูทําวิจัยในเรื่องที่สนใจ ภาคเรียนละ
1 เรื่อง โดยสอดคลองกับบทเรียน อาจใหเพื่อนครูหรือนักเรียนมีสวนรวมดวย
- สรางสื่อสําหรับใหครูเรียนรูได แมวาจะไมไดเดินทางไปรวมโครงการ
- ควรเนนและมีการติดตามทุกๆ ระยะ 3 เดือน/ครั้ง จะดีมาก
- ครูจะตองมีความสนใจ และตองการที่จะศึกษา และประยุกตใชกระบวนการวิจัยในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับเนื้อหา และมีการติดตามผลการวิจัยตลอดเวลา สามารถแกไข
ปญหาไดเมื่อพบขอมูลที่ไดจากการศึกษา
- ฝกอบรมการทําวิจัยใหกับครู เหมือนกับโครงการครุวิจัย เพราะครูไดฝกการลงมือปฏิบัติการ
ทําวิจัยจริงๆ ไดเกิดทักษะจริงๆ ไมควรจัดอบรมแบบเขม 2-3 วัน เพราะครูจะไมไดลงมือปฏิบัติจริงๆ
- ใหอาจารยมหาวิทยาลัยเปนพี่เลี้ยงตอ หลังจากกลับไปที่โรงเรียน เพื่อใหครูฝกทําวิจัยในชั้น
เรียน, จัดอบรมพัฒนาตอยอดงานวิจัยหลังจากที่ครูกลับไปทําวิจัยที่โรงเรียน
เรื่องเลาประสบการณ
การจัดการเรียนรู
เรื่องเลา
ศูนยครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว
กรมทรัพยากรธรณี
- 11 -
ไดประสบการณไปตั้งชุมนุม
อนุรักษ จัดคายแกนนํา และ
เครือขายครู
จักรายุทธ พลทะสอน
โรงเรียนบึงโขงหลงวิทยาคม จ.หนองคาย
E-mail: jakrayut@gmail.com
ครุวิจัยศูนยไดโนเสาร ภูกุมขาว ป 2553
ครุวิจัยใหอะไรกับพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง
จากการที่ไดมีโอกาสฝกทําวิจัยในโครงการครุ
วิจัย กับศูนยวิจัยไดโนเสาร พิพิธภัณฑสิรินธรภูกุมขาว
จังหวัดกาฬสินธุ ทําใหไดเรียนรู “กระบวนการจัดการ
เรียนรู“ ตามสภาพจริง โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ
ระหวางฝกทําวิจัยกับวิทยากรพี่เลี้ยง ไดรับความรู
และความสุข กับการเรียน จึงอยากใหนักเรียนไดมี
ความรูสึกแบบนั้นบาง
เพราะความพยายามแสวงหาเทคนิค วิธีการ
สอน ที่ทําใหนักเรียนรูสึกวา วิชาฟสิกสเปนวิชาที่นา
เรียน สนุก และไดความรู ทั้งที่ความจริงแลวฟสิกสเปน
วิชาที่ทาทาย ชวนใหคนหาความลับของธรรมชาติ ถา
เรารูเชนนั้นจะสนุกสนานกับวิชานี้มาก
ในทองถิ่นของขาพเจา เปนที่ตั้งของพื้นที่ชุม
น้ําบึงโขงหลง จ.หนองคาย (อีกหนอยก็จะกลายเปน
จังหวัดบึงกาฬ) ที่มีความสําคัญระดับนานาชาติ ลําดับ
ที่ 1098 และลําดับที่ 2 ของประเทศไทย และยังมีพื้นที่
ใกลเคียงกับ อุทยานแหงชาติภูลังกา อุทยานแหงชาติ
ภูวัว ภูสิงห ภูทอก รวมทั้งเชื่อมโยงกับแมน้ําโขง และ
แมน้ําสงคราม
ขาพเจาไดนําแนวคิด ประสบการณ จากการ
ที่ไดไปรวมโครงการครุวิจัย มาพัฒนาตอยอดจากสิ่งที่
มีอยูเดิม ดังนี้
จัดตั้งชุมนุมรูรักษภูลังกา เพื่อใหนักเรียนได
เรียนรูเกี่ยวกับความเปนมาของภูลังกา กอนจะมาเปน
อุทยานแหงชาติในปจจุบัน เพื่อสรางจิตสํานึกของ
เยาวชน ในการรวมกันอนุรักษ ใหอุทยานแหงชาติภู
ลังกาเปนแหลงตนน้ํา แหลงอาหาร ยาสมุนไพรตอไป
พานักเรียนในรายวิชาโลก ดาราศาสตรและ
อวกาศ ออกไปเรียนรูภายนอก เรื่องหิน ดิน การ
เปลี่ยนแปลงทางลักษณะธรณีวิทยา ในพื้นที่อุทยาน
แหงชาติภูลังกา
คายแกนนํา จัดกิจกรรมการตรวจวัด
คุณภาพน้ําในพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง รวมกับโรงเรียน
เครือขายที่อยูรอบพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง เพื่อเฝาระวัง
คุณภาพน้ําใหมีคุณภาพดีตลอดไป
สรางเครือขายครูวิทยรักษบึง ขึ้นมาเพื่อเปน
เวทีแลกเปลี่ยน รวมกันเฝาระวัง และสรางกิจกรรม
สรางจิตสํานึกใหกับนักเรียนในโรงเรียนเครือขาย
กิจกรรมที่กําลังดําเนินการอยู จะชวยให
ผูเรียนไดพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวม ทั้งมี
คุณธรรมจริยธรรม มีจิตสํานึกในการอนุรักษพื้นที่ชุม
น้ําบึงโขงหลงใหคงอยูตลอดไป
桹¹íÒ¡ÒõÃǨÇa´¤u³ÀÒ¾¹éíÒ
¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¡ÒÃe»ÅÕè¹æ»Å§·Ò§¸Ã³ÕÇi·ÂÒ
ที่มา:
http://kruvijai.wordpress.com/2010/10/11/jakkrayut/
- 12 -
จัดตั้งชุมนุมนักวิทยาศาสตร
รุนเยาว
จิตรา สอนพงษ
โรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร จ.หนองบัวลําภู
E-mail: kruphysics.2@gmail.com
ครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว ป 2553
จากประสบการณการฝกทําวิจัยในโครงการ
ครุวิจัย ศูนยวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว อ.สหัสขันธ จ.
กาฬสินธุ ขอบอกวาไดรับประโยชนจากตรงนี้มาก ทั้ง
ในเรื่องความรู ทักษะกระบวนการวิจัย ประสบการณ
การเรียนรูทั้งในหองปฏิบัติการและการศึกษานอก
สถานที่ รวมทั้งมวลประสบการณที่ไดจากการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากเพื่อนครูดวยกัน
เมื่อกลับมาสูโรงเรียนไดนําความรูที่ไดมา
บูรณาการเขากับการจัดการเรียนการสอน โดยจัดตั้ง
ชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาวกุดสะเทียนวิทย ขึ้น
สําหรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนนั้นไดใช
วิธีการเรียนรูที่เนนการสงเสริมใหเด็กทําโครงงานเพื่อ
ไดใชทักษะทางวิทยาศาสตร และจัดใหเด็กไดทดลอง
ในสนาม คือ สอนทั้งทฤษฎี ใหลงมือปฏิบัติ และ
พยายามใหเด็กนักเรียนสังเกตแลวแสดงความคิดเห็น
เปนการสรุปบทเรียนจากที่ไดลงมือปฏิบัติ ซึ่งใน
ชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาวกุดสะเทียนวิทยนี้ จะมี
ทั้งนักเรียนม.ตน คือ ม.1-ม.3 และนักเรียนชั้นม.ปลาย
คือ ม.5 โดยใหเด็กม.ตนรวมกลุมกันทําโครงงาน ม.1
เนนเรียนพื้นฐานวิธีการ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร และการคํานวณ สวนม.2 เรียนเรื่องการ
เขียนเคาโครงงานทางวิทยาศาสตร และการทดลอง
ยอยตาง ๆ เชน การทดลองสังเกตดิน หิน และแรธาตุ
ในหิน ที่พบในบริเวณรอบๆหมูบานของแตละคน
เพื่อศึกษาวาเปนหินอะไร และเกิดในยุคไหน เปนตน
และนักเรียนชั้นม.3 เปนการทําโครงงาน ซึ่งเราจะเนน
การใชภูมิปญญาทองถิ่นมาประยุกตใช เชน สียอมผา
จากเปลือกไมในธรรมชาติ ซึ่งโครงงานที่ใหเด็กทําจะ
เปนเหมือนกันทําวิจัยยอย เพราะตองเขียนบทที่ 1
ที่มาและเหตุผล บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ บทที่ 3
วิธีการทดลอง บทที่ 4 วิเคราะหขอมูล และบทที่ 5
สรุปผล ซึ่งวิธีการนี้เปนการฝกกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรใหเด็กนําไปใชในชีวิตประจําวันได เพราะ
มีการพิสูจนโดยมีหลักการ และเหตุผลดวยการทดลอง
วิเคราะหขอมูลวาเกิดอะไรขึ้นหรือเกิดขึ้นเพราะอะไร
แลวนําสิ่งที่คนพบเหลานั้นมาสรุปเปนผลการวิจัย ซึ่ง
การไดเรียนโดยใชวิธีการนี้จะทําใหเด็กเปนคนมีเหตุผล
มากขึ้น และสําหรับนักเรียนชั้น ม.5 นอกจากจะเด็กจะ
ทําโครงงานวิทยาศาสตรแลว ยังไดพานักเรียนทํา
โครงการหุนยนตขึ้น โดยสวนมากจะเปนเด็กที่สนใจ
ดานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร และแมคคาทอ
นิกสหรือการเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตร ซึ่งเด็กจะได
ฝกการคนควาขอมูลการเขียนโปรแกรมจากแหลงตาง
ๆ และลงมือประกอบหุนยนต โดยใชพื้นฐานความรู
ดานวิทยาศาสตรที่เรียนมาประสานกับโปรแกรมที่
เขียนขึ้นดวยตัวเอง
อยางไรก็ตามสิ่งที่ภาคภูมิใจคือ เด็กรูจักวิธี
คิด มีวิธีแกปญหาที่เหมาะสม มีความมั่นใจและมี
ความเชื่อมั่นในตัวเองสูงขึ้น เพราะในการทําโครงงาน
เด็กจะตองคิดและตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยีใหเปน
ประโยชนกับโครงงานอยางเหมาะสม ในระหวางที่ทํา
โครงงานเด็กก็ตองสื่อสารกับครูที่ปรึกษาใหเขาใจ และ
เมื่อโครงงานสําเร็จจะตองมีการนําเสนอโครงงาน คือ
เด็กตองสามารถทําใหบุคคลอื่น ๆ เขาใจในสิ่งที่ทําดวย
ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนคุณลักษณะที่พึงประสงคของคนไทย
ในอนาคต และของการเปนนักวิทยาศาสตรที่ดีของ
ชาติตอไป
ที่มา: http://kruvijai.wordpress.com/2010/10/13/jittra/
- 13 -
จัดแสดงซากดึกดําบรรพ
วุฒิศักดิ์ บุญแนน
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
E-mail: wutthisakcomplete@gmail.com
ศูนยครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว ป 2553
สวัสดีครับ ผมวุฒิศักดิ์ บุญแนน โรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไดเขารวมโครงการครุ
วิจัย ป 2553 ที่ศูนยวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว จังหวัด
กาฬสินธุ ความรูและประสบการณที่ไดรับจากการรวม
โครงการ
สิ่งแรกที่ไดนํามาใชคือ การจัดแสดง ตัวอยาง
หิน ตัวอยางไมกลายเปนหิน และตัวอยาง fossil ที่เก็บ
ตัวอยางมาจากการเขารวมโครงการ นํามาจัดแสดงที่
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรของโรงเรียน และใชเปนสื่อ
การสอน ในเรื่องของวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และสื่อ
การสอนเรื่องหิน แร ซึ่งเปนสิ่งสําคัญมาก เพราะ
นักเรียนสวนใหญไมรูจักวิธีการดูลักษณะของหิน ไม
รูจักการดูลักษณะ fossil ไมรูจักไมกลายเปนหิน
ประการที่สองการตอยอดความรู โดยการนํา
นักเรียนเขียนขอสนอโครงการยุววิจัยยางพารา เพื่อจะ
ไดนําเอาความรูระเบียบวิธีวิจัย มาใชฝกประสบการณ
การเรียนรูใหกับนักเรียนและประการที่สาม การตอยอด
กระบวนการ เรียนรู โดยนําเสนอโครงการ การสราง
นวัตกรรมการเรียนรู กับสํานักงานสงเสริมสังคมแหง
การเรียนรูและพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) เพื่อจัด
โครงการนักสืบเสาะธรณีวิทยาและซากดึกดําบรรพ
(Inquiry Geology and Fossil Project ) เพื่อนํา
นักเรียนฝกประสบการณการเรียนรู จากแหลงเรียนรู
และแหลงทรัพยากร ที่มีจํานวนมากในภูมิภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และฝกประสบการณการสืบ
เสาะหาความรู โดยใชทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร โดยมีครูและผูเชี่ยวชาญของศูนยวิจัยและ
การศึกษาบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
และผูเชี่ยวชาญของกรมทรัพยากรธรณี คือ ดร.วราวุธ
สุธีธร เปนที่ปรึกษาและเปนวิทยากรใหความรู และ
สรางสื่อสารคดีถายทอดไปยังกลุมเพื่อนๆ โรงเรียนอื่น
หรือจัดกิจกรรมถายทอดความรู ใหกับกลุมเพื่อนๆ
โรงเรียนอื่นตอไป
จากประสบการณที่ไดรับ มิไดเปนแคความรู
และประสบการณเทานั้น แตรวมถึงความสัมพันธอันดี
ระหวางครูกับหนวยงานศูนยพี่เลี้ยง รวมทั่งเพื่อนๆ ครู
โรงเรียนอื่น ที่จะประสานสัมพันธความรวมมือทางดาน
วิชาการ เพื่อจะพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติ พัฒนา
ผลงานทางวิชาการของครู สิ่งเหลานี้คือ ประโยชน
มากมาย ที่เกิดขึ้นจากโครงการครุวิจัย ของ สกว.
ดังนั้นถาจะพัฒนาการเรียนการสอนของ
ประเทศ พัฒนาความรูทางดานวิชาการของเยาวชน ที่
มีคาแนวโนมต่ําลงที่ผูใหญหลายๆ คนก็ทราบ ก็จะตอง
พัฒนากระบวนการ เรียนรูของครูและกระบวนการ
เรียนรูของเยาวชน ที่ไมยึดติดกรอบเฉพาะในโรงเรียน
หรือในหลักสูตรอยางเดียว ในความคิดของกระผม
รัฐบาลใชงบประมาณมหาศาล ในการทําหลายๆ
สิ่ง แตถาใชงบประมาณกับการพัฒนาการศึกษา คงทํา
ใหคนในชาติและเยาวชนของชาติไดประโยชน
ที่มา: http://kruvijai.wordpress.com/2010/08/17/wuttisak/
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627

More Related Content

Viewers also liked

E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
Wichai Likitponrak
 
รายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclipรายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclip
Wichai Likitponrak
 
Workshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-webWorkshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-web
Wichai Likitponrak
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
Mam Chongruk
 

Viewers also liked (20)

Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Worksheet genetics mendel
Worksheet genetics mendelWorksheet genetics mendel
Worksheet genetics mendel
 
Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5
 
Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6
 
Worksheet cell division
Worksheet cell divisionWorksheet cell division
Worksheet cell division
 
Workshop 4 critic-on-web
Workshop 4 critic-on-webWorkshop 4 critic-on-web
Workshop 4 critic-on-web
 
E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
E0b89ae0b8a3e0b8a3e0b8a2e0b8b2e0b8a2 e0b89be0b8a8
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
Worksheet human kidney
Worksheet human kidneyWorksheet human kidney
Worksheet human kidney
 
Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6
 
Lesson procedure biology4
Lesson procedure biology4Lesson procedure biology4
Lesson procedure biology4
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
Asean curriculum source_book
Asean curriculum source_bookAsean curriculum source_book
Asean curriculum source_book
 
รายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclipรายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclip
 
Workshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-webWorkshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-web
 
Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 

Similar to 2013 07-28 12-22-07-0.779627

ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
Nicha Nichakorn
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
nang_phy29
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
Thakhantha
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
Benjarat Meechalat
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
Darika Roopdee
 

Similar to 2013 07-28 12-22-07-0.779627 (20)

V 302
V 302V 302
V 302
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
CuEduKruCamp
CuEduKruCampCuEduKruCamp
CuEduKruCamp
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
Profile pimpa
Profile pimpaProfile pimpa
Profile pimpa
 
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
libary
libarylibary
libary
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
2557-6
2557-62557-6
2557-6
 
บทท 8
บทท  8บทท  8
บทท 8
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

2013 07-28 12-22-07-0.779627

  • 1.
  • 2. ครูวิจัย..ผูสรางการเรียนรู โครงการครุวิจัย สกว. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท/โทรสาร : 074-287207, 074-446523 H/P : 081-5402587, 081-5412578 Website : http://kruvijai.wordpress.com E-mail : kruvijai.trf@gmail.com
  • 3. ชื่อหนังสือ : ครูวิจัย...ครูผูสรางการเรียนรู ผูเขียน : ไพโรจน คีรีรัตน ขวัญฤทัย วงษสวัสดิ์ สวรรยา พรวิบูลภาค นราพร อาษาพันธ พิมพครั้งแรก : ตุลาคม 2553 ผูพิมพ : โครงการครุวิจัย สกว. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 E-mail : kruvijai.trf@gmail.com Homepage : http://kruvijai.wordpress.com Tel/Fax : 074-446523, 074-287207 Mobile : 081-541278, 081-5402587
  • 4. คํานํา โครงการครุวิจัย สกว. - การเรียนดวยกระบวนการวิจัย 1 - ศูนยพี่เลี้ยง 6 ศูนย 2 - ผลการสังเคราะหโครงการครุวิจัยป 2553 4 - การศึกษาผลการรวมโครงการครุวิจัย ป 2553 7 เรื่องเลาประสบการณจัดการเรียนรู ไดประสบการณตั้งชุมนุมอนุรักษ จัดคายแกนนํา และเครือขายครู... จักรายุทธ พลทะสอน 11 จัดตั้งชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาว... จิตรา สอนพงษ 12 จัดแสดงซากดึกดําบรรพ... วุฒิศักดิ์ บุญแนน 13 พบกระบวนการเรียนรูสําหรับนักเรียน... อมฤทธิ์ พิณพาทย 14 เปนวิทยากรธรณีวิทยา... กาญจนา โปะประนม 15 สอนนักเรียนสรางสรรคจิตนาการ... นรินทร ผิวทอง 16 จัดทัศนศึกษาแหลงเรียนรู... ณรงคฤทธิ์ ประเสริฐสุข 16 สอนซากดึกดําบรรพในชีววิทยาเรื่องวิวัฒนาการ... เจษฎา นาจันทอง 17 ดอกไมไรคา…แตสรางการเรียนรูอยางมหันต... อรนุช เสียงดัง 18 ทําโครงงานวิทยาศาสตร... อรัญญา หมอกไชย 18 ซึมซับการวิจัยปรับเปลี่ยนวิธีสอน... สมจิต ผอมเซง 19 ไดวิธีสืบเสาะความรู ถายทอดใหลูกศิษย... นิกร สีกวนชา 20 กอตั้งชมรมอัจฉริยะภาพทางวิทยาศาสตร... สาโรจน ทองนาค 21 วิจัยในชั้นเรียน... ฐิติสิทธิ นิลโสม 22 ตั้งพิพิธภัณฑ ดิน หิน แร ในหองเรียน... ยุพิน ขันธวิชัย 23 นํานักเรียนออกนอกหองเรียน... มินตรา มีสงา 24 ชุมนุมนักสืบ และนักวิจัยนอย... รุงทิพย สุกใส 25 สื่อการสอน: ฟอสซิลและหิน... ทวีทรัพย โพธิสมภาร 26 ชมรมวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม... กมลรัตน วงศรักษา 27 เรื่องเลาของครูเปยก... กิตติชัย บุษราคัม 28 สอนวิทยาศาสตรแบบเชื่อมโยงความสัมพันธของธรรมชาติรอบตัว ... นวลจันทร มัครินทร 29 สารบัญ เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว จ.กาฬสินธุ กรมทรัพยากรธรณี เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยสิ่งแวดลอมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน
  • 5. ไดขุมพลังแหงรู สรางสรรคความงามผานกิจกรรมโรงเรียน... คนึงนิจ ณ นาน 30 ใชการทําโยเกิรตเปนโครงงาน... ศิรประภา สุรชน 31 ไดใชเทคนิครวมทํากับลูกศิษย... จตุรงค กมลเลิศ 32 การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ... ผอ.ชูศรี กาญจนวงศ 34 ตั้งชุมนุมพฤกษศาสตร ... นภาภรณ สมสะอาด 36 เปลี่ยนทรรศนะของครูและนักเรียน ... บังออน จุลพล 37 ฝกทําวิจัยชวยสรางการเปลี่ยนแปลงในวิธีการสอน ... ปยรัตน พิมพสวัสดิ์ 38 สอนโครงงานและอนุรักษสิ่งแวดลอม... พรทิพย รินไธสง 39 จุดประกายความคิดในการทําโครงงาน... พัชนุช แสนกัน 40 มุมมองที่เปลี่ยนไปกับการนําวิจัยมาใชในการเรียน... เมธาวี สายสิน 41 ไดประยุกตใชการเรียนการสอน และประเมินเด็กได... วราพร โยธาภักดี 42 สอนนักเรียนทําโครงงาน... สุคนธ จารุสาร 43 พัฒนาการสอนสิ่งแวดลอม... จรูญลักษณ แสนพิสาน 47 นํานักเรียนไปศึกษานอกหองเรียน... อรทัย นิติพงษอนุพร 48 เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล เกาะสีชัง จ.ชลบุรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากครุวิจัยสีชังมาสู รร.ประโคนชัยพิทยาคม จ.บุรีรัมย... นิพนธ ประทุมวงค 49 สอนกลุมสาระภาษาตางประเทศดวยกระบวนการวิจัย... ณาตยา อุทยารัตน 50 โครงงานวิจัยเชิงบูรณาการ... เบญจนา กลอมแกว 50 เรื่องเลาประสบการณสูการปฏิบัติจากโครงการ ครุวิจัย’ 53... วัชรินทร จันทิมา 51 เรื่องเลาจากโครงการ ครุวิจัย’ 53 สูการปฏิบัติ... จันทนา สุปนะ 52 เลาประสบการณการนําทักษะกระบวนการวิจัยไปใชในหองเรียน... ธีระรัตน อุบลรัตน 53 จากการเรียนรูวิทยาศาสตรทางทะเลสูหองเรียน... ปยา รพีธรรม 54 สื่อและนวัตกรรม... สุภาพร หินนอย 55 ทําตูอบแหงไดเอง... กฤตินันท สอวิหค 57 ไดกระบวนการคิด... กิตติชัย ปญญารมย 57 กระบวนการฝกการคิดที่เปนระบบ... ธีรวัฒน บุรวิศิษฐ 58 เปลี่ยนมุมมองของ...การจัดการเรียนรู... นิตยา อุดทาคํา 59 สรางชุมนุมยุววิจัย... ไพศาล วงคกระโซ 60 พลัง(งาน) มิเคยสูญหาย: จัดการเรียนรูแบบสงเสริมการทํางานเปนกลุม... ฟูซียะห เจะกา 61 กระตุนนักเรียนทําโครงงาน... รัชนีกร นําชัย 62 สื่อการสอนเตาแกสชีวมวล... รุงคราญ วิริยัง 63 ไดกระบวนการสอนทําโครงงาน... วรรณกร กุลศรี 64 เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.สงขลา
  • 6. ประดิษฐเครื่องอบแหงสอนนักเรียน... สมาแอ กาเซ็ง 65 ไดแนวทางพัฒนาและอุทิศตน... สลิลลา ชาญเชี่ยว 66 เรียนรูพลังงานลม... สุภาภรณ เสารสิงห 67 รูจักตั้งคําถามและสอนวิเคราะหขอมูล... อัจฉรียา นารีวงศ 68 การเรียนการสอนบนหลักการวิจัยไดสรางจิตสํานึกใหม... ภัชรินทร เลิศบุรุษ 69 ไดปุยหมักแทนกาซชีวภาพ และครูในโรงเรียนเปลี่ยนไป... อําไพ กลับทับลังค 70 ฝกลูกศิษย ... สิรภพ กาฬสุวรรณ 71 มุมมองเปดกวางและรูจักตัวเอง... รณภบ สําเภาทอง 72 ไดเรียนวิจัย: ไดประสบการณแปลกใหม... ยุทธศาสตร ฮาดดา 73 สื่อการสอนเรื่องไบโอแกส... จรูญ อินเอก 74 ประยุกตใชสอนเรื่องเซลล... สุนันทา สุวรรณะ 75 สอนแบบผูเรียนสรางความรูไดดวยตนเอง... ดวงแข เพชรเรือนทอง 76 พาครูสอนแบบโครงงาน... เฉลิม ปานมา 77 ใหนักเรียนทํากาซชีวภาพจากเศษอาหารกลางวัน... ธีระพันธ จุลแกว 78 ใชสอนและฝกกระบวนการ... ไพบูรณ วิมลรัตน 79 ผสานกาซชีวมวลกับหนวยการเรียนรูความรอนและของไหล... สุริยะพร นาชัยเงิน 80 เรื่องเลา...หลังกลับสูโรงเรียน... นพกนก รองรัตน 80 จากประสบการณวิจัยสูการเรียนรูแบบโครงงาน... อนุจิตร จันทรศรี 81 สอนเด็กประถมทําโครงงาน... ศิริขวัญ จันทรมณี 82 จากแดนใตสูเวทีความรูที่ราบสูง... ไสว ทองอินทร 83 ไดเทคนิคจัดกิจกรรมการสอน... ซูเฟยน ยูโซะ 85 หาคําตอบจากคําถาม ทําไม... ศักดิ์ระพี ทองหนูนุย 86 เลาใหเพื่อนครูฟง... สาโรจน สังขทอง 87 ความรูจากฝกทําวิจัย.....ถายทอดสูเด็ก... ถาวร หนูสุข 88 การเรียนวิทยาศาสตรไมใชการเรียนจากหนังสือ... ยงจิตร ศิลาพิมพ 89 การใชปญหาเปนฐานแหงการเรียนรู... พุทธพงษ พงษพวงเพชร 90 การพัฒนาการคิดสูการพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร... สุทิน ฝาย 91 การขึ้นรูปเครื่องแกงคั่วกลิ้ง... วารุณี ธรรมขันธ 91 บูรณาการความรูที่ไดกับอาหาร... สุธีปกา หมื่นชนะ 92 ไดรูกระบวนการและสนับสนุนลูกศิษยทําโครงงาน... ศิริพร สุคนธ 93 ครูกับการเรียนรู... ยุพาพรรณ วรรณสาย 94 ประสบการณสูงานวิจัยในโรงเรียน... รัชนี มุงวัฒนกุล 95 ฝกทําวิจัย นําไปใชกับการสอนคณิตศาสตร... พิรุณพร อินถา 96 เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.สงขลา
  • 7. เครื่องแกงสมภาคใต…เปนถั่วเหลืองแมฮองสอน... นฤนาท วัฒนวงษ 97 บทความประสบการณครุวิจัย... วรลักษณาวลัย ยงสืบชาติ 98 จากการฝกสูการปฏิบัติจริง... อุษณี ขุนจันทร 99 สิ่งที่เรียนรูจาก มอ. กับการรอ ของเด็กดอย... บรรเจิด ถาบุญเรือง 100 "ความรูจากหอขนม"... ณัฐพงศ มนตออน 103 สิ่งที่ไดนําความรู ประสบการณที่ไดรับจากโครงการฯ ไปใช... สุธารัตน อนุกูลประเสริฐ 103 ชุมนุมรูรักษบึงโขงหลง... สุทธิรัตน ศรีสงคราม 104 ตัวแทนศูนยฯ ไปแขงขั้นในระดับเขตการศึกษา... สุมาลี สังเกิด 105 การนําความรูจากการอบรมครุวิจัย กลับไปใชในโรงเรียน... เกศินี อินถา 105 ความรูจากการอบรม...สูการใชงาน... วีระศักดิ์ วัฒนราช 106 หลังจากไดเขารวมโครงการครุวิจัย... จรัสพงษ มูลใจ 108 การเปดโลกกวางดวยโครงงานกับนักเรียนในชนบท... เกษมศักดิ์ ดอกผึ้ง 109 ประสบการณที่กลับมาจากอบรม “ครุวิจัย53”... ชัยเรือง ไชยคลัง 109 ลอมวง(เลา)...ชาว “We Kru 2” ... อรุณนภา คําแอ 110 การทดลองใชประสบการณการวิจัย... จรรยา ศักดิ์ดา 111 จุดสิ้นสุด…ของการเริ่มตน: สอนโครงงานวิทยาศาสตร... กอบวิทย พิริยะวัฒน 112 ครู..โครงการครุวิจัย สกว. รายชื่อครูฝกอบรมครุวิจัย สกว. ป 2549 - ป 2553 115 เรื่องเลา ศูนยครุวิจัยนวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยา เขตพระราชวังสนามจันทร จ.นครปฐม
  • 9. - 1 - 1. การเรียนดวยกระบวนการวิจัย การวิจัย เปนกระบวนการที่เริ่มดวยคําถามหรือปญหาที่สงสัย จึงกระตุนใหอยากรู ดวยการ ออกแบบ (คนควา เสาะหา และทดลอง) เพื่อใหไดขอมูลและหลักฐาน ที่เพียงพอสําหรับการทําความ เขาใจ ที่จะสรุปเปนความรู ผูทําวิจัยรูยังไมพอ ตองทําใหผูอื่นรูดวย เพื่อชวยตรวจสอบความถูกตอง โครงการครุวิจัย เปนโครงการสนับสนุนทุนฝกทําวิจัยอยางเขมขน 1 เดือนเต็ม ที่ศูนยพี่เลี้ยง ซึ่ง มี 6 ศูนย โครงการนี้มีวัตถุประสงคสนับสนุนครูทุกระดับ ทุกสาระ ไปเรียนความรูวิทยาศาสตร ซึ่งความรู ที่เรียนสวนใหญไมมีในตําราสอนที่โรงเรียน แตเปนความรูทีพี่เลี้ยงคัดเลือกและกลั่นกรอง เอามาสอนครู ดวยกระบวนการสอนที่เรียกวา การวิจัย ครูที่สมัครเขารวมโครงการ จะฝกเขียนขอเสนอโครงการ เพื่อบอกเลาวาตัวเองมีความสนใจเรื่อง อะไร เรื่องนั้นมีความสําคัญอยางไร คาดวาจะทําอะไรบางในชวง1 เดือนที่ฝกวิจัย และจะนําความรูที่ได ไปใชประโยชนอะไรบาง โครงการครุวิจัยใชขอเสนอโครงการดังกลาว ในการคัดเลือกครูที่มีสมบัติเหมาะสม ใหแกศูนยพี่ เลี้ยงตาง ๆ การใหครูเขียนขอเสนอโครงการ เปนพัฒนาครูในขั้นแรก ครูเหลานี้จะมีเปาหมายชัดเจน ในการฝกทําวิจัย 1 เดือน ศูนยพี่เลี้ยงแตละศูนยจะจัดการสอนแตกตางกันบาง ตามบริบทของ ศาสตรแตละแขนง แตก็มีขั้นตอนเหมือนกัน คือ สอนความรูพื้นฐาน สอนทักษะการใชเครื่องมืออุปกรณ สอนการแกไขปรับปรุงขอเสนอโครงการ ซึ่งทําใหครูไดเรียนรูจุดออนของตัวเอง สอนการเก็บขอมูล ฝก นําเสนอรายงานความกาวหนา 2-3 ครั้ง ฝกการเขียนรายงานวิจัย เขียนบทความวิจัย ทําโปสเตอร และเขียนเลาประสบการณ บางศูนยฝกทําสื่อการสอนดวย หากพิจารณาใหดี จะเห็นวาครูไดรับการฝกทําวิจัยครบทุกขั้นตอน อาจจะดีกวาโครงงาน นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่สําคัญไดเกิดการแลกเปลี่ยนความเห็นกับพี่เลี้ยง 2-3 อาทิตย ในระหวาง วิเคราะหและสังเคราะหขอมูล ความเขมขนและมีครบทุกขั้นตอน ทําใหครูไดความรูอยางแทจริงภายใน ระยะเวลาอันสั้น ซึ่งไมมีการอบรมที่ไหนทําไดอยางนี้ การเขารวมโครงการนี้ ครูไดความรูมากมาย ไมเฉพาะเพียงเรื่องเดียวที่ตนทํา แตไดเรียนรูงาน ของครูคนอื่นในศูนยเดียวกัน และไดเห็นผลงานวิจัยของครูทุกศูนย ที่ครูสามารถเลือกนํากลับไปใชที่ โรงเรียน นอกจากนี้ในแตละป ศูนยพี่เลี้ยงตาง ๆ ก็ไดพัฒนาการสอนเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ใหแกกระบวนการ อีกไมนานคงจะไดนวัตกรรม “การจัดการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย” ในยุคของ “ความรู” สําคัญกวา “แรงกาย” มวลความรูที่เพิ่มขึ้นเปนสองเทาทุก ๆ 3-4 ป หากจะ เรียนรูใหทัน จําเปนตองพัฒนาศักยภาพการเรียนรูใหม ทดแทนการเรียนแบบเดิม ซึ่งไดผลชาและไมรู จริง อาจเปน “การเรียน” คูกับ “การทําวิจัย” ซึ่งไดถูกทดลองแลวในโครงการครุวิจัย พบวา มี ประสิทธิภาพสูง ทําใหครูที่ไมมีความรู สามารถเรียน เขาใจ และทําเปน ในเรื่องใหม ภายในชวงเวลาสั้น ๆ 1 เดือน วิธีนี้ทําใหครูสามารถคนควาและสรางความรูไดดวยตนเอง ครูเรียนไดมาก ไดทั้งความรูใหมและวิธีการสอน บางคนอาจไดชุดทดลอง ที่จะนําไปใหนักเรียน ทําการทดลองตอไดที่โรงเรียน การฝกทําวิจัยแบบนี้ครูไดรับความรูที่ชัดและใชเปน
  • 10. - 2 - 2. ศูนยพี่เลี้ยง 6 ศูนย 2.1. ครุวิจัยไดโนเสาร ศูนยวิจัยไดโนเสาร ภูกุมขาว จ.กาฬสินธุ มีความแตกตางจากศูนยวิจัยอื่นๆ เนื่องจากเปน ศูนยวิจัยที่ไมไดอยูในสถาบันการศึกษาหรือมหาวิทยาลัย การวิจัยจึงสอนบนพื้นฐานการลงมือปฏิบัติ (ทํา)ใหเห็นจริงของนักวิจัยพี่เลี้ยง และนําครูลงมือปฏิบัติจริง ทําการทดลอง เก็บขอมูลตัวอยางจริง หาก มีขอผิดพลาดก็จะแกไขไปตามสถานการณเฉพาะหนา เชน การปรับแกขอเสนอโครงการของครู ที่ไดรับ คัดเลือกเขารวมฝกทําวิจัยที่ศูนยวิจัยไดโนเสาร โดยเริ่มจากการปรับพื้นฐานความรูของครูทุกคน ใหมี ความเขาใจในเรื่องธรณีวิทยาและบรรพชีวินวิทยาเสียกอน จากนั้นจึงพาครูไปลงพื้นที่เพื่อไปเห็นของจริง แลวกลับมาปรับแกขอเสนอโครงการของตัวเอง ใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน กับความมุงหมายของ ศูนยวิจัย การสอนของศูนยวิจัยไดโนเสาร ไมไดมุงเนนหาคําตอบของสิ่งมีชีวิตใหมๆ หรือทฤษฎีใหมๆ แต เปนการบูรณาการระหวาง “กระบวนการวิจัย” กับ “กระบวนการจัดการเรียนรู” เขาดวยกัน รวมทั้ง เชื่อมโยงสิ่งที่มีอยูในทองถิ่น หรือรอบๆ โรงเรียน เขามาเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรูดวย หลังเสร็จสิ้นการอบรม ครูจะไดทั้งเนื้อหาสาระ กระบวนการ และประสบการณทํางานจริงที่หนา งาน ซึ่งความรูเหลานี้สามารถถายทอดไปสูนักเรียนได 2.2. ศูนยครุวิจัยสิ่งแวดลอม ศูนยนี้อยูคณะวิทยาศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยขอนแกน เริ่มกระบวนการสอน ตั้งแตการทบทวนทฤษฎีและหลักการดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม การสํารวจพื้นที่เก็บตัวอยาง การฝก ใชเครื่องมือและอุปกรณๆ การเก็บขอมูลภาคสนาม การบรรยายหลักการวิเคราะหขอมูลเพื่อเขียน รายงานวิจัย วัตถุประสงคของศูนยพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาศักยภาพครูดวยกระบวนการวิจัยจากประสบการณนอก หองเรียน เพิ่มความรูความเขาใจในการหลักการทางวิยาศาสตรใหเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต พัฒนาใหครูเกิด ทักษะการปรับปรุงแผนการสอนโดยใชการวิจัย และที่สําคัญคือ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ของครูที่สามารถสรางแรงบันดาลใจในการเรียนรูของนักเรียนได ศูนยพี่เลี้ยงจึงจัดรูปแบบเหมือน โรงเรียน โดยมีผูอํานวยการศูนยเปรียบเสมือนผูอํานวยการโรงเรียน พี่เลี้ยงเปรียบเสมือนครู และครู เปรียบเสมือนนักเรียน การสอนครูดวยกระบวนการแบบนี้ จะทําใหครูไดเรียนรูวา จะไปประยุกตใชกับ นักเรียนที่โรงเรียนของตนเองอยางไร 2.3. ศูนยครุวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล สีชัง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีกระบวนการสอนเริ่มตั้งแตการ คัดเลือกขอเสนอโครงการโดยมีเกณฑในการคัดเลือกดังนี้ คือ เปนงานที่ตรงตามความเชี่ยวชาญของ ศูนย, เปนงานที่ครูไดเรียนรูและใชสอนในระดับโรงเรียนได, เปนงานที่ตองมีภาคปฏิบัติ/ทดลอง ซึ่งเปน กิจกรรมที่ไปเปนการทดลองของนักเรียนได, เปนการศึกษาในพื้นที่ของศูนย แตสามารถประยุกตตอใน
  • 11. - 3 - พื้นที่ของตนเองได, งานตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการครุวิจัย สกว., สามารถดําเนินการ ไดภายใน 1 เดือน จากนั้นศูนยพี่เลี้ยงจะทําการแยกขอเสนอโครงการของครูออกเปนกลุมยอย จัดหานักวิจัยประจํา กลุมคอยเปนพี่เลี้ยงใหครูในการปรับแกขอเสนอโครงการ หาขอมูลทําวิจัย แลกเปลี่ยนความรูกับครู ตลอด จนการทํากิจกรรมวิจัยเสร็จสิ้น ซึ่งกิจกรรมวิจัยของศูนยวิทยาศาสตรทางทะเลแบงเปน 4 ชวง หลัก คือ 1.การบรรยายกอนทําวิจัย เพื่อใหความรูดานวิทยาศาสตรทางทะเลแกครู รวมทั้งความรูเกี่ยวกับ งาน เฉพาะแตละกลุมยอยเพื่อใชในภาคปฏิบัติ 2.กิจกรรมการสาธิตการปฏิบัติงานภาคสนามทดลองฝกปฏิบัติงานวิจัย เพื่อเพิ่มทักษะการฝก ปฏิบัติ/ความมั่นใจในการใชเครื่องมือตางในการทํางานวิจัย 3.การแบกทํางานวิจัยตามความสนใจของครู (เก็บตัวอยางภาคสนามและทําวิจัยใน หองปฏิบัติการ) 4.การเขียนรายงานและนําเสนอผลงานวิจัย 2.4. ศูนยครุวิจัยพลังงาน ศู น ย ค รุ วิ จั ย พ ลั ง ง า น ดํ า เ นิ น ก า ร โ ด ย ส ถ า น วิ จั ย เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หาดใหญ ในชวง 2 สัปดาหแรกการสอนเนนไปที่การเรียนรูวิธีวิจัย เครื่องมือวัด ความรูพื้นฐาน ทฤษฎีเฉพาะสําหรับการทําวิจัย จากพี่เลี้ยงกลุม และเสริมดวยการเรียนรู จากแหลงเรียนรูภายในพื้นที่ โดยการพาครูไปเรียนรูวิถีชีวิตชาวบานในลุมทะเลสาบสงขลา เรียนรูการ วิจัยโดยชาวบานเพื่อปกปองรักษาทรัพยากรธรรมชาติใน อ.ละงู จ.สตูล หลังจากนั้น ในสองสัปดาหสุดทาย จะเขาสูชวงการลงมือฝกทําวิจัยของครู ศูนยพี่เลี้ยงไดจัดการ ติดตามการทํางานของครูเปนระยะๆ โดยการเสนอรายงานความกาวหนาทุกสัปดาห ซึ่งทั้งสิ้น 3 ครั้ง ซึ่ง แจงใหทราบลวงหนาในคูมือของศูนยพี่เลี้ยง ทั้งนี้ไดจัดพี่เลี้ยงประจํากลุม ใหการดูแลและใหคําแนะนําครู อยางใกลชิด ครูที่มาฝกทําวิจัยที่ศูนยพลังงาน จะไดทั้งความรูทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ รูจักวางแผนการทํางาน ออกแบบชุดทดลอง มีวินัย เรียนรูสังคมพหุวัฒนธรรม และไดฝกการเขียนงานวิชาการ อยางเขมขน ตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็ม 2.5. ศูนยครุวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร ศูนยอุตสาหกรรมเกษตร อยูที่คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หาดใหญ สอนการวิจัยโดยใหครูเริ่มตนจากการสังเกตและตั้งคําถามวา ทําไม” เพื่อคนหาปญหาที่ แทจริง ฝกใหครูมองปญหาจากสิ่งที่อยูรอบตัวๆ แลวนํามาคนหาคําตอบดวยการวิจัย มีพี่เลี้ยงประจํา กลุมคอยใหคําปรึกษา และมีการจัดเวทีเล็กๆ ทุก 2 วัน เนนการใหพี่เลี้ยงและครูไดรวมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู และระดมความคิดเห็นกัน เพื่อสามารถแกไขขอผิดพลาดตางๆ ไดอยางรวดเร็ว เชน ผลการ
  • 12. - 4 - ทดลองของครูบางกลุม ไมไดผลตามแผนที่วางไว ก็เอาเขาที่ประชุมระดมความคิดกันวา ควรทําอยางไร เปนตน ศูนยพี่เลี้ยงเนนการฝกครูใหเปนผูรูจักสังเกต คิด วิเคราะห อันเปนพื้นฐานใหเกิดการเรียนรูดวย ตัวเอง ครูสามารถนําไปบูรณาการกับการเรียนการสอนที่โรงเรียนได 2.6. ศูนยครุวิจัยนวัตกรรม และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร ศูนยนี้ตั้งอยูมหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม มีความมุงเนนที่กระบวนการคิดของครู ซึ่งเปน กระบวนการแรกที่สําคัญ ในการชวยใหครูไมไปยึดติดกับองคความรูที่มีอยู เพราะจะทําใหคุณครูสนใจ แตเพียง "วิธีทํา" แตไมไดสนใจ "วิธีการ" หรือกระบวนการของการวิจัยที่แทจริง ดังนั้นรูปแบบการจัดการของศูนยนี้ มีพี่เลี้ยงแตละคนรับผิดชอบกลุมยอย และมุงเนนไปที่ กิจกรรมที่ "โดน" และใหคุณครูเห็นวา "นาสนุก" ที่จะทํา โดยมีพี่เลี้ยงคอยดูแลครูในแตละกลุมยอย พี่ เลี้ยงจะตองทําใหครูเห็นความสําคัญของ "ทักษะการแสวงหาความรู” โดยทําใหครูเห็นวา ตัวพี่เลี้ยง เองก็ไมรูในบางเรื่องเชนกัน จากนั้นจึงแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันกับคุณครูในกลุม วาจะทําอยางไรถึงจะรู ได รวมกับครูในการแสวงหาขอมูลหรือความรู สําหรับนํามาใชเปนเครื่องมือ ในการชวยตอบคําถามกับ ขอสงสัย ที่เกิดขึ้นในระหวางกระบวนการทําวิจัย ทั้งนี้ดวยกระบวนการจัดการดังกลาวทั้งหมดนี้ ทางทีมพี่เลี้ยงทุกคนไดอธิบายใหครูทุกคน ได เห็นวาแทจริงแลวกระบวนการที่เกิดขึ้นในแตละกลุมนั้นยอมแตกตางกัน ซึ่งความแตกตางกันของวิธีการ (กระบวนการคิด) นี้ยอมสามารถสรางสิ่งใหมขึ้นมาไดเสมอ และเรียกกระบวนการเหลานี้วา "นวัตกรรม" 3. ผลการสังเคราะหโครงการครุวิจัยป 2553 โครงการครุวิจัยนี้ คาดหวังวา ครูที่ผานการฝกทําวิจัย 1 เดือนเต็ม คงจะสามารถนําศาสตรดาน การสอนที่ตนชํานาญ มายกระดับหรือปรับแตงความรูที่ไดจาการเรียนครั้งนี้ เพื่อนําไปใชอยางเหมาะสม กับการใชสอนในหองเรียน จากเวทีประชุมนําเสนอผลงานครุวิจัยประจําป 2553 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 ไดคําแนะนํา จากผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ดังนี้ ดร.เลขา ปยะอัจฉริยะ ไดใหขอคิดวา หนาที่ของการจัดการการศึกษา ไมใชหนาที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ เพียงอยางเดียว การที่ สกว. และศูนยวิจัย หรือมหาวิทยาลัย เขามามีสวนรวมใน การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน นับไดวาเปนการเปดมิติใหม ในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับ ลูกหลานเรา โดยกระทรวงศึกษาธิการตองมีหนาที่โดยตรงในการสืบสานนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ซึ่งถือเปนนวัตกรรมของการพัฒนาครูอีกรูปแบบหนึ่ง เมื่อมหาวิทยาลัยที่เนนใหการศึกษา การบริการ ทางวิชาการตอสังคม ไดลงมาเชื่อมโยงระหวางการอุดมศึกษาตอการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 13. - 5 - กระบวนการฝกทําวิจัยที่ผานมาหนึ่งเดือน เปนกระบวนการที่ครูพยายามพัฒนาตนเอง โดยมีพี่ เลี้ยงคอยใหการกระจาง กระตุน และคอยชี้แนะแตไมชี้นํา ใหไปตัดสินใจในการพัฒนาตนเอง ได ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วิธีคิดและพฤติกรรม ที่เห็นชัด คือ พฤติกรรมการออกแบบการจัดการเรียนการ สอน โดยเฉพาะในวิชาที่เราสอบตกทั่วประเทศ คือ วิชาที่เนนใหรูจักคิดอยางมีเหตุผล คิดเปนระบบ นั่น คือวิชาวิทยาศาสตร เพราะวิชาวิทยาศาสตรไมไดสําคัญที่เนื้อหา แตอยูที่หนาที่ของครู ไมวาจะสอนวิชา อะไร หนาที่ของทาน ตองสรางแรงบัลดาลใจ ใหลูกศิษยเกิดความตองการที่จะเรียนรู เพราะฉะนั้นถาจะ สรางแรงบัลดาลใจ ตองใหรักที่จะคิดอยางมีเหตุผล คิดเปนระบบ แลววิชาที่สอนตรงในประเด็นนี้คือวิชา วิทยาศาสตร แตวิชาสังคม ภาษาไทย และอื่นๆ ตองอาศัยการคิดที่เปนระบบเหมือนกัน นอกจากครูจะไดพัฒนาตนเองฝกฝนจิตใจ แลวปรับพฤติกรรมเพื่อใหเอื้อตอการเรียนรูอยางมี ความสุข สิ่งที่ไดจากการฝกอบรมของครูในหนึ่งเดือน มีความเห็นวา การวิจัย การเรียนรู และการสอน คือเรื่องเดียวกัน เพราะการวิจัยคือเครื่องมือการเรียนรู และเชื่อมโยงไปสูการสอน การเรียนที่ไมเครียด ซึ่งตองขจัด 2 อยางออกไป คือ ความเครียด และความกลัว เพื่อใหผูเรียนเกิดความสุขและสนุกในการ เรียน รศ.สุชาตา ชินะจิตร ไดกลาววาเราคาดหวังวา อยากเห็นเด็กทําอะไรบาง แตเราไมเคยทํากับ ครู ทําใหเกิดคําถามวา การพัฒนาครูจะทําอยางไร โครงการครุวิจัยไดใชกระบวนการวิจัยเปน เครื่องมือ เปนสวนที่ทําใหเกิดการเรียนรูไดดวยการลงมือทํา เปนพื้นที่ใหผูเรียนเปนศูนยกลาง สิ่งที่โครงการครุวิจัยทําคือ การเขาถึงกระบวนการและเขาถึงบทบาทของตัวเอง เราเห็นการ เรียนรูของทุกคนที่เขามาเกี่ยวของ ครู พี่เลี้ยง มหาวิทยาลัย ผูจัดการ และ สกว. เอง ก็ไดเรียนรูไป ดวยกัน การแลกเปลี่ยนบทบาทของพี่เลี้ยง พี้เลี้ยงในที่นี้ คือ คุณครูนั่นเอง เพราะเมื่อครูกลับไปก็จะไป ทําหนาที่คลายๆ พี่เลี้ยงใหกับนักเรียน มีทาทีเหมือนกับพี่เลี้ยง คือ สรางความสุข สรางแรงบัลดาลใจให เกิดการเรียนรู การเรียนรูที่ตางระดับ ตางประสบการณ ซึ่งมีคุณคามาก สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นไมไดถาเปนการอบรม แบบสื่อการเรียนทั่วไป วิทยากรก็ไมไดเรียนรูเพราะรูอะไร มาก็พูดไปอยางนั้น แตที่ศูนยพี่เลี้ยงครูมา เรียนรูเพื่อจะเปนผูชวยพี่เลี้ยง พี่เลี้ยงไดเรียนรูครูในหลายๆ ดาน มีกระบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นดวย การแลกเปลี่ยนกัน เปนความรูสึกที่ดีตอกัน เอื้ออาทรตอกัน รูจักวาคนเปนอยางไร จัดการอยางไรที่จะ บรรลุเปาหมายรวมกัน อยูรวมกันอยางไรอยางจึงจะมีความสุข ชวยสงเสริมจุดแข็งซึ่งกันและกัน เกิดเปน Social network ซึ่งสามารถที่จะแชรความรูดวยกัน เปนองคความรูที่เขมแข็ง รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ ไดกลาวสรุปวา ครูมีโอกาสที่จะพัฒนากระบวนการ มากกวาที่ ครูเขาใจ ขณะนี้ครูจํานวนหนึ่งยังเขาใจกระบวนการวิจัย วาเปนวิธีการวิจัย ซึ่งความเขาใจกระบวนการ จริงๆ แลว เราจะเขาใจระบบตั้งคําถาม ระบบคิด ระบบเก็บขอมูล การออกแบบ ระบบวิเคราะห ระบบ เชื่อมโยงไปสูการแกปญหาและไปสูปญญา
  • 14. - 6 - กระบวนการวิจัยนี้นําใหเกิด การคิดแบบตรรกะ ซึ่งก็คือ วัฒนธรรมของความเชื่อในเหตุและผล วัฒนธรรมของความเปนวิทยาศาสตร การวิจัยขอมูลการเกิดปรากฏการณตางๆ มันเชื่อมโยงใหเราเขา ใจความเปนเหตุและผล ปจจุบันนี้สังคมไทยมีวัฒนธรรมความเปนเหตุและผลต่ํามาก ทําใหวัฒนธรรมที่มีกลายเปน วัฒนธรรมที่ตองพึ่งพาคนอื่น วัฒนธรรมอํานาจจึงเกิดขึ้น การพัฒนาสังคมจึงไปไมรอด เพราะฉะนั้นเรา ตองสรางวัฒนธรรมใหมขึ้นมา คือวัฒนธรรมที่เปนเหตุเปนผล คือ กระบวนการวิจัย อีกสิ่งหนึ่งที่ครูจะได คือความสามารถเขาใจสรรพสิ่งในภาพรวม เชนคุณครูที่ไปศูนยไดโนเสาร จะเขาใจในสวนนี้ เขาใจวิวัฒนาการโลกในหลายหมื่นลานป ไดเห็นในสิ่งที่ไมเคยเห็น ไดเห็นความ เปลี่ยนแปลงทีละนอย ซึ่งเราไมเคยเห็นในชีวิตประจําวัน เพราะชีวิตเราสั้นมาก 70-80 ป เราก็ตายไป แต สิ่งที่ครูศูนยไดโนเสารเห็นคือพัฒนาการของโลก ของเปลือกโลก ซึ่งเปนวิวัฒนาการหลายหมื่นลานป ทํา ใหเราจะเห็นวาชีวิตเรานั้นสั้นนิดเดียว เปนสิ่งที่ทําใหครูเปลี่ยนวิธีคิด เห็นภาพรวม เห็นการเชื่อมโยง เห็นสังคมในเชิงวิวัฒนาการมากขึ้น การทําวิจัยครั้งนี้ไดสรางสังคมกลุมหนึ่ง คือเริ่มมีคนเชื่อวาวิจัยมิใชสัมปทานที่ผูกขาดโดย มหาวิทยาลัย และงานวิจัยมิใชเครื่องหมายการคาจดทะเบียน ของคนที่มีปริญญาสูง ปริญญาโทหรือ ปริญญาเอก สองคํานี้สําคัญมากเพราะในระบบการคิดของบานเราขณะนี้ยังเปนงานวิจัยเปนสัมปทานที่ ผูกขาดโดยมหาวิทยาลัย ซึ่งเราไดระบายความคิดนี้ออกไปแลว วิจัยในแนวทางนี้มิใชวิจัยเพื่อผลเลิศในเรื่องขององคความรู แตเปนการวิจัย เพื่อแนวคิดในการ เปลี่ยนกระบวนการคิดของคน ใหหันมาเชื่อในเหตุและผลและเพิ่งตนเองมากขึ้น ความคิดที่เปนเหตุและ ผลทําใหคนรูจักวาอะไรมันเกิดจากอะไร แลวการเพิ่งพาตนเองจะมากขึ้น การพึ่งพาคนอื่นจะนอยลง สังคมนี้จะไมมีภาระมาก เพราะฉะนั้นถาเรานํากระบวนการวิจัยมาสูการพัฒนา ยอมรับวาวิจัยเปนสิทธิ์ ของทุกคน ทุกคนมีสิทธิ์ทําได ไมใชเปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนอยูที่ผูใดผูหนึ่ง ประเทศของเราจะ พัฒนาไดอีกเยอะมาก
  • 15. - 7 - 4. การศึกษาผลการรวมโครงการครุวิจัย ป 2553 4.1. ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม การศึกษาครั้งนี้ ไดสงแบบสอบถาม ไปถามผูอํานวยการโรงเรียน ที่สงครูเขารวมโครงการวิจัย ใน ป 2553 จํานวนทั้งหมด 170 โรงเรียน ไดรับคําตอบเพียงรอยละ 33.5 แสดงวา โรงเรียนสวนใหญ ยังไมใหความสําคัญกับโครงการครุวิจัย ตารางที่ 1 ขอมูลของผูอํานวยการโรงเรียนที่ตอบแบบสอบถาม ขอมูลทั่วไป จํานวน(คน) รอยละ 1 จํานวนโรงเรียนที่ตอบแบบสอบถาม 57 33.5 2 เพศ ชาย 45 78.9 หญิง 12 21.1 3 ภูมิภาค เหนือ 7 12.1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 24 42.1 กลาง 3 5.3 ตะวันออก 6 10.5 ตะวันตก 1 1.8 ใต 16 28.1 4.2. ผลการสงครูรวมโครงการครุวิจัย สกว. จากการสอบถามประโยชน 2 ประเด็น คือ ประโยชนที่โรงเรียนไดรับ และ ความรูที่ครูได นําไปใชสอน ที่ทําใหเกิดผล 2 ประการ คือ การเปลี่ยนแปลงเชิงทัศนคติและความคิดสรางสรรค และมี ความเขาใจในวิธีการวิจัย ดังแสดงในตารางที่ 2 ปรากฏผลการศึกษาชี้ใหเห็นวา ทุกหัวขอมีคะแนนอยู ในระดับดี (4.1-4.4) แสดงวา โครงการครุวิจัยสกว. คอนขางมีประโยชนตอโรงเรียน ตารางที่ 2 โรงเรียนไดประโยชนจากการสงครูเขารวมโครงการครุวิจัย สิ่งที่ไดรับ ผูตอบ รอยละ คะแนน เฉลี่ย ครูเขารวมโครงการครุวิจัยครั้งนี้ โรงเรียนไดประโยชนในระดับใด 84.9 4.2 ครูมีความรู นําไปเลา/ถายทอดใหครูทานอื่น 81.4 4.1 ครูมีความรู นําไปใชสอน (บรรยาย) 84.2 4.2 ครูมีความรู นําไปใชจัดกิจกรรมโครงงาน หรือสอนแบบทดลอง 87.7 4.4 ครูเปลี่ยนแปลงดานการเสนอแนะ / คิดสรางสรรค / ทัศนคติ 88.1 4.4 ครูเปลี่ยนแปลงดานความกระตือรือรน 88.1 4.4 ครูเขาใจวิธีการวิจัย 86.3 4.3
  • 16. - 8 - 4.3. ความตองการสงครูเขารวมโครงการในป 2554 จากการสอบถามโรงเรียนที่สงครูเขารวมโครงการครุวิจัยป 2553 พบวา มีความสนใจสงครู เขารวมโครงการครุวิจัยในป 2554 จํานวนทั้งหมด 112 คน โดยครูสวนใหญรอยละ 29.7 สนใจจะไป ศูนยสิ่งแวดลอม ครูที่แหลือก็สนใจไปศูนยตาง ๆ ในระดับใกลเคียงกัน ดังในรูปที่ 1 และจากการถามวา โรงเรียนตองการความรูอะไร พบวาโรงเรียนจํานวนรอยละ 75- 80 ตองการความรูดาน สิ่งแวดลอม พลังงาน เทคโนโลยีอาหาร และ อุตสาหกรรมอาหาร และมีรอยละ 70-75 ตองการความรูดาน วิทยาศาสตรทางทะเล และธรณีวิทยา แสดงวา ความรูของพี่เลี้ยงศูนยตาง ยังเปนที่สนใจของโรงเรียน นอกจากนี้ ยังไดสอบถามถึงความรูอื่น ๆ พบวา โรงเรียนตองการความรูดานปญหาและแนวทาง พัฒนาดานสิ่งแวดลอม ทั้งเรื่องอากาศ เสียง ดิน/เกษตร และน้ํา, มลพิษทางอากาศและเสียง, ดานดารา ศาสตร โลก, ดานพลังงานทดแทน/พลังงานสะอาด, ดานสังคม/จิตวิทยา/ภาษาศาสตร, ดานการผลิตสื่อ การสอนดานธรณีวิทยา, ดานการผลิตสื่อการสอน/นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ, ดานการวิจัยในชั้นเรียน, ดาน ภูมิปญญาทองถิ่น/ภาษาและวัฒนธรรม, และความตอเนื่องของการพัฒนาครูภายใตโครงการครุวิจัยที่ ยั่งยืน รูปที่ 1 ความสนใจในการสงครูไปฝกทําวิจัย 4.4. แนวทางการพัฒนาครูดวยโครงการครุวิจัย - โรงเรียนจํานวนรอยละ 84.2 เห็นดวยกับแนวทางการพัฒนาครูดวยการใหครูฝกทําวิจัย ซึ่ง จะทําใหไดทั้งความรูจากพี่เลี้ยง และไดวิธีการวิจัย ครูสามารถนําไปสอนและจัดกิจกรรมเรื่องโครงงาน (วิทยาศาสตร) ไดถูกตอง สามารถสอนใหนักเรียนทําวิจัยอยางงาย แนวทางนี้ใหผลอยางเปนรูปธรรม นอกจากนี้ ครูที่เขารวมโครงการสามารถปรับใชในการทําวิทยฐานะได, สามารถสรางองค ความรูที่อยูรอบกายมาสูหองเรียนไดดีมาก, สามารถถายทอดความรูที่ไดสูลูกศิษยและเพื่อนๆ ใน 0 5 10 15 20 25 30 35 อื่น ๆ ศูนยอุตสาหกรรมเกษตร ศูนยไดโนเสาร ศูนยเทคโนโลยีอาหาร ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล ศูนยพลังงาน ศูนยสิ่งแวดลอม ความสนใจ (%)
  • 17. - 9 - โรงเรียน, เปนกระบวนการพัฒนาครูที่ถูกตอง, เปนระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร สามารถใชในการ แกปญหาไดหลากหลายสาขา, เปนการพัฒนาโดยเนนประสบการณตรง เรียนรูจากการปฏิบัติจริง, ครูได ประสบการณในเชิงลึก, สามารถไปถายทอดไดอยางถูกตอง - ควรเพิ่มการผลิตสื่อนวัตกรรมในการเรียนการสอน, ควรมีการติดตามผลงานของครูที่เขา รวมโครงการ หรือใหทุนครูที่เขารวมโครงการกลับมาสรางผลงานที่โรงเรียนอยางตอเนื่อง, ครูที่โรงเรียน หลายครูกลัวมากเมื่อพูดถึงการวิจัย 4.5. ขอเสนอแนะ - โรงเรียนรอยละ 66.7 มีความเห็นคลายๆ กัน คือ การมีโอกาสไดรับทุนในการฝกวิจัย ถือวา ตัวครูและโรงเรียนไดประโยชนอยางมากมาย และสามารถนําผลการวิจัยมาใชประโยชนในโรงเรียนได ตรงกับความตองการของโรงเรียน ทําใหครูมีคุณภาพครู เพื่อความกาวหนาของครู, การไปอบรมในชวง ปดเทอมจึงไมมีผลกระทบตอโรงเรียน - โรงเรียนรอยละ 19.3 มีความเห็นวา ควรสนับสนุนทุนใหครูที่เขาฝกทําวิจัย สําหรับเปนคาทํา วิจัยของนักเรียน เปนตนทุนใหครูสานตอโครงการ จัดซื้อสื่อและวัสดุการเรียนการสอนเพิ่มในวิชา วิทยาศาสตร, เผยแพรและสงเสริมการพัฒนาโครงงานนักเรียนตอ เพราะงบประมาณจากโรงเรียนมี จํากัด - โรงเรียนรอยละ 1.8 มีความเห็นวา ครูไมมีการเปลี่ยนแปรงการสอน หรือสอนนักเรียนใหทํา โครงงานวิจัยตอ, จึงเสนอแนวทาง วาควรทําเปนเอกสารสรุปกิจกรรม บทเรียนการเรียนรูทุกครั้ง ทุก กิจกรรม - แนะนําใหชวยวิจัย “ปญหาในการเรียนการสอน” ตามเนื้อหาหลักสูตรและที่พบในสภาพ ปจจุบัน - ครูระดับประถมศึกษาใชวิจัยในการสอนนอย สวนใหญเนนการใหความรู เพื่อใหนักเรียนทํา ขอสอบ NT, O-Net ใหไดคะแนนสูงๆ ดังนั้นจึงเนนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบมากๆ - ชวยสงเสริมใหครูคิดเรื่องที่จะทําวิจัยเอง ลงมือปฏิบัติ แกปญหา ตามกระบวนการวิจัย โดย ศูนยพี่เลี้ยงใหคําแนะนํา จนไดผลการวิจัยที่ดี, เปดโอกาสใหครูที่ผานการอบรม นําประสบการณที่เคยใช ในโรงเรียนเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการ - ควรพัฒนาครูเปนระยะ เชน ฝกอบรมกระบวนการวิจัย กิจกรรมพัฒนาความรู และการจัดการ เรียนการสอน, ติดตามผลงานการวิจัยมาใชในการสอน และมีเวทีใหแสดงผลงาน - สงเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห หรือทักษะการคิดของนักเรียน ดวยงานวิจัยที่สงเสริมการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนสามารถทําวิจัยเล็กๆ ได, ปรับปรุงหลักสูตรกอน กําหนดเปน นโยบายของหนวยงาน “ครูทําวิจัย เด็กทําโครงงาน”, ใหครูตระหนักเห็นวาผลการวิจัย ที่เปนเครื่องมือ ที่แกปญหาไดจริง และใหความรู พรอมกับทําจริง (ใหทุน) และนําเอาผลวิจัยไปใชประโยชนไดจริง
  • 18. - 10 - - สรางกลุมเครือขาย และนิเทศติดตามใกลชิด, ใหคุณครูไดนําเสนอผลงาน และจัดนิทรรศการ ผลงานทางวิชาการ สัมมนา ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการวิจัย เพื่อพัฒนาความคิดใหสูงขึ้น และครูจะ ไดทําวิจัยเชิงลึกตามลักษณะงานและความสามารถของครู - การฝกทําวิจัยทําใหมุมมองครูเปลี่ยนไป ครูสามารถจินตนาการ โดยใชรูปแบบการวิจัย สอน เด็กเปนนักวิจัยได และจะเปนการดีถาครู 1 คน สามารถสรางยุววิจัยได 5 คน, ปรับทัศนคติในการทํา วิจัย ครูตองเขาใจวา “วิจัยไมใชเรื่องยาก” และปรับพฤติกรรมใหครูในโรงเรียนเรียนรูวาวิจัย ใหเปนสวน หนึ่งของกระบวนการสอน - เพิ่มเวทีเพื่อใหครูไดแสดงผลงาน จะทําใหครูมีแรงจูงใจ ที่จะทําผลงานมากขึ้น สนับสนุน ประสานงานกับหนวยงานตนสังกัดของครู ที่จะสรรหาผลตอบแทนเพื่อเลื่อนวิทยาฐานะ จะทําใหครูมี ความสนใจและมีขวัญกําลังใจในการสรางสรรคผลงานมากขึ้น, ใหครูทําวิจัยในเรื่องที่สนใจ ภาคเรียนละ 1 เรื่อง โดยสอดคลองกับบทเรียน อาจใหเพื่อนครูหรือนักเรียนมีสวนรวมดวย - สรางสื่อสําหรับใหครูเรียนรูได แมวาจะไมไดเดินทางไปรวมโครงการ - ควรเนนและมีการติดตามทุกๆ ระยะ 3 เดือน/ครั้ง จะดีมาก - ครูจะตองมีความสนใจ และตองการที่จะศึกษา และประยุกตใชกระบวนการวิจัยในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับเนื้อหา และมีการติดตามผลการวิจัยตลอดเวลา สามารถแกไข ปญหาไดเมื่อพบขอมูลที่ไดจากการศึกษา - ฝกอบรมการทําวิจัยใหกับครู เหมือนกับโครงการครุวิจัย เพราะครูไดฝกการลงมือปฏิบัติการ ทําวิจัยจริงๆ ไดเกิดทักษะจริงๆ ไมควรจัดอบรมแบบเขม 2-3 วัน เพราะครูจะไมไดลงมือปฏิบัติจริงๆ - ใหอาจารยมหาวิทยาลัยเปนพี่เลี้ยงตอ หลังจากกลับไปที่โรงเรียน เพื่อใหครูฝกทําวิจัยในชั้น เรียน, จัดอบรมพัฒนาตอยอดงานวิจัยหลังจากที่ครูกลับไปทําวิจัยที่โรงเรียน
  • 21. - 11 - ไดประสบการณไปตั้งชุมนุม อนุรักษ จัดคายแกนนํา และ เครือขายครู จักรายุทธ พลทะสอน โรงเรียนบึงโขงหลงวิทยาคม จ.หนองคาย E-mail: jakrayut@gmail.com ครุวิจัยศูนยไดโนเสาร ภูกุมขาว ป 2553 ครุวิจัยใหอะไรกับพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง จากการที่ไดมีโอกาสฝกทําวิจัยในโครงการครุ วิจัย กับศูนยวิจัยไดโนเสาร พิพิธภัณฑสิรินธรภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ ทําใหไดเรียนรู “กระบวนการจัดการ เรียนรู“ ตามสภาพจริง โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ ระหวางฝกทําวิจัยกับวิทยากรพี่เลี้ยง ไดรับความรู และความสุข กับการเรียน จึงอยากใหนักเรียนไดมี ความรูสึกแบบนั้นบาง เพราะความพยายามแสวงหาเทคนิค วิธีการ สอน ที่ทําใหนักเรียนรูสึกวา วิชาฟสิกสเปนวิชาที่นา เรียน สนุก และไดความรู ทั้งที่ความจริงแลวฟสิกสเปน วิชาที่ทาทาย ชวนใหคนหาความลับของธรรมชาติ ถา เรารูเชนนั้นจะสนุกสนานกับวิชานี้มาก ในทองถิ่นของขาพเจา เปนที่ตั้งของพื้นที่ชุม น้ําบึงโขงหลง จ.หนองคาย (อีกหนอยก็จะกลายเปน จังหวัดบึงกาฬ) ที่มีความสําคัญระดับนานาชาติ ลําดับ ที่ 1098 และลําดับที่ 2 ของประเทศไทย และยังมีพื้นที่ ใกลเคียงกับ อุทยานแหงชาติภูลังกา อุทยานแหงชาติ ภูวัว ภูสิงห ภูทอก รวมทั้งเชื่อมโยงกับแมน้ําโขง และ แมน้ําสงคราม ขาพเจาไดนําแนวคิด ประสบการณ จากการ ที่ไดไปรวมโครงการครุวิจัย มาพัฒนาตอยอดจากสิ่งที่ มีอยูเดิม ดังนี้ จัดตั้งชุมนุมรูรักษภูลังกา เพื่อใหนักเรียนได เรียนรูเกี่ยวกับความเปนมาของภูลังกา กอนจะมาเปน อุทยานแหงชาติในปจจุบัน เพื่อสรางจิตสํานึกของ เยาวชน ในการรวมกันอนุรักษ ใหอุทยานแหงชาติภู ลังกาเปนแหลงตนน้ํา แหลงอาหาร ยาสมุนไพรตอไป พานักเรียนในรายวิชาโลก ดาราศาสตรและ อวกาศ ออกไปเรียนรูภายนอก เรื่องหิน ดิน การ เปลี่ยนแปลงทางลักษณะธรณีวิทยา ในพื้นที่อุทยาน แหงชาติภูลังกา คายแกนนํา จัดกิจกรรมการตรวจวัด คุณภาพน้ําในพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง รวมกับโรงเรียน เครือขายที่อยูรอบพื้นที่ชุมน้ําบึงโขงหลง เพื่อเฝาระวัง คุณภาพน้ําใหมีคุณภาพดีตลอดไป สรางเครือขายครูวิทยรักษบึง ขึ้นมาเพื่อเปน เวทีแลกเปลี่ยน รวมกันเฝาระวัง และสรางกิจกรรม สรางจิตสํานึกใหกับนักเรียนในโรงเรียนเครือขาย กิจกรรมที่กําลังดําเนินการอยู จะชวยให ผูเรียนไดพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวม ทั้งมี คุณธรรมจริยธรรม มีจิตสํานึกในการอนุรักษพื้นที่ชุม น้ําบึงโขงหลงใหคงอยูตลอดไป 桹¹íÒ¡ÒõÃǨÇa´¤u³ÀÒ¾¹éíÒ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¡ÒÃe»ÅÕè¹æ»Å§·Ò§¸Ã³ÕÇi·ÂÒ ที่มา: http://kruvijai.wordpress.com/2010/10/11/jakkrayut/
  • 22. - 12 - จัดตั้งชุมนุมนักวิทยาศาสตร รุนเยาว จิตรา สอนพงษ โรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร จ.หนองบัวลําภู E-mail: kruphysics.2@gmail.com ครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว ป 2553 จากประสบการณการฝกทําวิจัยในโครงการ ครุวิจัย ศูนยวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว อ.สหัสขันธ จ. กาฬสินธุ ขอบอกวาไดรับประโยชนจากตรงนี้มาก ทั้ง ในเรื่องความรู ทักษะกระบวนการวิจัย ประสบการณ การเรียนรูทั้งในหองปฏิบัติการและการศึกษานอก สถานที่ รวมทั้งมวลประสบการณที่ไดจากการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากเพื่อนครูดวยกัน เมื่อกลับมาสูโรงเรียนไดนําความรูที่ไดมา บูรณาการเขากับการจัดการเรียนการสอน โดยจัดตั้ง ชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาวกุดสะเทียนวิทย ขึ้น สําหรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนนั้นไดใช วิธีการเรียนรูที่เนนการสงเสริมใหเด็กทําโครงงานเพื่อ ไดใชทักษะทางวิทยาศาสตร และจัดใหเด็กไดทดลอง ในสนาม คือ สอนทั้งทฤษฎี ใหลงมือปฏิบัติ และ พยายามใหเด็กนักเรียนสังเกตแลวแสดงความคิดเห็น เปนการสรุปบทเรียนจากที่ไดลงมือปฏิบัติ ซึ่งใน ชุมนุมนักวิทยาศาสตรรุนเยาวกุดสะเทียนวิทยนี้ จะมี ทั้งนักเรียนม.ตน คือ ม.1-ม.3 และนักเรียนชั้นม.ปลาย คือ ม.5 โดยใหเด็กม.ตนรวมกลุมกันทําโครงงาน ม.1 เนนเรียนพื้นฐานวิธีการ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร และการคํานวณ สวนม.2 เรียนเรื่องการ เขียนเคาโครงงานทางวิทยาศาสตร และการทดลอง ยอยตาง ๆ เชน การทดลองสังเกตดิน หิน และแรธาตุ ในหิน ที่พบในบริเวณรอบๆหมูบานของแตละคน เพื่อศึกษาวาเปนหินอะไร และเกิดในยุคไหน เปนตน และนักเรียนชั้นม.3 เปนการทําโครงงาน ซึ่งเราจะเนน การใชภูมิปญญาทองถิ่นมาประยุกตใช เชน สียอมผา จากเปลือกไมในธรรมชาติ ซึ่งโครงงานที่ใหเด็กทําจะ เปนเหมือนกันทําวิจัยยอย เพราะตองเขียนบทที่ 1 ที่มาและเหตุผล บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีการทดลอง บทที่ 4 วิเคราะหขอมูล และบทที่ 5 สรุปผล ซึ่งวิธีการนี้เปนการฝกกระบวนการทาง วิทยาศาสตรใหเด็กนําไปใชในชีวิตประจําวันได เพราะ มีการพิสูจนโดยมีหลักการ และเหตุผลดวยการทดลอง วิเคราะหขอมูลวาเกิดอะไรขึ้นหรือเกิดขึ้นเพราะอะไร แลวนําสิ่งที่คนพบเหลานั้นมาสรุปเปนผลการวิจัย ซึ่ง การไดเรียนโดยใชวิธีการนี้จะทําใหเด็กเปนคนมีเหตุผล มากขึ้น และสําหรับนักเรียนชั้น ม.5 นอกจากจะเด็กจะ ทําโครงงานวิทยาศาสตรแลว ยังไดพานักเรียนทํา โครงการหุนยนตขึ้น โดยสวนมากจะเปนเด็กที่สนใจ ดานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร และแมคคาทอ นิกสหรือการเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตร ซึ่งเด็กจะได ฝกการคนควาขอมูลการเขียนโปรแกรมจากแหลงตาง ๆ และลงมือประกอบหุนยนต โดยใชพื้นฐานความรู ดานวิทยาศาสตรที่เรียนมาประสานกับโปรแกรมที่ เขียนขึ้นดวยตัวเอง อยางไรก็ตามสิ่งที่ภาคภูมิใจคือ เด็กรูจักวิธี คิด มีวิธีแกปญหาที่เหมาะสม มีความมั่นใจและมี ความเชื่อมั่นในตัวเองสูงขึ้น เพราะในการทําโครงงาน เด็กจะตองคิดและตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยีใหเปน ประโยชนกับโครงงานอยางเหมาะสม ในระหวางที่ทํา โครงงานเด็กก็ตองสื่อสารกับครูที่ปรึกษาใหเขาใจ และ เมื่อโครงงานสําเร็จจะตองมีการนําเสนอโครงงาน คือ เด็กตองสามารถทําใหบุคคลอื่น ๆ เขาใจในสิ่งที่ทําดวย ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนคุณลักษณะที่พึงประสงคของคนไทย ในอนาคต และของการเปนนักวิทยาศาสตรที่ดีของ ชาติตอไป ที่มา: http://kruvijai.wordpress.com/2010/10/13/jittra/
  • 23. - 13 - จัดแสดงซากดึกดําบรรพ วุฒิศักดิ์ บุญแนน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม E-mail: wutthisakcomplete@gmail.com ศูนยครุวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว ป 2553 สวัสดีครับ ผมวุฒิศักดิ์ บุญแนน โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไดเขารวมโครงการครุ วิจัย ป 2553 ที่ศูนยวิจัยไดโนเสารภูกุมขาว จังหวัด กาฬสินธุ ความรูและประสบการณที่ไดรับจากการรวม โครงการ สิ่งแรกที่ไดนํามาใชคือ การจัดแสดง ตัวอยาง หิน ตัวอยางไมกลายเปนหิน และตัวอยาง fossil ที่เก็บ ตัวอยางมาจากการเขารวมโครงการ นํามาจัดแสดงที่ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรของโรงเรียน และใชเปนสื่อ การสอน ในเรื่องของวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และสื่อ การสอนเรื่องหิน แร ซึ่งเปนสิ่งสําคัญมาก เพราะ นักเรียนสวนใหญไมรูจักวิธีการดูลักษณะของหิน ไม รูจักการดูลักษณะ fossil ไมรูจักไมกลายเปนหิน ประการที่สองการตอยอดความรู โดยการนํา นักเรียนเขียนขอสนอโครงการยุววิจัยยางพารา เพื่อจะ ไดนําเอาความรูระเบียบวิธีวิจัย มาใชฝกประสบการณ การเรียนรูใหกับนักเรียนและประการที่สาม การตอยอด กระบวนการ เรียนรู โดยนําเสนอโครงการ การสราง นวัตกรรมการเรียนรู กับสํานักงานสงเสริมสังคมแหง การเรียนรูและพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) เพื่อจัด โครงการนักสืบเสาะธรณีวิทยาและซากดึกดําบรรพ (Inquiry Geology and Fossil Project ) เพื่อนํา นักเรียนฝกประสบการณการเรียนรู จากแหลงเรียนรู และแหลงทรัพยากร ที่มีจํานวนมากในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และฝกประสบการณการสืบ เสาะหาความรู โดยใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร โดยมีครูและผูเชี่ยวชาญของศูนยวิจัยและ การศึกษาบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และผูเชี่ยวชาญของกรมทรัพยากรธรณี คือ ดร.วราวุธ สุธีธร เปนที่ปรึกษาและเปนวิทยากรใหความรู และ สรางสื่อสารคดีถายทอดไปยังกลุมเพื่อนๆ โรงเรียนอื่น หรือจัดกิจกรรมถายทอดความรู ใหกับกลุมเพื่อนๆ โรงเรียนอื่นตอไป จากประสบการณที่ไดรับ มิไดเปนแคความรู และประสบการณเทานั้น แตรวมถึงความสัมพันธอันดี ระหวางครูกับหนวยงานศูนยพี่เลี้ยง รวมทั่งเพื่อนๆ ครู โรงเรียนอื่น ที่จะประสานสัมพันธความรวมมือทางดาน วิชาการ เพื่อจะพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติ พัฒนา ผลงานทางวิชาการของครู สิ่งเหลานี้คือ ประโยชน มากมาย ที่เกิดขึ้นจากโครงการครุวิจัย ของ สกว. ดังนั้นถาจะพัฒนาการเรียนการสอนของ ประเทศ พัฒนาความรูทางดานวิชาการของเยาวชน ที่ มีคาแนวโนมต่ําลงที่ผูใหญหลายๆ คนก็ทราบ ก็จะตอง พัฒนากระบวนการ เรียนรูของครูและกระบวนการ เรียนรูของเยาวชน ที่ไมยึดติดกรอบเฉพาะในโรงเรียน หรือในหลักสูตรอยางเดียว ในความคิดของกระผม รัฐบาลใชงบประมาณมหาศาล ในการทําหลายๆ สิ่ง แตถาใชงบประมาณกับการพัฒนาการศึกษา คงทํา ใหคนในชาติและเยาวชนของชาติไดประโยชน ที่มา: http://kruvijai.wordpress.com/2010/08/17/wuttisak/