SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (The Movement of Life)
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1
ครูผู้สอน
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 การเคลื่อนที่ ( Motile ) หมายถึง การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น กบกระโดด, งูเลื้อย
 การเคลื่อนไหว ( Movement ) หมายถึง การขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่จะไม่มีการ
เคลื่อนที่ เช่น กบจาศีล, งูม้วนขดตัวนิ่ง
* การเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหว ต่างก็เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
* ในสัตว์จะมีการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหว ได้ดีกว่าพืช
โครงร่างสัตว์ (animal skeleton) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. Hydro skeleton or hydrostatic skeleton
2. Hard skeleton
 2.1 Exoskeleton
 2.2 Endoskeleton
4
5
Endoskeleton
6
Exoskeleton
7
8
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม : อมีบา (amoeba)
 โดยแบ่งไซโทพลลลาสซึมเป็น 2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm (เหลว)
 Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น microfilament (เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและ
คลายตัวได้ ทาให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม
 ทาให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium)
 การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement)
 ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก
10
amoeboid movement
การเคลื่อนไหวโดยการใช้แฟลกเจลลัม หรือซิเลีย
การเคลื่อนที่ของยูกลีนาจะอาศัยแฟลกเจลลัม ( Flagellum ) * ใหญ่กว่าซิเลีย
Flagellum อาจมี 1 หรือ 2 เส้น ใช้วิธีพัดโบกไปมา เรียกลักษณะการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า “ การเคลื่อนที่
โดยใช้แฟลกเจลลัม” ( Flagellary movement )
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม การเคลื่อนที่อาศัยซิเลีย ( Cilia ) ที่อยู่รอบลาตัวโบกพัดซิเลียไปข้างหลัง
ทาให้ตัวเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เรียกลักษณะการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า “ การเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลีย”
( Ciliary movement )
จากการศึกษา ซิเลีย และ แฟลกเจลลัม
 พบส่วนประกอบที่คล้ายกัน คือ Microtubule เป็นหลอดเส้นเล็ก ๆ เรียงตัว
เป็นวงอยู่รอบนอก จานวน 9 กลุ่ม กลุ่มละ 2 หลอด และตรงกลางมี 2
หลอด โครงสร้างเป็นแบบ 9 + 2 ส่วนประกอบที่คล้ายกัน คือ Basal body
หรือ Kinetosome เป็นส่วนที่อยู่ลึกลงไปในเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเป็นฐานของซิ
เลีย และแฟลกเจลลัมมีโครงสร้าง 9 + 0
 โครงสร้างของซิเลีย และแฟลกเจลลัม ภายในประกอบด้วย Microtubule
โดยรอบ 9 ชุด ชุดละ 2 แท่ง ตรงกลางมี 2 แท่ง เขียนเป็น 9 + 2
 โคนของซิเลียจะอยู่ติดกับฐานที่เรียกว่า Basal body
 Basal body ประกอบด้วย Microtubule ซึ่งมีอยู่โดยรอบ 9 ชุด ชุดละ 3 แท่ง
ตรงกลางไม่มี เขียนเป็น 9 + 0
Microtubule จะมีแขนยึดติดกัน เรียกว่า Dynein arm
บนแขนนี้จะมี Enzyme ทาหน้าที่สลาย ATP เพื่อให้เกิด
พลังงาน ไปทาให้ Microtubule หดตัว ซิเลียและแฟลก
เจลลัมจึงโบกพัดไปมาได้
14
15
16
17
A kinesin is a protein
belonging to a class
of motor proteins found
in eukaryotic cells.
inesins move
along microtubule (MT)
filaments, and are powered
by the hydrolysis
of adenosine
triphosphate (ATP) (thus
kinesins areATPases). The
active movement of
kinesins supports several
cellular functions
including mitosis, meiosis a
nd transport of cellular
cargo, such as in axonal
transport.
18
CILIARY MOVEMENT
19
FLAGELLAR MOVEMENT
20
A comparison of the beating of flagella and cilia
 มีการเคลื่อนที่ 2 แบบ คือ
1. หกคะเมนตีลังกา โดยอาศัยเทน
ทาเคิล ( Tentacle ) มีลักษณะ
คล้ายหนวดอยู่รอบปาก
2. คืบคลานคล้ายปลิง/ตัวหนอน
การเคลื่อนที่ของไฮดรา (Hydra)
23
แมงกะพรุน
 อาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ขอบกระดิ่ง
และที่ผนังตัว
 ทาให้เกิดแรงดันน้าผลักตัวแมงกะพรุนให้พุ่ง
ไปทิศทางตรงกันข้ามกับน้าที่พ่นออกมา
25
26
การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย (PLANARIA)
 มีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ circular muscle ,longitudinal muscle, oblique muscle
 เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้าหรือคลืบคลาน
 ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อนตัวได้ดียิ่งขึ้น
28
การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม (ROUND WORM)
 ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้าส้มสายชู
 มีเฉพาะกล้ามเนื้อตามยาวของลาตัว (longitudinal muscle)
 การเคลื่อนที่ทาให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา
30
หมึก (SQUID)
 หมึกเป็นสัตว์จาพวกหอยที่มีเปลือกแข็งหุ้มตัว
ลาตัวเป็นรูปกรวยยาว
 คล้ายแมงกะพรุน
 กล้ามเนื้อบริเวณลาตัวมีการหด ทาให้น้าภายใน
ลาตัวพ่นออกมาทางท่อไซฟอน ( Siphon )
 คล้ายการเป่าลูกโป่ง แล้วปล่อย หรือการ
เคลื่อนที่ของเครื่องบิน
 1. Siphon
2. Fin
3. Mantle
การทางานโดยการหดตัวและคลายตัวของ
กล้ามเนื้อแมนเติล ไม่จัดเป็นแอนทาโกนิ
ซึม เพราะเป็นกล้ามเนื้อชุดเดียวดังนั้นการ
เคลื่อนที่ของหมึก จึงอาศัยแรงดันน้า
32
33
หอย (SNAIL)
 ใช้ Foot แลบออกมาเกาะพื้น
แล้วลากตัวเคลื่อนที่ไปด้วยการ
หดตัวของ Foot
หอยเต้าปูน
35
ดาวทะเล (SEA STAR)
 อาศัยแรงดันน้า แต่อาศัยน้าจากภายนอกร่างกายมาช่วยในการเคลื่อนที่ : หอยเม่น เหรียญทะเล
 ใช้รยางค์ที่เรียกว่า Tube feet ( ทิวป์ฟีต ) มีลักษณะเป็นหลอดต่ออยู่กับระบบน้าในร่างกาย
 ระบบท่อน้าของปลาดาว ประกอบด้วย
- Madreporite(มาดรีโพไรต์)
- Ampulla คล้ายกระเบาะอยู่ติดกับ Tube feet
 น้าจะไหลเข้ามาทางมาดรีโพไรต์ จนถึงแอมพูลา กล้ามเนื้อบริเวณแอมพูลลาจะหดตัว ดัน
น้าไปยัง tube feet ทาให้ยืดยาวไป
- การหดตัวของ tube feet หลาย ๆ ครั้งทาให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้
- ปลายสุดของ tube feet จะมีแผ่นดูด ( Sucker ) ทาให้ดาวดูด เกาะติดพื้น การเคลื่อนที่จึงมี
ประสิทธิภาพ
38
การเคลื่อนที่ของไส้เดือน (earth worm)
- กล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวงกลม (circular muscle) อยู่ทางด้านนอก และกล้ามเนื้อตามยาว
(longitudinal muscle) ตลอดลาตัวอยู่ทางด้านใน :
- ใช้ริมฝีปากบน ยึดส่วนหน้าของลาตัวไว้กับดิน แล้วหดตัวของกล้ามเนื้อตามยาว กล้ามเนื้อวงกลมจะ
คลายตัว ดึงส่วนท้ายของลาตัวเคลื่อนที่ตามไปข้างหน้าได้
- ใช้เดือย (setae) จิกดินไว้ เพื่อไม่ให้ส่วนท้ายของลาตัวเคลื่อนที่
- ทางานร่วมกันแบบ Antagonism ทาให้ลาตัวยืดยาวออก
40
ANTAGONISM
Antagonism หมายถึง การทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อเป็นคู่ โดยจะทางานประสานกัน แต่มีทิศทาง
ตรงกันข้าม เช่น
1. เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์จะคลายตัว
2. เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์จะหดตัว
หมายเหตุ…
 กล้ามเนื้อ Flexor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะงอตัว
 กล้ามเนื้อ Extensor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะเหยียดออก
ANTAGONIST OF MUSCLE
42
43
Exoskeleton
-พบในพวก mollusk และแมลง
-เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดยส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized
mineral salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง
-exoskeleton นอกจากจะทาหน้าที่ค้าจุนร่างกายแล้ว ยังช่วยป้องกันการสูญเสียน้า
-การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับ exoskeleton
INSECT
 Exoskeleton เป็นสารพวกไคติน
 ข้อต่อข้อแรกของขากับลาตัว แบบ ball and
socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ
 การเคลื่อนไหวเกิดจาการทางานสลับกันของ
กล้ามเนื้อ flexer กับ extensor เป็นแบบ
antagonism
Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments
Flexor = งอ
Extensor = คลาย
46
47
การเคลื่อนที่ของปลา
 มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ด ช่วยลดแรงเสียดทาน
 เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ทาให้
เกิดการโบกพัดของครีบหาง (cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง (drosal fin)
ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง
 เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว (เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง)
 ครีบอก (pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvicfin) ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของ
สัตว์บก จะทาหน้าที่ช่วยพยุงลาตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
ครีบปลา จาแนกได้ ดังนี้
1. ครีบอก ( Pectoral fin ) ,ครีบตะโพก ( Pelvic fin )เป็นครีบคู่เทียบได้กับขาหน้า และขา
หลังของสัตว์บก ทาหน้าที่พยุงตัวและเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
2. ครีบหาง ( Caudal fin ) ,ครีบหลัง ( Dorsal fin ) เป็นครีบเดี่ยวทาหน้าที่โบกเพื่อเคลื่อนที่
ไปข้างหน้า และเลี้ยวซ้าย ขวา
3. ครีบก้น ( Anal fin ) ช่วยในการทรงตัว ขณะสะบัดหางเมื่อเคลื่อนที่
51
52
ปลากระดูกอ่อน
 เช่น ฉลาม
 ครีบโบกไปมาไม่ได้
 เคลื่อนที่โดยใช้กล้ามเนื้อที่ยึดติด 2 ข้าง ของกระดูกสันหลัง แบบ แอนตาโกนิซึม ทา
ให้ตัวปลาโค้งสลับไปมา คล้าย S และจะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
 อาศัยการโบกของครีบหางร่วมด้วย ทาให้ปลาเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
54
การเคลื่อนที่ของกบ
55
FROG WEB
56
จระเข้
 ใช้รยางค์ คือขาทั้ง 4 ขา ในการเคลื่อนที่
 เนื่องจากรยางค์สั้นจึงก้าวขาไม่พร้อมกัน
งู
 ไม่มีรยางค์
 เคลื่อนที่โดยใช้กล้ามเนื้อลาตัว
และกระดูกสันหลัง
 เคลื่อนที่สลับไปมา แบบ S
การเคลื่อนที่ของนก
 มีกระดูกที่กลวง ทาให้เบา
 มีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่
แข็งแรง
- กล้ามเนื้อ pectoralis major
- กล้ามเนื้อ pectoralis minor
 มีถุงลม (air sac)
 มีขน (feather)
59
60
การทางานของปีก
การขยับปีกขึ้นลงของนก เกิดจากการทางานของกล้ามเนื้อที่ยึดติดระหว่างกระดูกอก
( Sternum ) และกระดูกโคนปีก ( Humerus ) 2 ชุด แบบ Antagonism
กล้ามเนื้อของนกมีกาลังมาก มีสีแดงเข้ม มีโปรตีน Myoglobin ทาหน้าที่นาออกซิเจนมาใช้
ปีกนกมีขนเป็นแผง ทาให้กระพือลมได้ดี
หางช่วยบังคับทิศทางในการบิน และทรงตัว
62
การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล
 มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์ (flipper)
วาฬ ,โลมา, เพนกวิน
 ไม่มีครีบ
 รยางค์เปลี่ยนไปคล้ายใบพาย ( Flipper )
 หางแบน
 เคลื่อนที่โดยการตวัดหัว และหางขึ้นลง
ในแนวดิ่ง
65
66
การเคลื่อนที่ของเสือชีต้า
67
Endoskeleton
-พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
-เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues) หรือภายในร่างกาย
-endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบ่งเป็น
1. cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide
2. bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt)
-นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน
1. Axial skeleton: กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column),
กระดูกซี่โครง (rib)
2. Appendicular skeleton: เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจาก axial skeleton แบ่งเป็น
2.1 Fore-limb bone (กระดูกแขน) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pectoral
girdle (clavicle, scapula)
2.2 Hind-limb bone (กระดูกขา) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pelvic girdle
(ilium, sacrum, pubis, ischium)
(pectoral girdle)
ilium
sacrum
pubis
ischium
สีน้ำเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิน
สีเหลือง คือ กระดูกรยำงค์ 126 ชิน
โครงสร้างของกระดูก
การจาแนกชนิดกระดูก
1. กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่
ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง,
กระดูกน่อง,ไหปลาร้า
2. กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่
ข้อมือ,ข้อเท้า
3. กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่
กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง
4. กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular
bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร
70
กะโหลกศรีษะ (SKULL)
 ประกอบด้วยกระดูกซึ่งทาหน้าที่หุ้มสมอง 8 ชิ้น ที่เชื่อมกันด้วยรอยต่อที่เรียกว่า
suture กระดูกอีกส่วนหนึ่งของกะโหลกศรีษะ ประกอบกันเป็นจมูก ตา หู และกระดูกที่
หุ้มอยู่รอบช่องปาก ได้แก่ กระดูกโคนลิ้น กราม ขากรรไกร
72
73
74
75
76
กระดูกสันหลัง (VERTEBRAL COLUMN)
 เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้าจุนและรองรับน้าหนักของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้น
เล็กๆ ลักษณะเป็นข้อๆติดกัน แต่ละข้อเชื่อมด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ทาให้หลังเป็นรูปทรงอยู่
ได้ และทาหน้าที่หุ้มไขสันหลังป้องกันอันตราย กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นติดต่อกันพอให้
เคลื่อนที่ไปได้เล็กน้อย ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนที่เรียกว่า
intervertebral disc หรือหมอนรองกระดูกคั่นอยู่ โดยทาหน้าที่รองและ
เชื่อมกระดูกแต่ละข้อเข้าด้วยกันและเพื่อป้องกันการเสียดสี กระดูกสันหลังเริ่มจากกระดูก
คอจนถึงกระดูกก้นกบ กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะมีช่องให้ไขสันหลังสอดผ่าน และแต่ละด้าน
จะมีจะงอยยื่นออกมาเป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น
77
78
Vertebral column
79
กระดูกสันหลัง (VERTEBRAL COLUMN)
 กระดูกสันหลังช่วงอกจะมีกระดูกซี่โครงมาเชื่อม กระดูกคอข้อที่ 1 (atlas) เว้าเป็นแอ่ง เพื่อให้
กระดูกคอข้อที่ 2 (axis) มีลักษณะเป็นเดือยสอดเข้าไปในแอ่ง จึงทาให้หมุนคอซ้ายและขวาได้
กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) เดิมมี 5 ชิ้น เชื่อมรวมกันเป็นชิ้นเดียว กระดูกสันหลังส่วนก้นกบ
(Coccygeal vertebrae) ซึ่งเดิมมี 4 ชิ้น เชื่อมกันเป็นกระดูกชิ้นเดียวเพื่อความ
แข็งแรง
80
81
82
กระดูกซี่โครง (RIB) และกระดูกหน้าอก (STERNUM)
 บริเวณอกของคน มีกระดูกซี่โครง (rib) และกระดูกอก (sternum) ทาหน้าที่ป้องกัน
อวัยวะสาคัญของร่างกาย เช่น หัวใจ ปอด
1. กระดูกซี่โครง เป็นกระดูกยาวโค้ง โดยปลายด้านหนึ่งติดต่อกับกระดูกสันหลังส่วนอก อีกด้าน
หนึ่งอยู่ทางด้านหน้าติดต่อกับกระดูกอกมี 12 คู่ กระดูกซี่โครงนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่
ติดต่อกับกระดูกสันหลังเป็นกระดูกแข็งเรียกว่า vertebral rib และส่วนที่ติดต่อกับกระดูก
อกเป็นกระดูกอ่อน ซี่โครง 7 คู่แรกปลายด้านหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังส่วนอก และปลายอีกด้าน
หนึ่งติดกับกระดูกอกโดยตรง จึงเรียกกระดูกซี่โครงคู่ที่ 1-7 ว่า true rib คู่ที่ 8 ,9 ,10
ถัดลงมาข้างล่างมีปลายด้านหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังส่วนอกแต่ปลายอีกด้านหนึ่งไม่ได้ติดกับ
กระดูกอก แต่ไปเชื่อมติดกับกระดูกอ่อนของซี่โครงคู่ที่ 7 จึงเรียกว่า false rib ส่วนคู่ที่ 11
และ 12 มีปลายหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังตอนอก แต่ปลายอีกด้านหนึ่งไม่ติดกับส่วนใด เรียกว่า
ซี่โครงลอย หรือ float rib
83
84
85
กระดูกซี่โครง (RIB) และกระดูกหน้าอก (STERNUM)
2. กระดูกอก เป็นกระดูกสาหรับเป็นที่ยึดของกระดูกซี่โครง ปลายล่างสุดของกระดูกอกเป็น
ส่วนที่เราเรียกว่า กระดูกลิ้นปี่
86
87
กระดูกรยางค์ที่สาคัญ
1. กระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้า ประกอบด้วย กระดูกจานวน 4 ชิ้น คือ กระดูกสะบัก ซ้าย
ขวาและกระดูกไหปลาร้า ซ้าย ขวา
2. กระดุกแขน กระดุกแขนมีลักษณะเป็นท่อนยาว หลายท่อนต่อกัน ประกอบด้วยกระดูกจานวน
60 ชิ้น ได้แก่ กระดูกต้นแขน (humerus) กระดูกปลายแขน กระดูกข้อมือ กระดูกฝ่า
มือ และกระดูกนิ้ว
3. กระดูกขา กระดูกขามีขนาดใหญ่และยาวกว่าแขน ประกอบด้วยกระดุกจานวน 60 ชิ้น ได้แก่
กระดูกต้นขา กระดูกปลายขา 2 ชิ้น คือ กระดูกหน้าแข้ง และกระดูกน่อง กระดูกข้อเท้า กระ
ดุกฝ่าเท้า กระดูกนิ้วเท้า และกระดูกสะบ้าหัวเข่า
4. กระดูกเชิงกราน ประกอบด้วยกระดูก 2 ชิ้นด้านขวาและซ้าย ด้านในของปลายทางหัวติดต่อ
กับกระดูก sacrum กระดูกเชิงกรานแต่ละข้างประกอบด้วยกระดูก 3 ชิ้น เชื่อมกันเป็น
ชิ้นเดียว ตรงที่กระดูกทั้งสามมาเชื่อมกันนี้มีลักษณะเป็นแอ่ง ซึ่งเป็นที่สาหรับรองรับหัวของ
กระดูกโคนขาหรือขา (femur)
88
89
เส้นเอ็นยืดกระดูกไหปลาร้ากับกระดูกสะบักด้านข้าง
(Acromioclavicular ligament :
AC) และ เส้นเอ็นยืดกระดูกไหปลาร้ากับกระดูก
สะบักด้านหน้า (Corococlavicular
ligament : CC)
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
ลักษณะทางกายวิภาคของกระดูก
 เราสามารถจะแยกเนื้อกระดูกออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. Cancellous bone มีลักษณะเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้า ประกอบด้วย กระดูกชิ้นเล็ก ๆ บาง ๆ
เชื่อมโยงกันเป็นร่างแห และมีช่องว่างซึ่งภายในช่องว่างนี้มีไขกระดูก (bone marrow)
2. Compact bone มีลักษณะเนื้อแข็งทึบ (การทาลายโครงสร้างด้วยความร้อนและกรด)
101
102
103
104
105
106
107
Destructive by acid
Destructive by heat
108
109
ลักษณะทางจุลกายวิภาคของกระดูก
 กระดูกประกอบด้วยเซลล์ และ intercellular matrix
 เซลล์กระดูกเรียกว่า osteocyte ฝังตัวอยู่ภายในช่องว่างที่อยู่ภายใน matrix ที่เรียกว่า lacuna
ซึ่งจะติดต่อกับ lacuna ที่อยู่ใกล้เคียงโดยผ่านทาง canaliculi ซึ่งเป็นช่องว่างเล็กๆ ภายใน
canaliculi จะมี cytoplasmic process ของ osteocyte อยู่
 เซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างกระดูก เรียกว่า osteoblast
 พบเซลล์ชนิดนี้ได้ที่บริเวณขอบด้านนอกของเนื้อกระดูก
 เซลล์นี้มีรูปร่างรูปลูกบาศก์ (cuboid) ซึ่งสร้างสารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของ matrix
 เมื่อมันสร้าง matrix หุ้มรอบตัวมันแล้ว มันก็จะกลายเป็น osteocyte ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีรูปร่าง
แบนลงฝังตัวอยู่ภายใน lacuna แล้วมี cytoplasmic process ยื่นออกจากตัวเซลล์ทุกทิศทาง
ลักษณะทางจุลกายวิภาคของกระดูก
112
INTERCELLULAR MATRIX
 แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. สารอินทรีย์ (Organic substance) ประกอบด้วย collagen, glycosaminoglycans,
proteoglycans และ glycoprotein
2. สารอนินทรีย์ (Inorganic substance) ประมาณ 65% เป็นส่วนที่ทาให้กระดูกมีความแข็ง
ประกอบด้วย แคลเซียมฟอสเฟต,แคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ และส่วนน้อยเป็น
แมกนีเซียม,ไฮดรอกไซด์, ฟลูออไรด์และซัลเฟต
114
115
116
117
118
119
120
121
122
ข้อต่อ (articulation หรือ Joint)
- ข้อต่อ: เป็นบริเวณที่กระดูกมาต่อกับ
กระดูก มี synovial memebranes
มาหุ้มบริเวณข้อต่อ เพื่อป้องกันการ
เสียดสีระหว่างกระดูก จะมีกระดูก
อ่อนมาทาหน้าที่เป็นหมอนรอง และ
มี synovial fluid ทาหน้าที่เป็นสาร
หล่อลื่น
-Ligament: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
กระดูกกับกระดูก
-Tendon: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
กล้ามเนื้อกับกระดูก
124
ชนิดข้อต่อ
1. ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่
เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
บางๆ ยึดกระดูกสองชิ้นไว้ หรืออาจหุ้ม
ภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ
2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint)
เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น
ข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูก
อก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง
ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกรานซีกซ้าย
กับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว
3. ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อ
ต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วย
กระดูกอย่างน้อย 2 ชิ้น
126
127
FIBROUS JOINT
128
129
130
131
132
133
โรคข้อเสื่อม (DEGENERATIVE JOINT DISEASE)
 เกิดจากการใช้งาน Synovial joint อย่างหนักเป็นเวลาหลายปี สามารถทาให้เกิดการเสื่อมของข้อได้
 บางครั้งสึกลึกลงไปถึงชั้นกระดูกผิวข้อด้วย
 มีประสิทธิภาพลดลงในแง่การลดแรงกระแทกและหล่อลื่น ผิวข้อจึงเกิดการเสียดสีกับกระดูกกันเอง
มากขึ้น
 เป็นโรคที่พบบ่อยในคนสูงอายุ มีอาการข้อแข็งและปวดข้อ มักเป็นกับข้อที่รับน้าหนัก เช่น ข้อเข่า ข้อ
สะโพก เป็นต้น
135
136
137
138
The skeleton-muscle connection
- การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกัน
ของ nerves, bones, muscles
- การหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ
เป็นการทางานร่วมกันของ
กล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้าม
กัน เช่น การงอแขน
: กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว
(เป็น agonist)
: กล้ามเนื้อ triceps(extensor)
คลายตัว (เป็น antagonist)
140
141
142
143
144
145
กล้ามเนื้อ (Muscular tissue)
กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว
อาจเรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใย
กล้ามเนื้อมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin
กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่
1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
2. กล้ามเนื้อสเกเลทัล (skeletal muscle)
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
ส่วนประกอบที่มีชื่อเฉพาะ
Cell membrane ของเซลล์กล้ามเนื้อ
= Sarcolemma
Cytoplasm = Sarcoplasm
Endoplasmic reticulum
= Sarcoplasmic reticulum
147
148
กล้ามเนื้อสเกเลทัล (Skeletal muscle)
กล้ามเนื้อในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อสเกเลทัล กล้ามเนื้อนี้เกาะยึดติดกับกระดูก สามารถ
หดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (voluntory
muscle)
ลักษณะของเซลล์กล้ามเนื้อเป็นรูปทรงกระบอก ซึ่งมีความยาวมาก เซลล์มีขนาดใหญ่มีหลาย
นิวเคลียสเรียงชิดอยู่กับเยื่อหุ้มเซลล์ มีลายตามขวางคือ มีแถบสีจางสลับกับแถบสีเข้ม ดังนั้น
อาจเรียกกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ว่า กล้ามเนื้อลาย (striated muscle)
Nucleus ของ
muscle fiber
Muscle fiber
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
กล้ามเนื้อหัวใจพบแห่งเดียวคือกล้ามเนื้อที่หัวใจ และผนังของเส้นเลือดใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อ
ที่มีลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่กล้ามเนื้อหัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาท
ส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการทางานเกิดขึ้นติดต่อกันตลอดเวลา
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วย หนึ่งหรือ สองนิวเคลียสอยู่ตรงกลางเซลล์ เซลล์มีขนาดสั้น
กว่าเซลล์กล้ามเนื้อ skeleton และปลายแยกเป็นสองแฉก (bifurcate) ซึ่งจะไปต่อกับเซลล์อื่นๆใน
ลักษณะเป็นร่างแห ที่รอยต่อของเซลล์ด้านขวางจะยึดติดกันแน่น มีลักษณะการเชื่อมโยงอย่างซับซ้อน
เรียกว่า intercalated disc มองเห็นได้ชัดเจนด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา
Intercalated disc
Nucleus อยู่กลางเซลล์
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะมีแอกทิน และ ไมโอซิน แต่การ
เรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะ
เซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่งนิวเคลียสอยู่กลางเซลล์
nucleus
กล้ามเนื้อเรียบอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (involuntory muscle)
พบได้ที่ผนังของอวัยวะภายในระบบต่างๆของร่างกาย และเส้นเลือด
การเรียงตัวประกอบกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ skeleton มีเยื่อ
เกี่ยวพันหุ้มเป็นขั้นตอน และทั้งมัดกล้ามเนื้อจะติดต่อกับเอ็น
ซึ่งไปยึดติดกับกระดูก : tendon
- skeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle
fiber (cell) มารวมกัน
- muscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลาย
นิวเคลียส (หลาย ๆ เซลล์ในระยะแรกรวมกัน)
- แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของ
myofibrils มารวมกัน
- myofibrils : myofilaments 2 ชนิด คือ
1. Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ
regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย
มาพันกัน
2. Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกัน
เป็นมัด
- การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด
light-dark band ซ้าๆ กัน = sarcomere
153
154
155
การที่มองเห็นเซลล์กล้ามเนื้อมีลายตามขวางเนื่องจาก ภายใน sarcoplasm มีเส้นใยฝอยซึ่งเป็น
ส่วนประกอบที่สาคัญทาให้กล้ามเนื้อหดตัวได้เรียกว่า myofibril เป็นจานวนมาก ใน myofibril มี
โปรตีน actin และ myosin เรียงอย่างเป็นระเบียบ มองเห็นมีแถบ (band) หรือเส้น (line) ที่ชัด
และทึบสลับกันไปตลอด
157
การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton
- การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton
เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ
thin filament เรียก sliding-filament
model
- การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ
sarcomere ลดลง, ระยะทางระหว่าง Z line
สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H
zone หายไป
- พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหลัก ๆ
อยู่ในรูปของ creatine phosphate
159
160
161
Sliding-filament model
1.ส่วนหัวของ myosin จับกับ ATP, อยู่
ในรูป low-energy configuration
2.myosin head(ATPase)
สลาย ATP ได้ ADP+Pi, อยู่ในรูป
high-energy configuration
3.myosin head เกิด cross-bridge
กับสาย actin
4.ปล่อย ADP+Pi, myosin กลับสู่ low-energy configuration ทาให้เกิดแรงดึง thin filament เข้ามา
5.ATPโมเลกุลใหม่เข้ามาจับกับ myosin head ทาให้ myosinหลุดจาก actin, เริ่มวงจรใหม่
163
164
การควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ
-skeleton muscle หดตัวเมื่อได้รับการ
กระตุ้นจาก motor neuron
-ในระยะพัก บริเวณที่เป็นตาแหน่งที่
myosin มาเข้าจับ บนสาย actin (myosin
binding site) ถูกปิดด้วยสายของ
tropomyosin โดยการเปิด-ปิดของ
tropomyosin ถูกควบคุมด้วย troponin
complex
-binding site จะเปิดเมื่อ Ca2+ เข้ามาจับ
กับ troponin
166
167
-sarcoplasmic reticulum (SR) เป็นแหล่งเก็บ
Ca2+ ในเซลล์กล้ามเนื้อ
-เมื่อ action potential จาก motor neuron
มาถึงบริเวณ synaptic terminal ทาให้มีการ
หลั่ง Ach ที่ neuromuscular junction, เกิด
depolarization ที่เซลล์กล้ามเนื้อ
-action potential แพร่ไปยังเยื่อเซลล์ของ
กล้ามเนื้อที่เรียกว่า T (transverse) tubules
-ตาแหน่งที่ T tubules สัมผัสกับ SR ทาให้มี
การหลั่ง Ca2+
-การหดตัวของกล้ามเนื้อจะหยุดเมื่อ SR ปั๊ม
Ca2+ จาก cytoplasm กลับเข้ามาเก็บใน SR
Motor end-plate
สรุปการหดตัวของกล้ามเนื้อ
1.Ach หลั่ง
จาก neuron
จับ receptor
2.Action potential เคลื่อนไป T tubule
3.SR หลั่ง Ca2+
4.Ca2+จับtroponin,
binding silt เปิด
5.กล้ามเนื้อหดตัว6.ปั๊มCa2+ กลับสู่ SR
7.tropomyosinปิด binding
site, หยุดการหดตัวของ
กล้ามเนื้อ
170
171
rigor mortis
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION !

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
Kittiya GenEnjoy
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
Thitaree Samphao
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 

Viewers also liked

บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
Intro to nutrition
Intro to nutritionIntro to nutrition
Intro to nutrition
Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
Intro to nutrition
Intro to nutritionIntro to nutrition
Intro to nutrition
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 

Similar to บท3การเคลื่อนที่สมช

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
Utai Sukviwatsirikul
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
Prajak NaJa
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
Surapol Imi
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
Wichai Likitponrak
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
Wichai Likitponrak
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
pitsanu duangkartok
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Computer ITSWKJ
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
Wichai Likitponrak
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
Kru Bio Hazad
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Ta Lattapol
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
พัน พัน
 

Similar to บท3การเคลื่อนที่สมช (20)

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท3การเคลื่อนที่สมช

  • 1. บทที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (The Movement of Life) รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1
  • 2. ครูผู้สอน  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต  การเคลื่อนที่ ( Motile ) หมายถึง การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น กบกระโดด, งูเลื้อย  การเคลื่อนไหว ( Movement ) หมายถึง การขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่จะไม่มีการ เคลื่อนที่ เช่น กบจาศีล, งูม้วนขดตัวนิ่ง * การเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหว ต่างก็เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า * ในสัตว์จะมีการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหว ได้ดีกว่าพืช โครงร่างสัตว์ (animal skeleton) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Hydro skeleton or hydrostatic skeleton 2. Hard skeleton  2.1 Exoskeleton  2.2 Endoskeleton
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 8. 8
  • 9. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม : อมีบา (amoeba)  โดยแบ่งไซโทพลลลาสซึมเป็น 2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm (เหลว)  Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น microfilament (เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและ คลายตัวได้ ทาให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม  ทาให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium)  การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement)  ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก
  • 11. การเคลื่อนไหวโดยการใช้แฟลกเจลลัม หรือซิเลีย การเคลื่อนที่ของยูกลีนาจะอาศัยแฟลกเจลลัม ( Flagellum ) * ใหญ่กว่าซิเลีย Flagellum อาจมี 1 หรือ 2 เส้น ใช้วิธีพัดโบกไปมา เรียกลักษณะการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า “ การเคลื่อนที่ โดยใช้แฟลกเจลลัม” ( Flagellary movement ) การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม การเคลื่อนที่อาศัยซิเลีย ( Cilia ) ที่อยู่รอบลาตัวโบกพัดซิเลียไปข้างหลัง ทาให้ตัวเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เรียกลักษณะการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า “ การเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลีย” ( Ciliary movement )
  • 12. จากการศึกษา ซิเลีย และ แฟลกเจลลัม  พบส่วนประกอบที่คล้ายกัน คือ Microtubule เป็นหลอดเส้นเล็ก ๆ เรียงตัว เป็นวงอยู่รอบนอก จานวน 9 กลุ่ม กลุ่มละ 2 หลอด และตรงกลางมี 2 หลอด โครงสร้างเป็นแบบ 9 + 2 ส่วนประกอบที่คล้ายกัน คือ Basal body หรือ Kinetosome เป็นส่วนที่อยู่ลึกลงไปในเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเป็นฐานของซิ เลีย และแฟลกเจลลัมมีโครงสร้าง 9 + 0  โครงสร้างของซิเลีย และแฟลกเจลลัม ภายในประกอบด้วย Microtubule โดยรอบ 9 ชุด ชุดละ 2 แท่ง ตรงกลางมี 2 แท่ง เขียนเป็น 9 + 2  โคนของซิเลียจะอยู่ติดกับฐานที่เรียกว่า Basal body  Basal body ประกอบด้วย Microtubule ซึ่งมีอยู่โดยรอบ 9 ชุด ชุดละ 3 แท่ง ตรงกลางไม่มี เขียนเป็น 9 + 0
  • 13. Microtubule จะมีแขนยึดติดกัน เรียกว่า Dynein arm บนแขนนี้จะมี Enzyme ทาหน้าที่สลาย ATP เพื่อให้เกิด พลังงาน ไปทาให้ Microtubule หดตัว ซิเลียและแฟลก เจลลัมจึงโบกพัดไปมาได้
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17 A kinesin is a protein belonging to a class of motor proteins found in eukaryotic cells. inesins move along microtubule (MT) filaments, and are powered by the hydrolysis of adenosine triphosphate (ATP) (thus kinesins areATPases). The active movement of kinesins supports several cellular functions including mitosis, meiosis a nd transport of cellular cargo, such as in axonal transport.
  • 18. 18
  • 21. A comparison of the beating of flagella and cilia
  • 22.  มีการเคลื่อนที่ 2 แบบ คือ 1. หกคะเมนตีลังกา โดยอาศัยเทน ทาเคิล ( Tentacle ) มีลักษณะ คล้ายหนวดอยู่รอบปาก 2. คืบคลานคล้ายปลิง/ตัวหนอน การเคลื่อนที่ของไฮดรา (Hydra)
  • 23. 23
  • 25. 25
  • 26. 26
  • 27. การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย (PLANARIA)  มีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ circular muscle ,longitudinal muscle, oblique muscle  เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้าหรือคลืบคลาน  ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อนตัวได้ดียิ่งขึ้น
  • 28. 28
  • 29. การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม (ROUND WORM)  ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้าส้มสายชู  มีเฉพาะกล้ามเนื้อตามยาวของลาตัว (longitudinal muscle)  การเคลื่อนที่ทาให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา
  • 30. 30
  • 31. หมึก (SQUID)  หมึกเป็นสัตว์จาพวกหอยที่มีเปลือกแข็งหุ้มตัว ลาตัวเป็นรูปกรวยยาว  คล้ายแมงกะพรุน  กล้ามเนื้อบริเวณลาตัวมีการหด ทาให้น้าภายใน ลาตัวพ่นออกมาทางท่อไซฟอน ( Siphon )  คล้ายการเป่าลูกโป่ง แล้วปล่อย หรือการ เคลื่อนที่ของเครื่องบิน  1. Siphon 2. Fin 3. Mantle การทางานโดยการหดตัวและคลายตัวของ กล้ามเนื้อแมนเติล ไม่จัดเป็นแอนทาโกนิ ซึม เพราะเป็นกล้ามเนื้อชุดเดียวดังนั้นการ เคลื่อนที่ของหมึก จึงอาศัยแรงดันน้า
  • 32. 32
  • 33. 33
  • 34. หอย (SNAIL)  ใช้ Foot แลบออกมาเกาะพื้น แล้วลากตัวเคลื่อนที่ไปด้วยการ หดตัวของ Foot หอยเต้าปูน
  • 35. 35
  • 36. ดาวทะเล (SEA STAR)  อาศัยแรงดันน้า แต่อาศัยน้าจากภายนอกร่างกายมาช่วยในการเคลื่อนที่ : หอยเม่น เหรียญทะเล  ใช้รยางค์ที่เรียกว่า Tube feet ( ทิวป์ฟีต ) มีลักษณะเป็นหลอดต่ออยู่กับระบบน้าในร่างกาย  ระบบท่อน้าของปลาดาว ประกอบด้วย - Madreporite(มาดรีโพไรต์) - Ampulla คล้ายกระเบาะอยู่ติดกับ Tube feet  น้าจะไหลเข้ามาทางมาดรีโพไรต์ จนถึงแอมพูลา กล้ามเนื้อบริเวณแอมพูลลาจะหดตัว ดัน น้าไปยัง tube feet ทาให้ยืดยาวไป - การหดตัวของ tube feet หลาย ๆ ครั้งทาให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้ - ปลายสุดของ tube feet จะมีแผ่นดูด ( Sucker ) ทาให้ดาวดูด เกาะติดพื้น การเคลื่อนที่จึงมี ประสิทธิภาพ
  • 37.
  • 38. 38
  • 39. การเคลื่อนที่ของไส้เดือน (earth worm) - กล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวงกลม (circular muscle) อยู่ทางด้านนอก และกล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) ตลอดลาตัวอยู่ทางด้านใน : - ใช้ริมฝีปากบน ยึดส่วนหน้าของลาตัวไว้กับดิน แล้วหดตัวของกล้ามเนื้อตามยาว กล้ามเนื้อวงกลมจะ คลายตัว ดึงส่วนท้ายของลาตัวเคลื่อนที่ตามไปข้างหน้าได้ - ใช้เดือย (setae) จิกดินไว้ เพื่อไม่ให้ส่วนท้ายของลาตัวเคลื่อนที่ - ทางานร่วมกันแบบ Antagonism ทาให้ลาตัวยืดยาวออก
  • 40. 40
  • 41. ANTAGONISM Antagonism หมายถึง การทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อเป็นคู่ โดยจะทางานประสานกัน แต่มีทิศทาง ตรงกันข้าม เช่น 1. เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์จะคลายตัว 2. เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์จะหดตัว หมายเหตุ…  กล้ามเนื้อ Flexor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะงอตัว  กล้ามเนื้อ Extensor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะเหยียดออก
  • 43. 43
  • 44. Exoskeleton -พบในพวก mollusk และแมลง -เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดยส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized mineral salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง -exoskeleton นอกจากจะทาหน้าที่ค้าจุนร่างกายแล้ว ยังช่วยป้องกันการสูญเสียน้า -การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับ exoskeleton INSECT  Exoskeleton เป็นสารพวกไคติน  ข้อต่อข้อแรกของขากับลาตัว แบบ ball and socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ  การเคลื่อนไหวเกิดจาการทางานสลับกันของ กล้ามเนื้อ flexer กับ extensor เป็นแบบ antagonism
  • 45. Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments Flexor = งอ Extensor = คลาย
  • 46. 46
  • 47. 47
  • 48.
  • 49. การเคลื่อนที่ของปลา  มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ด ช่วยลดแรงเสียดทาน  เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ทาให้ เกิดการโบกพัดของครีบหาง (cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง (drosal fin) ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง  เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว (เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง)  ครีบอก (pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvicfin) ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของ สัตว์บก จะทาหน้าที่ช่วยพยุงลาตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
  • 50. ครีบปลา จาแนกได้ ดังนี้ 1. ครีบอก ( Pectoral fin ) ,ครีบตะโพก ( Pelvic fin )เป็นครีบคู่เทียบได้กับขาหน้า และขา หลังของสัตว์บก ทาหน้าที่พยุงตัวและเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 2. ครีบหาง ( Caudal fin ) ,ครีบหลัง ( Dorsal fin ) เป็นครีบเดี่ยวทาหน้าที่โบกเพื่อเคลื่อนที่ ไปข้างหน้า และเลี้ยวซ้าย ขวา 3. ครีบก้น ( Anal fin ) ช่วยในการทรงตัว ขณะสะบัดหางเมื่อเคลื่อนที่
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. ปลากระดูกอ่อน  เช่น ฉลาม  ครีบโบกไปมาไม่ได้  เคลื่อนที่โดยใช้กล้ามเนื้อที่ยึดติด 2 ข้าง ของกระดูกสันหลัง แบบ แอนตาโกนิซึม ทา ให้ตัวปลาโค้งสลับไปมา คล้าย S และจะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา  อาศัยการโบกของครีบหางร่วมด้วย ทาให้ปลาเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
  • 54. 54
  • 57. จระเข้  ใช้รยางค์ คือขาทั้ง 4 ขา ในการเคลื่อนที่  เนื่องจากรยางค์สั้นจึงก้าวขาไม่พร้อมกัน งู  ไม่มีรยางค์  เคลื่อนที่โดยใช้กล้ามเนื้อลาตัว และกระดูกสันหลัง  เคลื่อนที่สลับไปมา แบบ S
  • 58. การเคลื่อนที่ของนก  มีกระดูกที่กลวง ทาให้เบา  มีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่ แข็งแรง - กล้ามเนื้อ pectoralis major - กล้ามเนื้อ pectoralis minor  มีถุงลม (air sac)  มีขน (feather)
  • 59. 59
  • 60. 60
  • 61. การทางานของปีก การขยับปีกขึ้นลงของนก เกิดจากการทางานของกล้ามเนื้อที่ยึดติดระหว่างกระดูกอก ( Sternum ) และกระดูกโคนปีก ( Humerus ) 2 ชุด แบบ Antagonism กล้ามเนื้อของนกมีกาลังมาก มีสีแดงเข้ม มีโปรตีน Myoglobin ทาหน้าที่นาออกซิเจนมาใช้ ปีกนกมีขนเป็นแผง ทาให้กระพือลมได้ดี หางช่วยบังคับทิศทางในการบิน และทรงตัว
  • 62. 62
  • 63. การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล  มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์ (flipper)
  • 64. วาฬ ,โลมา, เพนกวิน  ไม่มีครีบ  รยางค์เปลี่ยนไปคล้ายใบพาย ( Flipper )  หางแบน  เคลื่อนที่โดยการตวัดหัว และหางขึ้นลง ในแนวดิ่ง
  • 65. 65
  • 66. 66
  • 68. Endoskeleton -พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด -เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues) หรือภายในร่างกาย -endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบ่งเป็น 1. cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide 2. bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt) -นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน 1. Axial skeleton: กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column), กระดูกซี่โครง (rib) 2. Appendicular skeleton: เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจาก axial skeleton แบ่งเป็น 2.1 Fore-limb bone (กระดูกแขน) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pectoral girdle (clavicle, scapula) 2.2 Hind-limb bone (กระดูกขา) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pelvic girdle (ilium, sacrum, pubis, ischium)
  • 69. (pectoral girdle) ilium sacrum pubis ischium สีน้ำเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิน สีเหลือง คือ กระดูกรยำงค์ 126 ชิน โครงสร้างของกระดูก การจาแนกชนิดกระดูก 1. กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง, กระดูกน่อง,ไหปลาร้า 2. กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่ ข้อมือ,ข้อเท้า 3. กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง 4. กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร
  • 70. 70
  • 71.
  • 72. กะโหลกศรีษะ (SKULL)  ประกอบด้วยกระดูกซึ่งทาหน้าที่หุ้มสมอง 8 ชิ้น ที่เชื่อมกันด้วยรอยต่อที่เรียกว่า suture กระดูกอีกส่วนหนึ่งของกะโหลกศรีษะ ประกอบกันเป็นจมูก ตา หู และกระดูกที่ หุ้มอยู่รอบช่องปาก ได้แก่ กระดูกโคนลิ้น กราม ขากรรไกร 72
  • 73. 73
  • 74. 74
  • 75. 75
  • 76. 76
  • 77. กระดูกสันหลัง (VERTEBRAL COLUMN)  เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้าจุนและรองรับน้าหนักของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้น เล็กๆ ลักษณะเป็นข้อๆติดกัน แต่ละข้อเชื่อมด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ทาให้หลังเป็นรูปทรงอยู่ ได้ และทาหน้าที่หุ้มไขสันหลังป้องกันอันตราย กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นติดต่อกันพอให้ เคลื่อนที่ไปได้เล็กน้อย ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนที่เรียกว่า intervertebral disc หรือหมอนรองกระดูกคั่นอยู่ โดยทาหน้าที่รองและ เชื่อมกระดูกแต่ละข้อเข้าด้วยกันและเพื่อป้องกันการเสียดสี กระดูกสันหลังเริ่มจากกระดูก คอจนถึงกระดูกก้นกบ กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะมีช่องให้ไขสันหลังสอดผ่าน และแต่ละด้าน จะมีจะงอยยื่นออกมาเป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น 77
  • 79. 79
  • 80. กระดูกสันหลัง (VERTEBRAL COLUMN)  กระดูกสันหลังช่วงอกจะมีกระดูกซี่โครงมาเชื่อม กระดูกคอข้อที่ 1 (atlas) เว้าเป็นแอ่ง เพื่อให้ กระดูกคอข้อที่ 2 (axis) มีลักษณะเป็นเดือยสอดเข้าไปในแอ่ง จึงทาให้หมุนคอซ้ายและขวาได้ กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) เดิมมี 5 ชิ้น เชื่อมรวมกันเป็นชิ้นเดียว กระดูกสันหลังส่วนก้นกบ (Coccygeal vertebrae) ซึ่งเดิมมี 4 ชิ้น เชื่อมกันเป็นกระดูกชิ้นเดียวเพื่อความ แข็งแรง 80
  • 81. 81
  • 82. 82
  • 83. กระดูกซี่โครง (RIB) และกระดูกหน้าอก (STERNUM)  บริเวณอกของคน มีกระดูกซี่โครง (rib) และกระดูกอก (sternum) ทาหน้าที่ป้องกัน อวัยวะสาคัญของร่างกาย เช่น หัวใจ ปอด 1. กระดูกซี่โครง เป็นกระดูกยาวโค้ง โดยปลายด้านหนึ่งติดต่อกับกระดูกสันหลังส่วนอก อีกด้าน หนึ่งอยู่ทางด้านหน้าติดต่อกับกระดูกอกมี 12 คู่ กระดูกซี่โครงนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ ติดต่อกับกระดูกสันหลังเป็นกระดูกแข็งเรียกว่า vertebral rib และส่วนที่ติดต่อกับกระดูก อกเป็นกระดูกอ่อน ซี่โครง 7 คู่แรกปลายด้านหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังส่วนอก และปลายอีกด้าน หนึ่งติดกับกระดูกอกโดยตรง จึงเรียกกระดูกซี่โครงคู่ที่ 1-7 ว่า true rib คู่ที่ 8 ,9 ,10 ถัดลงมาข้างล่างมีปลายด้านหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังส่วนอกแต่ปลายอีกด้านหนึ่งไม่ได้ติดกับ กระดูกอก แต่ไปเชื่อมติดกับกระดูกอ่อนของซี่โครงคู่ที่ 7 จึงเรียกว่า false rib ส่วนคู่ที่ 11 และ 12 มีปลายหนึ่งติดกับกระดูกสันหลังตอนอก แต่ปลายอีกด้านหนึ่งไม่ติดกับส่วนใด เรียกว่า ซี่โครงลอย หรือ float rib 83
  • 84. 84
  • 85. 85
  • 86. กระดูกซี่โครง (RIB) และกระดูกหน้าอก (STERNUM) 2. กระดูกอก เป็นกระดูกสาหรับเป็นที่ยึดของกระดูกซี่โครง ปลายล่างสุดของกระดูกอกเป็น ส่วนที่เราเรียกว่า กระดูกลิ้นปี่ 86
  • 87. 87
  • 88. กระดูกรยางค์ที่สาคัญ 1. กระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้า ประกอบด้วย กระดูกจานวน 4 ชิ้น คือ กระดูกสะบัก ซ้าย ขวาและกระดูกไหปลาร้า ซ้าย ขวา 2. กระดุกแขน กระดุกแขนมีลักษณะเป็นท่อนยาว หลายท่อนต่อกัน ประกอบด้วยกระดูกจานวน 60 ชิ้น ได้แก่ กระดูกต้นแขน (humerus) กระดูกปลายแขน กระดูกข้อมือ กระดูกฝ่า มือ และกระดูกนิ้ว 3. กระดูกขา กระดูกขามีขนาดใหญ่และยาวกว่าแขน ประกอบด้วยกระดุกจานวน 60 ชิ้น ได้แก่ กระดูกต้นขา กระดูกปลายขา 2 ชิ้น คือ กระดูกหน้าแข้ง และกระดูกน่อง กระดูกข้อเท้า กระ ดุกฝ่าเท้า กระดูกนิ้วเท้า และกระดูกสะบ้าหัวเข่า 4. กระดูกเชิงกราน ประกอบด้วยกระดูก 2 ชิ้นด้านขวาและซ้าย ด้านในของปลายทางหัวติดต่อ กับกระดูก sacrum กระดูกเชิงกรานแต่ละข้างประกอบด้วยกระดูก 3 ชิ้น เชื่อมกันเป็น ชิ้นเดียว ตรงที่กระดูกทั้งสามมาเชื่อมกันนี้มีลักษณะเป็นแอ่ง ซึ่งเป็นที่สาหรับรองรับหัวของ กระดูกโคนขาหรือขา (femur) 88
  • 89. 89 เส้นเอ็นยืดกระดูกไหปลาร้ากับกระดูกสะบักด้านข้าง (Acromioclavicular ligament : AC) และ เส้นเอ็นยืดกระดูกไหปลาร้ากับกระดูก สะบักด้านหน้า (Corococlavicular ligament : CC)
  • 90. 90
  • 91. 91
  • 92. 92
  • 93. 93
  • 94. 94
  • 95. 95
  • 96. 96
  • 97. 97
  • 98. 98
  • 99. 99
  • 100. ลักษณะทางกายวิภาคของกระดูก  เราสามารถจะแยกเนื้อกระดูกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. Cancellous bone มีลักษณะเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้า ประกอบด้วย กระดูกชิ้นเล็ก ๆ บาง ๆ เชื่อมโยงกันเป็นร่างแห และมีช่องว่างซึ่งภายในช่องว่างนี้มีไขกระดูก (bone marrow) 2. Compact bone มีลักษณะเนื้อแข็งทึบ (การทาลายโครงสร้างด้วยความร้อนและกรด)
  • 101. 101
  • 102. 102
  • 103. 103
  • 104. 104
  • 105. 105
  • 106. 106
  • 108. 108
  • 109. 109
  • 110. ลักษณะทางจุลกายวิภาคของกระดูก  กระดูกประกอบด้วยเซลล์ และ intercellular matrix  เซลล์กระดูกเรียกว่า osteocyte ฝังตัวอยู่ภายในช่องว่างที่อยู่ภายใน matrix ที่เรียกว่า lacuna ซึ่งจะติดต่อกับ lacuna ที่อยู่ใกล้เคียงโดยผ่านทาง canaliculi ซึ่งเป็นช่องว่างเล็กๆ ภายใน canaliculi จะมี cytoplasmic process ของ osteocyte อยู่
  • 111.  เซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างกระดูก เรียกว่า osteoblast  พบเซลล์ชนิดนี้ได้ที่บริเวณขอบด้านนอกของเนื้อกระดูก  เซลล์นี้มีรูปร่างรูปลูกบาศก์ (cuboid) ซึ่งสร้างสารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของ matrix  เมื่อมันสร้าง matrix หุ้มรอบตัวมันแล้ว มันก็จะกลายเป็น osteocyte ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีรูปร่าง แบนลงฝังตัวอยู่ภายใน lacuna แล้วมี cytoplasmic process ยื่นออกจากตัวเซลล์ทุกทิศทาง ลักษณะทางจุลกายวิภาคของกระดูก
  • 112. 112
  • 113. INTERCELLULAR MATRIX  แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. สารอินทรีย์ (Organic substance) ประกอบด้วย collagen, glycosaminoglycans, proteoglycans และ glycoprotein 2. สารอนินทรีย์ (Inorganic substance) ประมาณ 65% เป็นส่วนที่ทาให้กระดูกมีความแข็ง ประกอบด้วย แคลเซียมฟอสเฟต,แคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ และส่วนน้อยเป็น แมกนีเซียม,ไฮดรอกไซด์, ฟลูออไรด์และซัลเฟต
  • 114. 114
  • 115. 115
  • 116. 116
  • 117. 117
  • 118. 118
  • 119. 119
  • 120. 120
  • 121. 121
  • 122. 122
  • 123. ข้อต่อ (articulation หรือ Joint) - ข้อต่อ: เป็นบริเวณที่กระดูกมาต่อกับ กระดูก มี synovial memebranes มาหุ้มบริเวณข้อต่อ เพื่อป้องกันการ เสียดสีระหว่างกระดูก จะมีกระดูก อ่อนมาทาหน้าที่เป็นหมอนรอง และ มี synovial fluid ทาหน้าที่เป็นสาร หล่อลื่น -Ligament: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง กระดูกกับกระดูก -Tendon: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง กล้ามเนื้อกับกระดูก
  • 124. 124
  • 125. ชนิดข้อต่อ 1. ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่ เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน บางๆ ยึดกระดูกสองชิ้นไว้ หรืออาจหุ้ม ภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ 2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น ข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูก อก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกรานซีกซ้าย กับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว 3. ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อ ต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วย กระดูกอย่างน้อย 2 ชิ้น
  • 126. 126
  • 127. 127
  • 129. 129
  • 130. 130
  • 131. 131
  • 132. 132
  • 133. 133
  • 134. โรคข้อเสื่อม (DEGENERATIVE JOINT DISEASE)  เกิดจากการใช้งาน Synovial joint อย่างหนักเป็นเวลาหลายปี สามารถทาให้เกิดการเสื่อมของข้อได้  บางครั้งสึกลึกลงไปถึงชั้นกระดูกผิวข้อด้วย  มีประสิทธิภาพลดลงในแง่การลดแรงกระแทกและหล่อลื่น ผิวข้อจึงเกิดการเสียดสีกับกระดูกกันเอง มากขึ้น  เป็นโรคที่พบบ่อยในคนสูงอายุ มีอาการข้อแข็งและปวดข้อ มักเป็นกับข้อที่รับน้าหนัก เช่น ข้อเข่า ข้อ สะโพก เป็นต้น
  • 135. 135
  • 136. 136
  • 137. 137
  • 138. 138
  • 139. The skeleton-muscle connection - การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกัน ของ nerves, bones, muscles - การหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ เป็นการทางานร่วมกันของ กล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้าม กัน เช่น การงอแขน : กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) : กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เป็น antagonist)
  • 140. 140
  • 141. 141
  • 142. 142
  • 143. 143
  • 144. 144
  • 145. 145
  • 146. กล้ามเนื้อ (Muscular tissue) กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจเรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใย กล้ามเนื้อมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่ 1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) 2. กล้ามเนื้อสเกเลทัล (skeletal muscle) 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ส่วนประกอบที่มีชื่อเฉพาะ Cell membrane ของเซลล์กล้ามเนื้อ = Sarcolemma Cytoplasm = Sarcoplasm Endoplasmic reticulum = Sarcoplasmic reticulum
  • 147. 147
  • 148. 148
  • 149. กล้ามเนื้อสเกเลทัล (Skeletal muscle) กล้ามเนื้อในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อสเกเลทัล กล้ามเนื้อนี้เกาะยึดติดกับกระดูก สามารถ หดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (voluntory muscle) ลักษณะของเซลล์กล้ามเนื้อเป็นรูปทรงกระบอก ซึ่งมีความยาวมาก เซลล์มีขนาดใหญ่มีหลาย นิวเคลียสเรียงชิดอยู่กับเยื่อหุ้มเซลล์ มีลายตามขวางคือ มีแถบสีจางสลับกับแถบสีเข้ม ดังนั้น อาจเรียกกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ว่า กล้ามเนื้อลาย (striated muscle) Nucleus ของ muscle fiber Muscle fiber
  • 150. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) กล้ามเนื้อหัวใจพบแห่งเดียวคือกล้ามเนื้อที่หัวใจ และผนังของเส้นเลือดใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อ ที่มีลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่กล้ามเนื้อหัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาท ส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการทางานเกิดขึ้นติดต่อกันตลอดเวลา เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วย หนึ่งหรือ สองนิวเคลียสอยู่ตรงกลางเซลล์ เซลล์มีขนาดสั้น กว่าเซลล์กล้ามเนื้อ skeleton และปลายแยกเป็นสองแฉก (bifurcate) ซึ่งจะไปต่อกับเซลล์อื่นๆใน ลักษณะเป็นร่างแห ที่รอยต่อของเซลล์ด้านขวางจะยึดติดกันแน่น มีลักษณะการเชื่อมโยงอย่างซับซ้อน เรียกว่า intercalated disc มองเห็นได้ชัดเจนด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา Intercalated disc Nucleus อยู่กลางเซลล์
  • 151. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะมีแอกทิน และ ไมโอซิน แต่การ เรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะ เซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่งนิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ nucleus กล้ามเนื้อเรียบอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (involuntory muscle) พบได้ที่ผนังของอวัยวะภายในระบบต่างๆของร่างกาย และเส้นเลือด
  • 152. การเรียงตัวประกอบกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ skeleton มีเยื่อ เกี่ยวพันหุ้มเป็นขั้นตอน และทั้งมัดกล้ามเนื้อจะติดต่อกับเอ็น ซึ่งไปยึดติดกับกระดูก : tendon - skeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle fiber (cell) มารวมกัน - muscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลาย นิวเคลียส (หลาย ๆ เซลล์ในระยะแรกรวมกัน) - แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของ myofibrils มารวมกัน - myofibrils : myofilaments 2 ชนิด คือ 1. Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน 2. Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกัน เป็นมัด - การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด light-dark band ซ้าๆ กัน = sarcomere
  • 153. 153
  • 154. 154
  • 155. 155
  • 156. การที่มองเห็นเซลล์กล้ามเนื้อมีลายตามขวางเนื่องจาก ภายใน sarcoplasm มีเส้นใยฝอยซึ่งเป็น ส่วนประกอบที่สาคัญทาให้กล้ามเนื้อหดตัวได้เรียกว่า myofibril เป็นจานวนมาก ใน myofibril มี โปรตีน actin และ myosin เรียงอย่างเป็นระเบียบ มองเห็นมีแถบ (band) หรือเส้น (line) ที่ชัด และทึบสลับกันไปตลอด
  • 157. 157
  • 158. การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton - การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament เรียก sliding-filament model - การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทางระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H zone หายไป - พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหลัก ๆ อยู่ในรูปของ creatine phosphate
  • 159. 159
  • 160. 160
  • 161. 161
  • 162. Sliding-filament model 1.ส่วนหัวของ myosin จับกับ ATP, อยู่ ในรูป low-energy configuration 2.myosin head(ATPase) สลาย ATP ได้ ADP+Pi, อยู่ในรูป high-energy configuration 3.myosin head เกิด cross-bridge กับสาย actin 4.ปล่อย ADP+Pi, myosin กลับสู่ low-energy configuration ทาให้เกิดแรงดึง thin filament เข้ามา 5.ATPโมเลกุลใหม่เข้ามาจับกับ myosin head ทาให้ myosinหลุดจาก actin, เริ่มวงจรใหม่
  • 163. 163
  • 164. 164
  • 165. การควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ -skeleton muscle หดตัวเมื่อได้รับการ กระตุ้นจาก motor neuron -ในระยะพัก บริเวณที่เป็นตาแหน่งที่ myosin มาเข้าจับ บนสาย actin (myosin binding site) ถูกปิดด้วยสายของ tropomyosin โดยการเปิด-ปิดของ tropomyosin ถูกควบคุมด้วย troponin complex -binding site จะเปิดเมื่อ Ca2+ เข้ามาจับ กับ troponin
  • 166. 166
  • 167. 167
  • 168. -sarcoplasmic reticulum (SR) เป็นแหล่งเก็บ Ca2+ ในเซลล์กล้ามเนื้อ -เมื่อ action potential จาก motor neuron มาถึงบริเวณ synaptic terminal ทาให้มีการ หลั่ง Ach ที่ neuromuscular junction, เกิด depolarization ที่เซลล์กล้ามเนื้อ -action potential แพร่ไปยังเยื่อเซลล์ของ กล้ามเนื้อที่เรียกว่า T (transverse) tubules -ตาแหน่งที่ T tubules สัมผัสกับ SR ทาให้มี การหลั่ง Ca2+ -การหดตัวของกล้ามเนื้อจะหยุดเมื่อ SR ปั๊ม Ca2+ จาก cytoplasm กลับเข้ามาเก็บใน SR Motor end-plate
  • 169. สรุปการหดตัวของกล้ามเนื้อ 1.Ach หลั่ง จาก neuron จับ receptor 2.Action potential เคลื่อนไป T tubule 3.SR หลั่ง Ca2+ 4.Ca2+จับtroponin, binding silt เปิด 5.กล้ามเนื้อหดตัว6.ปั๊มCa2+ กลับสู่ SR 7.tropomyosinปิด binding site, หยุดการหดตัวของ กล้ามเนื้อ
  • 170. 170
  • 172. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION !