SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
มะยม
PHYLLANTHUS ACIDUS
ร า ย ง า น นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ร า ย วิ ช า ชี ว วิ ท ย า 3 ( ว 3 0 2 4 3 )
ภ า ค เ รี ย น ที่ 1 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
โ ร ง เ รี ย น เ ต รี ย ม อุ ด ม ศึ ก ษ า
ครูผู้สอน
• นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูชานาญการ (คศ.2)
• สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สมาชิก
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
• นาย ชนน กูลทองคา ห้อง 332 เลขที่ 27
• นาย ณัฐชนน หนูแก้ว ห้อง 332 เลขที่ 32
• นาย ธีภพ สุทธิพิศาล ห้อง 332 เลขที่ 37
• นาย พศิน สุภาผล ห้อง 332 เลขที่ 38
• นาย ศุภวิชญ์ สาริกา ห้อง 332 เลขที่ 44
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา3(ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่5 ห้อง 332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอ
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นมะยมซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ชื่อสามัญของพืช และลักษณะทางพฤกษศาสตร์โดยสังเขป
และการใช้ประโยชน์ต่างๆของพืช
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
อย่างยิ่งต่อผู้อ่านหรือผู้ที่มีความสนใจศึกษาข้อมูลเรื่องนี้ หากมีข้อผิด
ผลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับความผิดพลาดและขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
ครูผู้สอน 2
สมาชิกในกลุ่ม 3
คานา 4
ข้อมูลทั่วไป 6
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 7-8
ประโยชน์ 9
วิธีการปลูกและการขยายพันธุ์ 10-11
จุดกาเนิดและการแพร่กระจาย 12
บรรณานุกรม 13
กิตติกรรมประกาศ 14
ภาคผนวก 15-21
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อสามัญ-ทั่วไป
• Star Gooseberry
• มะยม
• หมากยม (ภาคอีสาน)
• ยม (ภาคใต้)
ชื่อวิทยาศาสตร์
• Phyllanthus acidus
วงศ์
• Phyllanthaceae
ลักษณะทางพฤษศาสตร์
ต้น : มะยมเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง มีความสูงประมาณ 3-10 เมตร ลาต้น
มีลักษณะค่อนข้างกลม ผิวเรียบ เป็นลูกคลื่นเล็กน้อย ลาต้นแตกกิ่งตั้งแต่ระดับ
ล่างของลาต้น กิ่งค่อนข้างเปราะ และหักง่าย แตกใบจานวนมากตามกิ่ง
ใบ : เป็นใบประกอบ ประกอบด้วยใบย่อย 30 -60 ใบ ใบย่อยเป็นรูปไข่มีสีเขียว
ใบมักจะออกรวมกัน อยู่ตรงส่วนของปลายยอด
ดอก : เป็นช่อชนิดราซีมแทงออกตามกิ่ง และลาต้น แต่ส่วนมากออกตามปลายกิ่ง
จนถึงยอด มักแทงงอกบริเวณด้านล่างของใบ เป็นดอกเพศผู้ และดอกเพศเมียใน
ต้นเดียวกัน มีก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบดอกมีรูปร่างคล้ายไต มีสีเขียวหรือสี
แดงรื่อ กลีบดอกยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกตัวผู้มีเกสรตัวผู้ 4 อัน ดอกตัวเมียมี
รังไข่ 3-4 ห้อง บางครั้งอาจพบเกสรตัวผู้ 1-3 อัน บริเวณฐานรังไข่
ลักษณะทางพฤษศาสตร์
ผล : ผลมะยมมีลักษณะเป็นพูเว้านูนรอบผล ประมาณ 6-8 พู (เหลี่ยมนูน) ผลค่อนข้าง
กลมแบน ผลกว้างประมาณ 1-3 ซม. มีขั้วผลสั้นประมาณ 0.5 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว
ผลแก่มีสีเหลืองอมเขียวเล็กน้อย และแก่จัดจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองนวล เนื้อผลมีรส
เปรี้ยว ผล 1 ผล มีเมล็ด 1 เมล็ด มีลักษณะเป็นพูคล้ายพูผล
เมล็ด :เมล็ดมีสีนวลอมน้าตาล เนื้อเมล็ดแข็งมาก
ประโยชน์ของมะยม
• ผลมะยมมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ จึงช่วยชะลอวัยและความเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกายได้
• มะยมมีสรรพคุณช่วยบารุงโลหิต ด้วยการใช้ผลแก่นามาดองในน้าเชื่อมจนครบ 3 วัน
(น้า 1 ส่วน / น้าตาล 3 ส่วน) แล้วนามารับประทานวันละ 1 ช้อนโต๊ะ
• ช่วยแก้ไข้(ราก)
• น้ามะยมช่วยต้านหวัดได้เพราะมีวิตามินซีสูง
• ผลมะยมมีฤทธิ์กัดเสมหะ ดับพิษเสมหะ ด้วยการรับประทานผลสุกหรือดิบก็ใช้ได้
• ผลใช้เป็นยาระบาย
• ใช้แก้น้าเหลืองเสียให้แห้ง (ราก)
• ช่วยรักษาโรคผิวหนัง (ราก)
• มะยมมีประโยชน์ช่วยแก้อาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ โรคไขข้ออักเสบ ด้วยการนาผลมาตารวม
กับพริกไทยแล้วพอกบริเวณที่ปวด
• นิยมรับประทานเป็นผลไม้สดและมีการนามาประกอบอาหาร เช่น ใช้ทาส้มตา ยอดอ่อนใช้
รับประทานเป็นผักสดกินกับน้าพริก ลาบ ขนมจีน ส้มตา
• มีการนามาแปรรูปได้หลากหลาย เช่น มะยมแช่อิ่ม มะยมดอง มะยมเชื่อม น้ามะยม มะยมแยม
มะยมกวน หรือนามาใช้ทาเป็นน้าส้มสายชู
การปลูกมะยม
• การปลูกมะยมนิยมใช้วิธีการเพาะเมล็ด โดยการนาผลมะยมที่แก่จัด และหล่น
จากต้น ทั้งนี้ ควรเลือกต้นแม่ที่มีกิ่งมาก ให้ผลดก ผลมีขนาดใหญ่สม่าเสมอ
ส่วนผลที่นามาเพาะ ควรเป็นผลมีลักษณะอวบใหญ่
• หลังจากที่ได้ผลมะยมมาแล้ว หากไม่รีบ ให้ปล่อยผลมะยมเน่าเปื่อยจนเหลือ
แต่เมล็ด หรือ ให้ปอกเนื้อมะยมออกให้หมดจนเหลือแต่เมล็ด แล้วนาเมล็ดมา
ตากแดดจนแห้ง
• หลังจากได้เมล็ดมะยมแห้งแล้ว ให้นามาแช่ในน้าร้อนประมาณ 1 นาที ก่อน
ลงเพาะในถุงเพาะชา หรือ นาเมล็ดฝังดินบริเวณที่ต้องการให้เกิด ซึ่งให้ใส่
เมล็ดประมาณ 2-3 เมล็ด/หลุม เมื่อกล้ามะยมเกิดแล้วค่อยถอนต้นออกให้
เหลือต้นที่สมบูรณ์ที่สุดเพียงต้นเดียว
การขยายพันธุ์
การตอน เป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุด จากการทดลองตอนต้นขนาดใหญ่อายุ
ประมาณ 10 ปียังสามารถออกรากได้ และออกดอก ติดผลได้ในปีแรกหลังการ
ปลูกกิ่งตอน การเพาะเมล็ด เป็นวิธีการที่ทาได้ง่าย แต่ต้องใช้เวลาในการให้ผล
ผลิตยาวนานกว่าการตอน
จุดกาเนิดและการแพร่กระจายของต้นมะยม
พืชชนิดนี้พบได้ทั่วเอเชีย และพบปลูกตามบ้านในแคริบเบียน อเมริกากลาง และ
อเมริกาใต้กระจายพันธุ์ข้ามมหาสมุทรอินเดียไปจนถึงมอริเชียส และข้าม
มหาสมุทรแปซิฟิกไปจนถึงฮาวายแพร่กระจายไปจนถึงภูมิภาคทะเลแคริบเบียน
เมื่อ พ.ศ. 2336 โดยวิลเลียมไบลก์นามะยมจากติมอร์ไปยังจาเมกา พืชชนิดนี้พบได้
ทั่วไปในกวม อินโดนีเซีย เวียดนามใต้ ลาว ตอนเหนือของคาบสมุทรมลายู และ
อินเดีย ยังคงพบพืชชนิดนี้ในฟิลิปปินส์ ไทย กัมพูชา และฮาวาย พบเห็นได้ใน
เปอร์โตริโก เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ เม็กซิโก โคลอมเบีย เวเนซุเอลา สุรินาเม
เปรู และบราซิล
บรรณานุกรม
- https://www.slideshare.net/PhatornPitiphat/ppt-herbarium-161010149
- https://medthai.com/มะยม/
-https://sites.google.com/site/schstargooseberry/kar-pluk-laea-kar-dulae-raksa
-https://www.slideshare.net/meemahidol/932-pre6
-https://www.slideshare.net/meemahidol/931-pre10
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทา Herbarium ในครั้งนี้ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี จากความกรุณาของครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจาวิชาชีววิทยาที่ได้ให้ข้อเสนอแนะ แนวคิด
ต่างๆ ตลอดจนรายละเอียดต่างๆมาโดยตลอด จนกระทั่งการจัดทา Herbarium ครั้งนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบคุณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโครงการสวนพฤกษศาสตร์ที่ได้มีการจัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาพรรณไม้นานาชนิด รวมถึงพ่อ
แม่ ผู้ปกครองที่คอยให้กาลังใจและคาแนะนาในการทางานที่ดีเสมอมา และขอบคุณเพื่อนรวมห้องทุกๆคน ทั้งในกลุ่มที่ช่วยกันจัดทา และเพื่อนกลุ่มอื่นที่
คอยช่วยเหลือและให้คาแนะนาดีๆในการจัดทางานนี้ขึ้นมา
นาย ชนน กูลทองคา
นาย ณัฐชนน หนูแก้ว
นาย ธีภพ สุทธิพิศาล
นาย พศิน สุภาผล
นาย ศุภวิชญ์ สาริกา
ภาคผนวก
เลือกและเก็บตัวอย่างพืช (มะยม) มาทาHerbarium
ภาคผนวก
นาตัวอย่างวางบนหนังสือพิมพ์ให้เรียบร้อย
ภาคผนวก
นาตัวอย่างมาซ้อนกันเป็นชั้นอย่างสวยงาม
ภาคผนวก
นาชิ้นงานที่ได้มามัดรวมกัน
ภาคผนวก
การตรวจติดตามงาน(สัปดาห์เลขคู่)
ภาคผนวก
รูปสมาชิกกับชิ้นงานสมบูรณ์
ภาคผนวก
รูปสมาชิกกับชิ้นงานสมบูรณ์
Herbarium g2 332

More Related Content

What's hot

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....PimlapusBoonsuphap
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931KantnateeHarnkijroon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 

What's hot (20)

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 

Similar to Herbarium g2 332

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 

Similar to Herbarium g2 332 (20)

Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 

Herbarium g2 332