SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา(Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเลียบ 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยาชื่อกลุ่ม คือ Powergirl 
1. น.ส. ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6 
2. น.ส. สตรีรัตน์ วงษ์ไล ม. 6/1 เลขที 9 
3. น.ส. สุชานันท์ สิงห์ทอง ม. 6/1 เลขที่ 32 
4. น.ส. อารียา ปอโนนสูง ม. 6/1 เลขที่ 33 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์ รวมไปจนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็เพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้น ทั้งยังมีความทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาในชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มที่ จะคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกความสบายให้ตนเอง ไม่ว่า จะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การสร้างถนน การสร้างเขื่อน และอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ลดลง รวมถึงทรัพยากรป่าไม้ด้วย 
คณะผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของส่งมีชีวิตจึงทาศึกษาสิ่งมีชีวิตภายในชุมชนวัดเลียบ ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดล้วนมีความสาคัญต่อระบบนิเวศทั้งสิ้น เพราะห่วงโซ่อาหาร มีความสาคัญ ต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกทั้งผู้ล่าและผู้อาศัย แต่อย่างน้อยก็เป็นการควบคุมประชากร 
กลุ่มของดิฉันจึงมีแนวคิดที่จะจัดทาโครงงานการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดเลียบ เพื่อ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการเข้าไปศึกษาธรรมชาติ สามารถนาไปศึกษาก่อนว่า มีสิ่งมีชีวิตชนิดไหนน่าสนใจที่สุด ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีจากัดให้คงอยู่สืบไป 
2. วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ทุกคนช่วยอนุรักษ์ สิ่งมีชีวิตในชุมชน 
2. เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนวัดเลียบ 
3. เพื่อสารวจสิ่งมีชีวิตที่พบในชุมชนวัดเลียบ ว่ามีอะไรบ้าง 
4. เพื่อศึกษาลักษณะ ประโยชน์ ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด 
3. สมมติฐานของการศึกษา 
จากที่กลุ่มเราได้ทาการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดเลียบ เพื่อกลุ่มเราจะศึกษาดูว่าแต่ละชนิดนั้น มีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ในการสารวจครั้งนี้กลุ่มเราได้พบสิ่งมีชีวิตมากมาย ทั้งพืช และสัตว์ทั้ง 10 ชนิด คือ ปลา ชูการ์ไกรเด้อ กระต่าย นกสุนัข ดอกอัญชัน ต้นกล้วยเฟืองฟ้า แมว มะละกอ 
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1. ทาให้รู้จักการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ 
2. ทาให้รู้จักการแบ่งเวลาและการตรงต่อเวลา 
3. ทาให้รู้เกี่ยวกับการทางานและมีการวางแผนการทางาน 
4. ได้เข้าร่วมกิจกรรมข้อมูลออนไลน์ภายในเว็บ www.biogang.com 
5. ได้รู้จักข้อมูลทรัพยากรชีวภาพต่างๆ 
6. ทาให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อชุมชนมากขึ้น 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 
1. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือแมว 
ลักษณะ 
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม อยู่ในตระกูล Felidaeซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับสิงโตและเสือดาว ต้น ตระกูลแมวมาจากเสือไซบีเรียน (Felistigrisaltaica) ซึ่งมีช่วงลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาว ประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลาตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัด อยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้ เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมว ยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นแมวพันธุ์แท้หรือแมวพันทาง
โดยทั่วไปมีการแบ่งพันธุ์แมวออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ แมวขนยาว (longhaired cat) และแมวขนสั้น (shorthaired cats) การแบ่งพันธุ์ด้วยวิธีนี้ทาให้จาแนกแมวออกได้ตามลักษณะ พันธุ์ที่จาเพาะต่างๆ กัน การจัดจาแนกแมวในยุโรปและสหรัฐอเมริกามีการกาหนดมาตรฐานของ พันธุ์แมวที่เป็นที่ยอมรับกัน ทั้งนี้ลักษณะมาตรฐานของพันธุ์ก็มีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ การใช้ ชื่อเรียกพันธุ์แมวที่แสดงถึงลักษณะของพันธุ์ที่จาเพาะมีความแตกต่างกันระหว่างในยุโรปและ สหรัฐอเมริกา และมีบางพันธุ์มีการจัดจาแนกเฉพาะต่างหากในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แมวมี มากมายหลายพันธุ์ เช่น แมวเปอร์เซีย แมววิเชียรมาศ ฯลฯ 
ประโยชน์ แมวไทยตั้งแต่โบราณมามีประโยชน์คือช่วยจับหนู ในปัจจุบันแมวไทยเป็นเครื่อง 
ตกแต่งที่น่าดู ช่วยเชิดชูสง่าเสริมราศีและให้ความสบายในแก่ผู้เลี้ยงในฐานะเป็นเพื่อนแก้เหงา เด็กๆมักชอบเล่นกับแมวโดยอุ้มหรือลูบไล้เล่น ผู้ชราส่วนมากเป็นสตรีมักชอบเลี้ยงแมวไว้เป็น เพื่อน โดยเฉพาะสุภาพสตรีชาวต่างประเทศที่เลี้ยงแมวมักจะรักแมวมาก จนถึงกับทา พินัยกรรม ยกทรัพย์สมบัติให้แมวก็มี 
ในตาราดูลักษณะแมวของโบราณก็ได้กล่าวถึงคุณประโยชน์ที่ผู้เลี้ยงแมวลักษณะดีจะ ได้ รับลาภผลยศถาบรรดาศักดิ์และโชคดีมีความสุข ถึงแม้แมวที่ตายแล้วถ้าเก็บกระดูกไว้จะ ใช้ ป้องกันภัยได้และเกิดลาภผล 
2. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นกล้วย 
ลักษณะ 
กล้วยเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีลาต้นเทียมสูงประมาณ 2-9 เมตร มีลาต้นสั้นๆ อยู่ใต้ดิน (ที่เรียกว่า “ หัว ” ) พร้อมด้วยตาหลายตาเป็นตาแหน่งที่เกิดเหล้าที่เจริญเป็นหน่อ รากแผ่กระจายไปตาม แนวราบ แต่ส่วนมากรากจะอยู่ที่ผิวดิน หน่อมีรูปทรงกระบอก ลาต้นเทียมที่เกิดจากกาบใบที่ทับ สลับกันจนแน่นกอดกันเป็นก้อนกลม 
- ใบ หรือ ใบตองกล้วยมีขนาดใหญ่ ลักษณะใบเป็นแผ่นยาวประมาณ 1.50 เมตร กว้าง ประมาณ 40.60 ซม. ทรงตัวอยู่ได้ด้วยเส้นกลางใบที่แน่นแข็ง ใบมีการจัดเรียงแบบขนนก มีเส้น ใบขนานกัน 
- ดอก ออกดอกเป็นช่อห้อยลงมา มีกาบหุ้มมีสีแดงอมม่วง เรียกว่า หัวปลี รูปร่างกลมรี มีดอก ย่อยติดกันเป็นแผง ดอกตัวเมียจะอยู่ที่ฐาน ส่วนดอกตัวผู้จะอยู่ช่วงปลาย 
- ผล หลังจากดอกตัวเมียเริ่มเจริญเป็นผล ดอกตัวผู้ก็จะร่วงไป ช่อดอกจะเจริญต่อไปเป็นเครือ กล้วยที่ประกอบด้วยหวีกล้วยประมาณ 7-8 หวี ผลกล้วยอ่อนมีสีเขียวพอแก่จะเปลี่ยนเป็นสี เหลือง 
ประโยชน์ 
กล้วยเป็นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ใบตองใช้ห่ออาหารและทางานฝีมือหลายชนิด ลา ต้นใช้ทาเชือกกล้วย กระทง กล้วยสามารถนามามาส์กหน้าได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่ ผิว ลดความหยาบกร้านบนผิว ด้วยการใช้กล้วยสุกหนึ่งผลนามาบดให้ละเอียด แล้วเติมน้าผึ้ง 2 ช้อนโต๊ะ จากนั้นคลุกให้เข้ากันแล้วนามาพอกหน้าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีแล้วล้างออก 
3. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ กระต่าย 
ลักษณะ 
กระต่ายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็ก มีขนปุกปุยทั่วลาตัว มีหางกลมสั้น มีใบหูยาวเมื่อ เทียบกับสัตว์อื่น ซึ่งวิวัฒนาการมาใช้สาหรับฟังเสียงได้เป็นอย่างดี และยังมีประสาทสัมผัสใน การดมกลิ่นที่ดีมาก กระต่ายมีขาหน้าที่มี 5 นิ้ว ขาหลังมี 4 นิ้ว มีสะโพกที่ยาวและทรงพลัง เต็ม ไปด้วยกล้ามเนื้อ จึงสามารถกระโดดได้เป็นอย่างดี เคยมีการประกวดการกระโดดของกระต่ายที่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ กระต่ายตัวที่กระโดดได้สูงที่สุดกระโดดได้สูงถึง 99.5เซนติเมตรเลย ทีเดียว ใต้ฝ่าตีนของกระต่ายมีขนนุ่ม ๆ รองรับอยู่ เพื่อมิให้เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว กระต่ายเป็น
สัตว์ที่ตื่นตกใจง่ายและมีความว่องไวปราดเปรียวมากในการระแวดระวังภัย นอกจากนี้แล้วตา ของกระต่ายยังมีหนังตาหรือเปลือกตาถึง 3 ชั้นด้วยกัน ดวงตาของกระต่ายมีลักษณะกลมโต ทา ให้กระต่ายสามารถเหลือบมองภาพด้านหลังได้โดยที่ไม่ต้องหันหัวเลย กระต่ายจัดเป็นสัตว์ที่มี ระบบการมองเห็นที่ดีกว่าสัตว์ชนิดอื่น ๆ มาก แต่กระต่ายสามารถมองเห็นสีได้เพียงแค่ 2 สี เท่านั้น คือ สีเขียวและสีน้าเงิน และจะยิ่งมองได้ชัดเจนขึ้นเมื่ออยู่ในที่มืด 
ประโยชน์ 
1. กระต่ายให้ความเพลิดเพลินการเลี้ยงกระต่ายในประเทศส่วนมากเป็นการเลี้ยงไว้ดูเล่นเพื่อ ความเพลิดเพลินเนื่องจากกระต่ายเป็นสัตว์ที่น่ารักเลี้ยงง่ายกินอาหารได้เกือบทุกประเภททาให้ มีผู้นิยมเลี้ยงกระต่ายกันมากขึ้นเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์กระต่ายจะเป็นเพื่อนเล่นใน ยามที่คุณเงาได้ซึ่งมักจะทาให้คุณมีสุขภาพจิตดีขึ้นกระต่ายยังช่วยทาให้เด็กๆมีนิสัยรักสัตว์มี ความเมตตาปราณีต่อสัตว์และรู้จักความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูกระต่ายซึ่งจะเป็นการ เตรียมพร้อมที่จะก้าวไปเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต 
2.ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็กเลี้ยงง่ายโตเร็วขยายพันธุ์ ได้รวดเร็วกายวิภาคและสรีระวิทยาของกระต่ายไม่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ มากนักจึงนิยมใช้กระต่ายในการศึกษาทดลองและงานวิจัยต่างๆทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น 
2.1 ใช้ในการเรียนทางสัตววิทยาโดยการผ่ากระต่ายเพื่อศึกษาโครงกระดูกกล้ามเนื้ออวัยวะ ภายในเส้นเลือดและเส้นประสาท 
2.2 ใช้ศึกษาฤทธิ์ของยาต่างๆก่อนที่จะนาใช้ในคน 
2.3 ใช้ทดสอบความปลอดภัยของยาวัคซีนและเครื่องสารอง 
2.4 ช่วยในการวินิจฉัยโรคโดยฉีดเชื้อเข้ากระต่ายแล้วสังเกตอาการเช่นโรคพิษสุนัขบ้าเป็นต้น 
2.5 ผลิตชีวภัณฑ์ต่างๆเช่นแอนติบอดี (antibody) เอวินิฉัยโรคสารเร่งการแข็งตัวของเลือดและ เอนไซม์ (enzyme)ที่ใช้การวินิฉัยโรคต่างๆ 
2.6ฬช้ตรวจการตั้งครรภ์โดยอาศัยหลัการที่ว่าปัสสาวะของสตรีมีครรภ์เมื่อฉีดเข้ากระต่ายตัวเมีย จะกระตุ้นเหนี่ยวนาให้เกิดการตดใข่ 
2.7 ใช้ในงานวิจัยเช่นการฝากย้ายตัวอ่อนสัตว์ (Embryo Transfer) มิการทดลองทาได้สาเร็จ ในกระต่ายเป็นสัวต์ชนิดแรก 
3. เป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร กระต่ายเป็นสัวต์เลี้ยงง่ายขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วใช้เนื้อที่น้อย กินอาหารได้หลายชนิดและสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารได้ดีกว่าสัตว์กระเพราะเดียวกันเช่น สัตว์ปีกและสุกรเหมาะสาหรับการเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร 
4. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ปลาหางนกยูง 
ลักษณะ 
เด่นที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้สายพันธุ์ใหม่ๆ คือ ลักษณะสีและลวดลายบนลาตัวและ ลวดลายบนครีบหางและรูปแบบของครีบหาง ซึ่งในการเรียกสาย 
พันธุ์ต่างๆ จะถูกตั้งชื่อตามลักษณะ ดังกล่าว 
ลักษณะที่ดีของปลาหางนกยูง 
ลักษณะลาตัว ->มีขนาดใหญ่ หนาสมส่วน ไม่คดงอ 
ลักษณะครีบ ->ครีบหางใหญ่ พริ้วหนา แข็งแรงสมบูรณ์ไม่ฉีกขาด ขณะว่ายน้าพริ้วไม่พับ 
สีและลวดลาย ->ถูกต้องตามสายพันธุ์ คมเข้มชัดเจน 
ความสมบูรณ์ของลาตัว ->ทรงตัวปกติ 
1.การเลี้ยงปลาสวยงามเป็นงานอดิเรกของสมาชิกในครอบครัวก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน และ คลายความเครียดได้เป็นอย่างดีเพราะปลาสวยงามสามารถดึงดูดความสนใจได้ทั้งเด็กและ ผู้ใหญ่นอกจากนั้นประการที่สาคัญคือ การเลี้ยงปลาสวยงามจะไม่ส่งเสียงและกลิ่นรบกวนผู้อยู่ บริเวณใกล้เคียงเหมือนกับการเลี้ยงสัตว์ประเภทอื่น 
2.ปลาสวยงามใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ เช่นเลี้ยงประดับตามห้องรับแขก ร้านค้า หรือ ห้างสรรพสินค้าได้เป็นอย่างดี
3.ปลาสวยงามมีส่วนช่วยในการกาจัดแมลง เนื่องจากปลาสวยงามส่วนใหญ่ชอบกินตัวอ่อนของ แมลงเป็นอาหาร เช่น ปลากัด ปลาเทวดา ปลาปอมปาดัวร์ ปลาสอด และปลาหางนกยูง ผู้เลี้ยง ปลาบางรายยังนิยมช้อนลูกน้าเลี้ยงปลาดังกล่าว นอกจากนั้นยังมีการนาปลาหางนกยูงไปปล่อย เลี้ยงในโอ่ง หรือแหล่งน้าขังเพื่อให้ช่วยกาจัดลูกน้า 
4.การเลี้ยงปลาสวยงามทาให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติมากขึ้น เพราะได้เห็นลักษณะการ อยู่ร่วมกันของปลาชนิดต่างๆ การรวมฝูงของปลา ลักษณะการกินอาหาร การเจริญเติบโตและ การเปลี่ยนแปลงสีสันของปลา ตลอดจนการเติบโตและการแพร่ของพรรณไม้น้าบางชนิด 
5. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ชูก้าไกลเดอร์ 
ลักษณะ 
ชูก้า ไกลเดอร์ (Sugar glider) กระรอกบินออสเตรเลีย หรือที่เรียกกันว่า จิงโจ้บิน 
คือ สัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องสาหรับเลี้ยงดูลูกอ่อน(pouch) อยู่ในกลุ่มเดียวกันกับ หมีโคอะล่า และจิงโจ้ ชูก้า ไกลเดอร์มี ถิ่นกาเนิดในเกาะแทสเมเนีย ประเทศออสเตรเลีย และปาปัวนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย 
พวกมันเป็นสัตว์หากินกลางคืน กลางวันจะชอบนอน ใช้ชีวิตส่วนใหญ่บนต้นไม้ เป็นสัตว์สังคมที่ อยู่กันเป็นฝูง ประมาณ 6-10 ตัวนาเข้าประเทศไทยเมื่อปี 2542 ปัจจุบันสามารถเพาะพันธุ์ได้ แล้ว ทั้งนี้ ชูก้าไกลเดอร์ จะมีน้าหนักประมาณ 90-150 กรัม ขนาดของลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลาย หางยาวประมาณ 12 นิ้ว มีขนที่นิ่มละเอียด แน่น เป็นสีเทาหรือน้าตาลตั้งแต่ลาตัวไปจนถึงหาง และ มีแถบสีดาหรือน้าตาลเข้มที่เริ่มระหว่างตา 
และ แผ่ขยายไปจนถึงแผ่นหลัง มีดวงตาที่โปน และมีขนาดใหญ่ ข้างลาตัวมีผังผืด ที่เหยียด จากข้อมือไปจนถึงข้อเท้าทั้งสองข้าง ซึ่งช่วยในการบิน หรือ ร่อน 
ประโยชน์ 
เป็นสัตว์เลี้ยงไว้เล่นด้วยเวลาเหงา หรือคลายเคลียดได้ เวลาที่เลี้ยงมันให้เชื้อง สัตว์ ชนิดนี้จะดูน่ารักและฉลาดมากๆ ยิ่งตอนที่มีคนอื่นมาจับมาเล่น ที่ไม่ใช่เจ้าของชูการ์ไกลเดอร์ก็ จะร้องไว้ก่อน 
6. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6คือ นกเขา 
ลักษณะ 
เป็นนกที่มีขนาดตั้งแต่เล็กมากจนถึงใหญ่ (15-120 เซนติเมตร) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ อ้วนกลม คอสั้น ปากเรียวมีปุ่มเนื้อเหนือปาก ปากเล็ก สันปากบนโค้งเล็กน้อย รูจมูกไม่ทะลุถึง กันเพราะมีผนังกั้น หางยาวปานกลาง ปลายหางมนกลมหรือแหลม ขนหางมี 12-20 เส้น ปีก ยาวปานกลาง ขนปลายปีกมี 11 เส้น (10 เส้นทาหน้าที่ในการบิน) ขนกลางปีกมี 11-15 เส้น และมักไม่มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ขาสั้น หน้าแข้งเป็นเกล็ดแบบซ้อน บริเวณอื่นเป็นเกล็ดแบบ ร่างแห ตัวเต็มวัยไม่มีขนอุย ขนไม่มีแกนขนรองหรือมีแต่เล็กมาก ต่อมน้ามันไม่มีขนปกคลุม หรือไม่มีต่อมน้ามัน ผิวหนังบอบบาง 
ประโยชน์ 
การสื่อสารในสมัยโบราณ ที่ใช้นกพิราบสื่อสาร ที่จะบินกลับถิ่นฐานที่เป็นที่จากมาแม้ว่าจะอยู่ ไกลแค่ไหน ด้วยสนามแม่เหล็กโลก หรือใช้สาหรับแข่งขันกันในการบิน หรือใช้เลี้ยงเป็นอาหาร, เป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม หรือฟังเสียงร้อง ที่สามารถต่อยอดแตกเป็นอาชีพต่าง ๆ ได้ 
7. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7คือ เฟืองฟ้า 
ลักษณะ
เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่มกึ่งเลื้อย ขนาดตั้งแต่พุ่มเล็กถึงพุ่มใหญ่ มีหนามขึ้นตามลาต้นอยู่ ใบ เดี่ยว แตกออก สลับกับกิ่ง หรือเยื้องกัน มีขนขึ้นปกคลุมเล็กน้อย มีสีเขียวหรือใบด่าง รูปร่างรี แหลมยาว 3-6 ซม. กว้าง 2-3 ซม. ใบประดับลักษณะคล้ายรูปหัวใจหรือรูปไข่มี 3-5 ใบ มี หลายสี เช่น ม่วง แดง ชมพู ส้ม ฟ้า เหลืองและอื่นๆ มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและไม่สมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อ ตามซอก ใบหรือปลายกิ่ง แต่ละช่อมี 3 ดอก เป็นหลอดยาว 1-2 ซม. 
ประโยชน์ 
1.ดอกเฟื่องฟ้าสามารถนามาใช้ในการประกอบอาหารได้ เช่น การทาดอกเฟื่องฟ้าชุบ แป้งทอด 
2.ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยมีหลายสีจากหลากหลายสายพันธุ์ นิยมปลูกเป็นไม้ ประดับเป็นซุ้มไม้เลื้อย เป็นซุ้มนั่งเล่น ปลูกในที่สาธารณะ สวนข้างทางเดิน ปลูกเป็นแนวรั้ว ปลูกเป็นไม้กระถาง 
3.ในด้านความเป็นมงคล คนไทยโบราณมีความเชื่อว่า หากบ้านใดปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ เป็นไม้ประจาบ้าน จะสามารถช่วยสร้างคุณค่าของชีวิตให้สูงขึ้น เนื่องจากต้นเฟื่องฟ้าเป็นพรรณ ไม้ที่ได้รับสมญานามว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ประดับ” นอกจากนี้คนไทยโบราณยังมีความเชื่ออีกว่า ต้นเฟื่องฟ้าเป็นไม้มงคลสาคัญของเทศกาลตรุษจีน เพราะต้นเฟื่องฟ้าสามารถออกดอกได้บาน สะพรั่งในช่วงเทศกาลตรุษจีน (จึงเป็นที่มาของการเรียกต้นเฟื่องฟ้าว่า “ต้นตรุษจีน”) ดังนั้นจึงมี ความเชื่อว่า เมื่อช่วงดอกเฟื่องฟ้าบานจะแสดงถึงความเบิกบาน สว่างไสว และความรุ่งเรืองที่ ก้าวไกลแห่งชีวิต และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อยู่อาศัย ควรปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ทาง ทิศตะวันออก และผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธเพื่อเอาคุณ ถ้าจะให้เป็นสิริมงคลยิ่งขึ้น ผู้ปลูกควร เป็นสตรี เพราะเฟื่องฟ้าเป็นราชินีแห่งไม้ประดับ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับสุภาพสตรี 
8. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ สุนัข 
ลักษณะ 
เป็นสุนัขพันธุ์เล็ก รูปร่างที่กระทัดรัดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส และตัน มีหน้าสั้นและย่น ตากลมยื่น ออกมาแลดูอ่อนโยนมีสีดาเป็นประกาย ใบหูสั้นตกลงข้างหัว มีความนุ่มคล้ายกามหยี่ คอสั้นโค้ง เล็กน้อย และมีขนสั้นเกรียนละเอียดเป็นประกาย หางมีลักษณะ บิดเป็นเกลียวชี้ขึ้นม้วนจนเป็น วงติดกับบั้นเอว ถ้าหากหางม้วนได้ถึงสองตลบก็จัดว่าเป็นลักษณะที่สวยสมบูรณ์ทีสุด หายใจ และกรนเสียงดัง 
ประโยชน์ 
เป็นสัตว์เลี้ยงไว้ดูเล่น เป็นเพื่อนคลายเหงา ในกรณีที่สัตว์เลี้ยงมีนิสัยที่ไม่ขี้เล่นกับคนแปลก หน้า จะส่งเสียงเห่าเป็นสัญญาณให้เจ้าของรู้ว่า มีคนแปลกหน้ากาลังเข้ามา 
9. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ อัญชัน 
ลักษณะ 
อัญชันเป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน อายุสั้น ใช้ยอดเลื้อยพัน ลาต้นมีขนปกคลุม ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อยรูปไข่ 5 - 7ใบ กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนหนาปกคลุม ดอกสีขาว ฟ้า และม่วง ดอกออกเดี่ยว ๆ รูปทรงคล้ายฝาหอย เชลล์ออกเป็นคู่ตามซอกใบ กลีบดอกมี 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่จะมีความยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร กลีบคลุมรูปกลม ปลายเว้าเป็นแอ่ง ตรงกลางมีสีเหลือง มีทั้งดอกซ้อนและดอกลา ดอกชั้นเดียวกลีบขั้นนอกมีขนาดใหญ่กลางกลีบสีเหลือง ส่วนกลีบชั้นในขนาดเล็กแต่ดอกซ้อน กลีบดอกมีขนาดเท่ากัน ซ้อนเวียนเป็นเกลียว มีดอกออกเกือบตลอดปี ผลแห้งแตกเป็นฝักแบน กว้าง 1-1.5 เซนติเมตร ยาว 5-8 เซนติเมตร เมล็ดรูปไต สีดา มี 5-10 เมล็ด 
ประโยชน์
- สามารถนามาคั้นเป็นเครื่องดื่ม 
- นามาหุงกับข้าว จะได้ข้าวเป็นสีฟ้า ช่วยเพิ่มสีสันและเป็นสีที่ปลอดภัยจากธรรมชาติ 
- ดอกสามารถช่วยรักษาอาการผมขาดหลุดร่วง และช่วยให้ผมดกดาเงางาม 
10. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ มะละกอ 
ลักษณะ 
มะละกอเป็นไม้ล้มลุก พืชใบเลี้ยงคู่ ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ ด้านบนสุดของลาต้น ภายในก้านและใบมียางเหนียวสีขาว มะละกอบางต้น อาจมีดอกเพศเดียว หรือสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี หนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ายางสีขาวสะสมที่ เปลือก เมื่อผลสุก เนื้อในจะมีสีส้ม ๆ เหลือง ๆ มีเมล็ดสีดาเล็ก ๆ อยู่ภายในรับประทานไม่ได้ 
ประโยชน์ 
นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว ผลดิบเรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกงส้ม หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า พาเพน สามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยา ช่วยย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้ 
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
1. กล้องถ่ายรูป 
2. คอมพิวเตอร์+อินเตอร์เน็ต 
3. กระดาษ 
4. สมุดจดบันทึก 
5. เครื่องเขียน 
6. Website Biogang 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 
1. คุณครูวิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogangและการเข้าร่วมกิจกรรมBiogag 
2. จัดกลุ่มทาโครงงาน โดยการแบ่งกลุ่ม 4-5 คน 
3. ประชุมและปรึกษาว่าจะสารวจชุมชนใด ชุมชนที่ได้ทาการสารวจ คือ ชุมชนวัดเลียบ 
4.ไปที่ชุมชน และ ทาการสารวจว่ามีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้างและมานั่งวางแผนกันในกลุ่มว่าจะเลือก สิ่งมีชีวิตชนิดไหน 
5. เลือกสิ่งมีชีวิตได้แล้วก็สารวจลักษณะของชนิดนั้นและถ่ายรูป คนละ2-3ชนิด 
6. วาดแผนที่ที่กลุ่มทาการสารวจ ว่าในชุมชนนั้น จุดไหนที่เราสารวจ 
7. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตที่เราสารวจ 
8. นาสิ่งมีชีวิตที่เราทาสารวจมาลงเว็บ Bio gang และแคปหน้าจอเว็บนั้นลง Words เพื่อส่งครู 
9. รวมกลุ่มกันเขียนเค้าโครงใส่กระดาษเพื่อส่งให้ครูตรวจ 
10. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดทา E-book ให้สวยงาม และให้ครูตรวจ 
11. จัดเรียงข้อมูลพร้อมนาเสนอ
- แผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนในการทาโครงงาน 
ระยะเวลาในการทา โครงงาน 
1.คุณครูแนะนาเรื่องการสมัคร 
4 ก.ค. 57 
2.แบ่งกลุ่มทาโครงงาน 
7 ก.ค. 57 
3.ประชุมและปรึกษาว่าจะเอาชุมชนไหน 
7 ก.ค. 57 
4.วางแผนนกลุ่มว่างจะเลือกสิ่งมีชีวิตชนิดไหน 
12 ก.ค.57 
5.สารวจลักษณะของสิ่งมีชีวิต 
12-13 ก.ค. 57 
6.วาดแผนที่ในชุมชน 
14-15 ก.ค.57 
7.ศึกษาข้อมูลทางชีวภาพ 
17-20 ก.ค.57 
8.นาสิ่งมีชีวิตที่เราทาการสารวจลงเว็บ Biogang 
23 ก.ค.57 
9.เขียนเค้าโครง 
23-25 ก.ค. 57 
10.รวบรวมข้อมูลทา E-book 
28 ก.ค.- 22 ส.ค. 57 
11.จัดเรียงข้อมูลพร้อมนาเสนอ 
25 ส.ค. 57
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 
http://pirun.ku.ac.th/~b5311400072/page3.html 
http://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8% 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2 
http://www.sgloverclub.com/thread-496-1-1.html 
http://www.fisheries.go.th/fpo-phichit/newproduck/fishyung1.htm 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8% B1%E0%B8%99 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B9%8A%E0%B8%81
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีววภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
ชื่อโครงงงานชีววิทยา 
ชุมชนวัดเลียบ 
ชื่อกลุ่มคือ Power girls 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา 
1. นางสาว ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6 
2. นางสาว สตรีรัตน์ วงษ์ไล ม.6/1 เลขที่ 9 
3. นางสาว สุชานันท์ สิงห์ทอง ม.6/1 เลขที่ 32 
4. นางสาว อารียา ปอโนนสูง ม.6/1 เลขที่ 33 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ 
1. นางสาว ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ แมว 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นกล้วย
2.นางสาว สตรีรัตน์ วงษ์ไล ม.6/1 เลขที่ 9
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ปลาหางนกยูง 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ชูการ์ไกรเดอร์
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ กระต่าย
3.นางสาว สุชานันท์ สิงห์ทอง ม.6/1 เลขที่ 32 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ สุนัขพันธุ์ปั๊ก
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ ดอกอัญชัญ
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นมะละกอ 
4.นางสาว อารียา ปอโนนสูง ม.6/1 เลขที่ 33
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ นกเขา
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ดอกเฟื่องฟ้า
Biomapcontest2014 powergirls

More Related Content

What's hot (20)

รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 

Viewers also liked

Partners in learning thailand forum 2014
Partners in learning thailand forum 2014Partners in learning thailand forum 2014
Partners in learning thailand forum 2014Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยาแบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยาWichai Likitponrak
 
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2Wichai Likitponrak
 
รายงานแข่งขันสมุนไพร
รายงานแข่งขันสมุนไพรรายงานแข่งขันสมุนไพร
รายงานแข่งขันสมุนไพรWichai Likitponrak
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศแบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

Lesson procedure biology M.6
Lesson procedure biology M.6Lesson procedure biology M.6
Lesson procedure biology M.6
 
Worksheet biology M.6
Worksheet biology M.6Worksheet biology M.6
Worksheet biology M.6
 
Partners in learning thailand forum 2014
Partners in learning thailand forum 2014Partners in learning thailand forum 2014
Partners in learning thailand forum 2014
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยาแบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา
 
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
 
Worksheet human kidney
Worksheet human kidneyWorksheet human kidney
Worksheet human kidney
 
รายงานแข่งขันสมุนไพร
รายงานแข่งขันสมุนไพรรายงานแข่งขันสมุนไพร
รายงานแข่งขันสมุนไพร
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศแบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
 
Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5
 

Similar to Biomapcontest2014 powergirls

Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6NutchaWarapho
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 SlidejanjaoKanjanjao
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 

Similar to Biomapcontest2014 powergirls (20)

group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Biomapcontest2014 powergirls

  • 1. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา(Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเลียบ รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยาชื่อกลุ่ม คือ Powergirl 1. น.ส. ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6 2. น.ส. สตรีรัตน์ วงษ์ไล ม. 6/1 เลขที 9 3. น.ส. สุชานันท์ สิงห์ทอง ม. 6/1 เลขที่ 32 4. น.ส. อารียา ปอโนนสูง ม. 6/1 เลขที่ 33 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์ รวมไปจนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็เพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้น ทั้งยังมีความทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาในชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มที่ จะคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกความสบายให้ตนเอง ไม่ว่า จะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การสร้างถนน การสร้างเขื่อน และอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ลดลง รวมถึงทรัพยากรป่าไม้ด้วย คณะผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของส่งมีชีวิตจึงทาศึกษาสิ่งมีชีวิตภายในชุมชนวัดเลียบ ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดล้วนมีความสาคัญต่อระบบนิเวศทั้งสิ้น เพราะห่วงโซ่อาหาร มีความสาคัญ ต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกทั้งผู้ล่าและผู้อาศัย แต่อย่างน้อยก็เป็นการควบคุมประชากร กลุ่มของดิฉันจึงมีแนวคิดที่จะจัดทาโครงงานการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดเลียบ เพื่อ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการเข้าไปศึกษาธรรมชาติ สามารถนาไปศึกษาก่อนว่า มีสิ่งมีชีวิตชนิดไหนน่าสนใจที่สุด ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีจากัดให้คงอยู่สืบไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ทุกคนช่วยอนุรักษ์ สิ่งมีชีวิตในชุมชน 2. เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนวัดเลียบ 3. เพื่อสารวจสิ่งมีชีวิตที่พบในชุมชนวัดเลียบ ว่ามีอะไรบ้าง 4. เพื่อศึกษาลักษณะ ประโยชน์ ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด 3. สมมติฐานของการศึกษา จากที่กลุ่มเราได้ทาการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดเลียบ เพื่อกลุ่มเราจะศึกษาดูว่าแต่ละชนิดนั้น มีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ในการสารวจครั้งนี้กลุ่มเราได้พบสิ่งมีชีวิตมากมาย ทั้งพืช และสัตว์ทั้ง 10 ชนิด คือ ปลา ชูการ์ไกรเด้อ กระต่าย นกสุนัข ดอกอัญชัน ต้นกล้วยเฟืองฟ้า แมว มะละกอ 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1. ทาให้รู้จักการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ 2. ทาให้รู้จักการแบ่งเวลาและการตรงต่อเวลา 3. ทาให้รู้เกี่ยวกับการทางานและมีการวางแผนการทางาน 4. ได้เข้าร่วมกิจกรรมข้อมูลออนไลน์ภายในเว็บ www.biogang.com 5. ได้รู้จักข้อมูลทรัพยากรชีวภาพต่างๆ 6. ทาให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อชุมชนมากขึ้น 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 1. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือแมว ลักษณะ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม อยู่ในตระกูล Felidaeซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับสิงโตและเสือดาว ต้น ตระกูลแมวมาจากเสือไซบีเรียน (Felistigrisaltaica) ซึ่งมีช่วงลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาว ประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลาตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัด อยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้ เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมว ยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นแมวพันธุ์แท้หรือแมวพันทาง
  • 3. โดยทั่วไปมีการแบ่งพันธุ์แมวออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ แมวขนยาว (longhaired cat) และแมวขนสั้น (shorthaired cats) การแบ่งพันธุ์ด้วยวิธีนี้ทาให้จาแนกแมวออกได้ตามลักษณะ พันธุ์ที่จาเพาะต่างๆ กัน การจัดจาแนกแมวในยุโรปและสหรัฐอเมริกามีการกาหนดมาตรฐานของ พันธุ์แมวที่เป็นที่ยอมรับกัน ทั้งนี้ลักษณะมาตรฐานของพันธุ์ก็มีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ การใช้ ชื่อเรียกพันธุ์แมวที่แสดงถึงลักษณะของพันธุ์ที่จาเพาะมีความแตกต่างกันระหว่างในยุโรปและ สหรัฐอเมริกา และมีบางพันธุ์มีการจัดจาแนกเฉพาะต่างหากในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แมวมี มากมายหลายพันธุ์ เช่น แมวเปอร์เซีย แมววิเชียรมาศ ฯลฯ ประโยชน์ แมวไทยตั้งแต่โบราณมามีประโยชน์คือช่วยจับหนู ในปัจจุบันแมวไทยเป็นเครื่อง ตกแต่งที่น่าดู ช่วยเชิดชูสง่าเสริมราศีและให้ความสบายในแก่ผู้เลี้ยงในฐานะเป็นเพื่อนแก้เหงา เด็กๆมักชอบเล่นกับแมวโดยอุ้มหรือลูบไล้เล่น ผู้ชราส่วนมากเป็นสตรีมักชอบเลี้ยงแมวไว้เป็น เพื่อน โดยเฉพาะสุภาพสตรีชาวต่างประเทศที่เลี้ยงแมวมักจะรักแมวมาก จนถึงกับทา พินัยกรรม ยกทรัพย์สมบัติให้แมวก็มี ในตาราดูลักษณะแมวของโบราณก็ได้กล่าวถึงคุณประโยชน์ที่ผู้เลี้ยงแมวลักษณะดีจะ ได้ รับลาภผลยศถาบรรดาศักดิ์และโชคดีมีความสุข ถึงแม้แมวที่ตายแล้วถ้าเก็บกระดูกไว้จะ ใช้ ป้องกันภัยได้และเกิดลาภผล 2. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นกล้วย ลักษณะ กล้วยเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีลาต้นเทียมสูงประมาณ 2-9 เมตร มีลาต้นสั้นๆ อยู่ใต้ดิน (ที่เรียกว่า “ หัว ” ) พร้อมด้วยตาหลายตาเป็นตาแหน่งที่เกิดเหล้าที่เจริญเป็นหน่อ รากแผ่กระจายไปตาม แนวราบ แต่ส่วนมากรากจะอยู่ที่ผิวดิน หน่อมีรูปทรงกระบอก ลาต้นเทียมที่เกิดจากกาบใบที่ทับ สลับกันจนแน่นกอดกันเป็นก้อนกลม - ใบ หรือ ใบตองกล้วยมีขนาดใหญ่ ลักษณะใบเป็นแผ่นยาวประมาณ 1.50 เมตร กว้าง ประมาณ 40.60 ซม. ทรงตัวอยู่ได้ด้วยเส้นกลางใบที่แน่นแข็ง ใบมีการจัดเรียงแบบขนนก มีเส้น ใบขนานกัน - ดอก ออกดอกเป็นช่อห้อยลงมา มีกาบหุ้มมีสีแดงอมม่วง เรียกว่า หัวปลี รูปร่างกลมรี มีดอก ย่อยติดกันเป็นแผง ดอกตัวเมียจะอยู่ที่ฐาน ส่วนดอกตัวผู้จะอยู่ช่วงปลาย - ผล หลังจากดอกตัวเมียเริ่มเจริญเป็นผล ดอกตัวผู้ก็จะร่วงไป ช่อดอกจะเจริญต่อไปเป็นเครือ กล้วยที่ประกอบด้วยหวีกล้วยประมาณ 7-8 หวี ผลกล้วยอ่อนมีสีเขียวพอแก่จะเปลี่ยนเป็นสี เหลือง ประโยชน์ กล้วยเป็นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ใบตองใช้ห่ออาหารและทางานฝีมือหลายชนิด ลา ต้นใช้ทาเชือกกล้วย กระทง กล้วยสามารถนามามาส์กหน้าได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่ ผิว ลดความหยาบกร้านบนผิว ด้วยการใช้กล้วยสุกหนึ่งผลนามาบดให้ละเอียด แล้วเติมน้าผึ้ง 2 ช้อนโต๊ะ จากนั้นคลุกให้เข้ากันแล้วนามาพอกหน้าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีแล้วล้างออก 3. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ กระต่าย ลักษณะ กระต่ายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็ก มีขนปุกปุยทั่วลาตัว มีหางกลมสั้น มีใบหูยาวเมื่อ เทียบกับสัตว์อื่น ซึ่งวิวัฒนาการมาใช้สาหรับฟังเสียงได้เป็นอย่างดี และยังมีประสาทสัมผัสใน การดมกลิ่นที่ดีมาก กระต่ายมีขาหน้าที่มี 5 นิ้ว ขาหลังมี 4 นิ้ว มีสะโพกที่ยาวและทรงพลัง เต็ม ไปด้วยกล้ามเนื้อ จึงสามารถกระโดดได้เป็นอย่างดี เคยมีการประกวดการกระโดดของกระต่ายที่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ กระต่ายตัวที่กระโดดได้สูงที่สุดกระโดดได้สูงถึง 99.5เซนติเมตรเลย ทีเดียว ใต้ฝ่าตีนของกระต่ายมีขนนุ่ม ๆ รองรับอยู่ เพื่อมิให้เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว กระต่ายเป็น
  • 4. สัตว์ที่ตื่นตกใจง่ายและมีความว่องไวปราดเปรียวมากในการระแวดระวังภัย นอกจากนี้แล้วตา ของกระต่ายยังมีหนังตาหรือเปลือกตาถึง 3 ชั้นด้วยกัน ดวงตาของกระต่ายมีลักษณะกลมโต ทา ให้กระต่ายสามารถเหลือบมองภาพด้านหลังได้โดยที่ไม่ต้องหันหัวเลย กระต่ายจัดเป็นสัตว์ที่มี ระบบการมองเห็นที่ดีกว่าสัตว์ชนิดอื่น ๆ มาก แต่กระต่ายสามารถมองเห็นสีได้เพียงแค่ 2 สี เท่านั้น คือ สีเขียวและสีน้าเงิน และจะยิ่งมองได้ชัดเจนขึ้นเมื่ออยู่ในที่มืด ประโยชน์ 1. กระต่ายให้ความเพลิดเพลินการเลี้ยงกระต่ายในประเทศส่วนมากเป็นการเลี้ยงไว้ดูเล่นเพื่อ ความเพลิดเพลินเนื่องจากกระต่ายเป็นสัตว์ที่น่ารักเลี้ยงง่ายกินอาหารได้เกือบทุกประเภททาให้ มีผู้นิยมเลี้ยงกระต่ายกันมากขึ้นเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์กระต่ายจะเป็นเพื่อนเล่นใน ยามที่คุณเงาได้ซึ่งมักจะทาให้คุณมีสุขภาพจิตดีขึ้นกระต่ายยังช่วยทาให้เด็กๆมีนิสัยรักสัตว์มี ความเมตตาปราณีต่อสัตว์และรู้จักความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูกระต่ายซึ่งจะเป็นการ เตรียมพร้อมที่จะก้าวไปเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต 2.ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็กเลี้ยงง่ายโตเร็วขยายพันธุ์ ได้รวดเร็วกายวิภาคและสรีระวิทยาของกระต่ายไม่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ มากนักจึงนิยมใช้กระต่ายในการศึกษาทดลองและงานวิจัยต่างๆทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น 2.1 ใช้ในการเรียนทางสัตววิทยาโดยการผ่ากระต่ายเพื่อศึกษาโครงกระดูกกล้ามเนื้ออวัยวะ ภายในเส้นเลือดและเส้นประสาท 2.2 ใช้ศึกษาฤทธิ์ของยาต่างๆก่อนที่จะนาใช้ในคน 2.3 ใช้ทดสอบความปลอดภัยของยาวัคซีนและเครื่องสารอง 2.4 ช่วยในการวินิจฉัยโรคโดยฉีดเชื้อเข้ากระต่ายแล้วสังเกตอาการเช่นโรคพิษสุนัขบ้าเป็นต้น 2.5 ผลิตชีวภัณฑ์ต่างๆเช่นแอนติบอดี (antibody) เอวินิฉัยโรคสารเร่งการแข็งตัวของเลือดและ เอนไซม์ (enzyme)ที่ใช้การวินิฉัยโรคต่างๆ 2.6ฬช้ตรวจการตั้งครรภ์โดยอาศัยหลัการที่ว่าปัสสาวะของสตรีมีครรภ์เมื่อฉีดเข้ากระต่ายตัวเมีย จะกระตุ้นเหนี่ยวนาให้เกิดการตดใข่ 2.7 ใช้ในงานวิจัยเช่นการฝากย้ายตัวอ่อนสัตว์ (Embryo Transfer) มิการทดลองทาได้สาเร็จ ในกระต่ายเป็นสัวต์ชนิดแรก 3. เป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร กระต่ายเป็นสัวต์เลี้ยงง่ายขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วใช้เนื้อที่น้อย กินอาหารได้หลายชนิดและสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารได้ดีกว่าสัตว์กระเพราะเดียวกันเช่น สัตว์ปีกและสุกรเหมาะสาหรับการเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร 4. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ปลาหางนกยูง ลักษณะ เด่นที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้สายพันธุ์ใหม่ๆ คือ ลักษณะสีและลวดลายบนลาตัวและ ลวดลายบนครีบหางและรูปแบบของครีบหาง ซึ่งในการเรียกสาย พันธุ์ต่างๆ จะถูกตั้งชื่อตามลักษณะ ดังกล่าว ลักษณะที่ดีของปลาหางนกยูง ลักษณะลาตัว ->มีขนาดใหญ่ หนาสมส่วน ไม่คดงอ ลักษณะครีบ ->ครีบหางใหญ่ พริ้วหนา แข็งแรงสมบูรณ์ไม่ฉีกขาด ขณะว่ายน้าพริ้วไม่พับ สีและลวดลาย ->ถูกต้องตามสายพันธุ์ คมเข้มชัดเจน ความสมบูรณ์ของลาตัว ->ทรงตัวปกติ 1.การเลี้ยงปลาสวยงามเป็นงานอดิเรกของสมาชิกในครอบครัวก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน และ คลายความเครียดได้เป็นอย่างดีเพราะปลาสวยงามสามารถดึงดูดความสนใจได้ทั้งเด็กและ ผู้ใหญ่นอกจากนั้นประการที่สาคัญคือ การเลี้ยงปลาสวยงามจะไม่ส่งเสียงและกลิ่นรบกวนผู้อยู่ บริเวณใกล้เคียงเหมือนกับการเลี้ยงสัตว์ประเภทอื่น 2.ปลาสวยงามใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ เช่นเลี้ยงประดับตามห้องรับแขก ร้านค้า หรือ ห้างสรรพสินค้าได้เป็นอย่างดี
  • 5. 3.ปลาสวยงามมีส่วนช่วยในการกาจัดแมลง เนื่องจากปลาสวยงามส่วนใหญ่ชอบกินตัวอ่อนของ แมลงเป็นอาหาร เช่น ปลากัด ปลาเทวดา ปลาปอมปาดัวร์ ปลาสอด และปลาหางนกยูง ผู้เลี้ยง ปลาบางรายยังนิยมช้อนลูกน้าเลี้ยงปลาดังกล่าว นอกจากนั้นยังมีการนาปลาหางนกยูงไปปล่อย เลี้ยงในโอ่ง หรือแหล่งน้าขังเพื่อให้ช่วยกาจัดลูกน้า 4.การเลี้ยงปลาสวยงามทาให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติมากขึ้น เพราะได้เห็นลักษณะการ อยู่ร่วมกันของปลาชนิดต่างๆ การรวมฝูงของปลา ลักษณะการกินอาหาร การเจริญเติบโตและ การเปลี่ยนแปลงสีสันของปลา ตลอดจนการเติบโตและการแพร่ของพรรณไม้น้าบางชนิด 5. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ชูก้าไกลเดอร์ ลักษณะ ชูก้า ไกลเดอร์ (Sugar glider) กระรอกบินออสเตรเลีย หรือที่เรียกกันว่า จิงโจ้บิน คือ สัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องสาหรับเลี้ยงดูลูกอ่อน(pouch) อยู่ในกลุ่มเดียวกันกับ หมีโคอะล่า และจิงโจ้ ชูก้า ไกลเดอร์มี ถิ่นกาเนิดในเกาะแทสเมเนีย ประเทศออสเตรเลีย และปาปัวนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย พวกมันเป็นสัตว์หากินกลางคืน กลางวันจะชอบนอน ใช้ชีวิตส่วนใหญ่บนต้นไม้ เป็นสัตว์สังคมที่ อยู่กันเป็นฝูง ประมาณ 6-10 ตัวนาเข้าประเทศไทยเมื่อปี 2542 ปัจจุบันสามารถเพาะพันธุ์ได้ แล้ว ทั้งนี้ ชูก้าไกลเดอร์ จะมีน้าหนักประมาณ 90-150 กรัม ขนาดของลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลาย หางยาวประมาณ 12 นิ้ว มีขนที่นิ่มละเอียด แน่น เป็นสีเทาหรือน้าตาลตั้งแต่ลาตัวไปจนถึงหาง และ มีแถบสีดาหรือน้าตาลเข้มที่เริ่มระหว่างตา และ แผ่ขยายไปจนถึงแผ่นหลัง มีดวงตาที่โปน และมีขนาดใหญ่ ข้างลาตัวมีผังผืด ที่เหยียด จากข้อมือไปจนถึงข้อเท้าทั้งสองข้าง ซึ่งช่วยในการบิน หรือ ร่อน ประโยชน์ เป็นสัตว์เลี้ยงไว้เล่นด้วยเวลาเหงา หรือคลายเคลียดได้ เวลาที่เลี้ยงมันให้เชื้อง สัตว์ ชนิดนี้จะดูน่ารักและฉลาดมากๆ ยิ่งตอนที่มีคนอื่นมาจับมาเล่น ที่ไม่ใช่เจ้าของชูการ์ไกลเดอร์ก็ จะร้องไว้ก่อน 6. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6คือ นกเขา ลักษณะ เป็นนกที่มีขนาดตั้งแต่เล็กมากจนถึงใหญ่ (15-120 เซนติเมตร) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ อ้วนกลม คอสั้น ปากเรียวมีปุ่มเนื้อเหนือปาก ปากเล็ก สันปากบนโค้งเล็กน้อย รูจมูกไม่ทะลุถึง กันเพราะมีผนังกั้น หางยาวปานกลาง ปลายหางมนกลมหรือแหลม ขนหางมี 12-20 เส้น ปีก ยาวปานกลาง ขนปลายปีกมี 11 เส้น (10 เส้นทาหน้าที่ในการบิน) ขนกลางปีกมี 11-15 เส้น และมักไม่มีขนกลางปีกเส้นที่ 5 ขาสั้น หน้าแข้งเป็นเกล็ดแบบซ้อน บริเวณอื่นเป็นเกล็ดแบบ ร่างแห ตัวเต็มวัยไม่มีขนอุย ขนไม่มีแกนขนรองหรือมีแต่เล็กมาก ต่อมน้ามันไม่มีขนปกคลุม หรือไม่มีต่อมน้ามัน ผิวหนังบอบบาง ประโยชน์ การสื่อสารในสมัยโบราณ ที่ใช้นกพิราบสื่อสาร ที่จะบินกลับถิ่นฐานที่เป็นที่จากมาแม้ว่าจะอยู่ ไกลแค่ไหน ด้วยสนามแม่เหล็กโลก หรือใช้สาหรับแข่งขันกันในการบิน หรือใช้เลี้ยงเป็นอาหาร, เป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม หรือฟังเสียงร้อง ที่สามารถต่อยอดแตกเป็นอาชีพต่าง ๆ ได้ 7. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7คือ เฟืองฟ้า ลักษณะ
  • 6. เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่มกึ่งเลื้อย ขนาดตั้งแต่พุ่มเล็กถึงพุ่มใหญ่ มีหนามขึ้นตามลาต้นอยู่ ใบ เดี่ยว แตกออก สลับกับกิ่ง หรือเยื้องกัน มีขนขึ้นปกคลุมเล็กน้อย มีสีเขียวหรือใบด่าง รูปร่างรี แหลมยาว 3-6 ซม. กว้าง 2-3 ซม. ใบประดับลักษณะคล้ายรูปหัวใจหรือรูปไข่มี 3-5 ใบ มี หลายสี เช่น ม่วง แดง ชมพู ส้ม ฟ้า เหลืองและอื่นๆ มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและไม่สมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อ ตามซอก ใบหรือปลายกิ่ง แต่ละช่อมี 3 ดอก เป็นหลอดยาว 1-2 ซม. ประโยชน์ 1.ดอกเฟื่องฟ้าสามารถนามาใช้ในการประกอบอาหารได้ เช่น การทาดอกเฟื่องฟ้าชุบ แป้งทอด 2.ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยมีหลายสีจากหลากหลายสายพันธุ์ นิยมปลูกเป็นไม้ ประดับเป็นซุ้มไม้เลื้อย เป็นซุ้มนั่งเล่น ปลูกในที่สาธารณะ สวนข้างทางเดิน ปลูกเป็นแนวรั้ว ปลูกเป็นไม้กระถาง 3.ในด้านความเป็นมงคล คนไทยโบราณมีความเชื่อว่า หากบ้านใดปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ เป็นไม้ประจาบ้าน จะสามารถช่วยสร้างคุณค่าของชีวิตให้สูงขึ้น เนื่องจากต้นเฟื่องฟ้าเป็นพรรณ ไม้ที่ได้รับสมญานามว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ประดับ” นอกจากนี้คนไทยโบราณยังมีความเชื่ออีกว่า ต้นเฟื่องฟ้าเป็นไม้มงคลสาคัญของเทศกาลตรุษจีน เพราะต้นเฟื่องฟ้าสามารถออกดอกได้บาน สะพรั่งในช่วงเทศกาลตรุษจีน (จึงเป็นที่มาของการเรียกต้นเฟื่องฟ้าว่า “ต้นตรุษจีน”) ดังนั้นจึงมี ความเชื่อว่า เมื่อช่วงดอกเฟื่องฟ้าบานจะแสดงถึงความเบิกบาน สว่างไสว และความรุ่งเรืองที่ ก้าวไกลแห่งชีวิต และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อยู่อาศัย ควรปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ทาง ทิศตะวันออก และผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธเพื่อเอาคุณ ถ้าจะให้เป็นสิริมงคลยิ่งขึ้น ผู้ปลูกควร เป็นสตรี เพราะเฟื่องฟ้าเป็นราชินีแห่งไม้ประดับ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับสุภาพสตรี 8. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ สุนัข ลักษณะ เป็นสุนัขพันธุ์เล็ก รูปร่างที่กระทัดรัดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส และตัน มีหน้าสั้นและย่น ตากลมยื่น ออกมาแลดูอ่อนโยนมีสีดาเป็นประกาย ใบหูสั้นตกลงข้างหัว มีความนุ่มคล้ายกามหยี่ คอสั้นโค้ง เล็กน้อย และมีขนสั้นเกรียนละเอียดเป็นประกาย หางมีลักษณะ บิดเป็นเกลียวชี้ขึ้นม้วนจนเป็น วงติดกับบั้นเอว ถ้าหากหางม้วนได้ถึงสองตลบก็จัดว่าเป็นลักษณะที่สวยสมบูรณ์ทีสุด หายใจ และกรนเสียงดัง ประโยชน์ เป็นสัตว์เลี้ยงไว้ดูเล่น เป็นเพื่อนคลายเหงา ในกรณีที่สัตว์เลี้ยงมีนิสัยที่ไม่ขี้เล่นกับคนแปลก หน้า จะส่งเสียงเห่าเป็นสัญญาณให้เจ้าของรู้ว่า มีคนแปลกหน้ากาลังเข้ามา 9. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ อัญชัน ลักษณะ อัญชันเป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน อายุสั้น ใช้ยอดเลื้อยพัน ลาต้นมีขนปกคลุม ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อยรูปไข่ 5 - 7ใบ กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนหนาปกคลุม ดอกสีขาว ฟ้า และม่วง ดอกออกเดี่ยว ๆ รูปทรงคล้ายฝาหอย เชลล์ออกเป็นคู่ตามซอกใบ กลีบดอกมี 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่จะมีความยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร กลีบคลุมรูปกลม ปลายเว้าเป็นแอ่ง ตรงกลางมีสีเหลือง มีทั้งดอกซ้อนและดอกลา ดอกชั้นเดียวกลีบขั้นนอกมีขนาดใหญ่กลางกลีบสีเหลือง ส่วนกลีบชั้นในขนาดเล็กแต่ดอกซ้อน กลีบดอกมีขนาดเท่ากัน ซ้อนเวียนเป็นเกลียว มีดอกออกเกือบตลอดปี ผลแห้งแตกเป็นฝักแบน กว้าง 1-1.5 เซนติเมตร ยาว 5-8 เซนติเมตร เมล็ดรูปไต สีดา มี 5-10 เมล็ด ประโยชน์
  • 7. - สามารถนามาคั้นเป็นเครื่องดื่ม - นามาหุงกับข้าว จะได้ข้าวเป็นสีฟ้า ช่วยเพิ่มสีสันและเป็นสีที่ปลอดภัยจากธรรมชาติ - ดอกสามารถช่วยรักษาอาการผมขาดหลุดร่วง และช่วยให้ผมดกดาเงางาม 10. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ มะละกอ ลักษณะ มะละกอเป็นไม้ล้มลุก พืชใบเลี้ยงคู่ ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ ด้านบนสุดของลาต้น ภายในก้านและใบมียางเหนียวสีขาว มะละกอบางต้น อาจมีดอกเพศเดียว หรือสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี หนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ายางสีขาวสะสมที่ เปลือก เมื่อผลสุก เนื้อในจะมีสีส้ม ๆ เหลือง ๆ มีเมล็ดสีดาเล็ก ๆ อยู่ภายในรับประทานไม่ได้ ประโยชน์ นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว ผลดิบเรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกงส้ม หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า พาเพน สามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยา ช่วยย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้ 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 1. กล้องถ่ายรูป 2. คอมพิวเตอร์+อินเตอร์เน็ต 3. กระดาษ 4. สมุดจดบันทึก 5. เครื่องเขียน 6. Website Biogang - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 1. คุณครูวิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogangและการเข้าร่วมกิจกรรมBiogag 2. จัดกลุ่มทาโครงงาน โดยการแบ่งกลุ่ม 4-5 คน 3. ประชุมและปรึกษาว่าจะสารวจชุมชนใด ชุมชนที่ได้ทาการสารวจ คือ ชุมชนวัดเลียบ 4.ไปที่ชุมชน และ ทาการสารวจว่ามีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้างและมานั่งวางแผนกันในกลุ่มว่าจะเลือก สิ่งมีชีวิตชนิดไหน 5. เลือกสิ่งมีชีวิตได้แล้วก็สารวจลักษณะของชนิดนั้นและถ่ายรูป คนละ2-3ชนิด 6. วาดแผนที่ที่กลุ่มทาการสารวจ ว่าในชุมชนนั้น จุดไหนที่เราสารวจ 7. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตที่เราสารวจ 8. นาสิ่งมีชีวิตที่เราทาสารวจมาลงเว็บ Bio gang และแคปหน้าจอเว็บนั้นลง Words เพื่อส่งครู 9. รวมกลุ่มกันเขียนเค้าโครงใส่กระดาษเพื่อส่งให้ครูตรวจ 10. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดทา E-book ให้สวยงาม และให้ครูตรวจ 11. จัดเรียงข้อมูลพร้อมนาเสนอ
  • 8. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน ระยะเวลาในการทา โครงงาน 1.คุณครูแนะนาเรื่องการสมัคร 4 ก.ค. 57 2.แบ่งกลุ่มทาโครงงาน 7 ก.ค. 57 3.ประชุมและปรึกษาว่าจะเอาชุมชนไหน 7 ก.ค. 57 4.วางแผนนกลุ่มว่างจะเลือกสิ่งมีชีวิตชนิดไหน 12 ก.ค.57 5.สารวจลักษณะของสิ่งมีชีวิต 12-13 ก.ค. 57 6.วาดแผนที่ในชุมชน 14-15 ก.ค.57 7.ศึกษาข้อมูลทางชีวภาพ 17-20 ก.ค.57 8.นาสิ่งมีชีวิตที่เราทาการสารวจลงเว็บ Biogang 23 ก.ค.57 9.เขียนเค้าโครง 23-25 ก.ค. 57 10.รวบรวมข้อมูลทา E-book 28 ก.ค.- 22 ส.ค. 57 11.จัดเรียงข้อมูลพร้อมนาเสนอ 25 ส.ค. 57
  • 9. 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง http://pirun.ku.ac.th/~b5311400072/page3.html http://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8% http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2 http://www.sgloverclub.com/thread-496-1-1.html http://www.fisheries.go.th/fpo-phichit/newproduck/fishyung1.htm http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8% B1%E0%B8%99 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B9%8A%E0%B8%81
  • 10. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีววภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net ชื่อโครงงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเลียบ ชื่อกลุ่มคือ Power girls รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา 1. นางสาว ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6 2. นางสาว สตรีรัตน์ วงษ์ไล ม.6/1 เลขที่ 9 3. นางสาว สุชานันท์ สิงห์ทอง ม.6/1 เลขที่ 32 4. นางสาว อารียา ปอโนนสูง ม.6/1 เลขที่ 33 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 1. นางสาว ไพรินทร์ ราษฎรสมบูรณ์ ม. 6/1 เลขที่ 6
  • 11. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ แมว ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นกล้วย
  • 13. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ปลาหางนกยูง ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ชูการ์ไกรเดอร์
  • 15. 3.นางสาว สุชานันท์ สิงห์ทอง ม.6/1 เลขที่ 32 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ สุนัขพันธุ์ปั๊ก
  • 17. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นมะละกอ 4.นางสาว อารียา ปอโนนสูง ม.6/1 เลขที่ 33