SlideShare a Scribd company logo
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สอนโดย..ครูกฤติยา จงรักษ์
ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มี
ชีวิต)
เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของ
สิ่งมีชีวิต
Organism Population Community Ecosystem Bioshere
มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ
 องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) Abiotic Factor
เช่น แสง ดิน แร่ธาตุ น้า ความชื้น อุณหภูมิ ลม ลักษณะของสิงมีชีวิต
การแพร่กระจาย พฤติกรรม และจานวนของสิ่งมีชีวิต
 องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) Biotic Factor
ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศย่อยๆ
หลายระบบ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่
คล้ายคลึงกันเป็ นบริเวณกว้างขวาง กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ
กัน
@@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัย
ทางกายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็ นตัวกาหนด
- ไบโอมป่ าดิบชื้น ไบโอมป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น
- ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา
- ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย
- ไบโอมป่ าสน
2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม
- แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง
- ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่ าชายเลน)
- แนวปะการัง - ทะเลสาบ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ไบโอมบนบก
(Terrestial biomes)
ไบโอมในน้า
(Aquatic biomes)
1. ไบโอมป่ าดิบชื้น ( Tropical rain forest )
- พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้
แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้
- ลักษณะภูมิอากาศ ร้อนและชื้น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมากกว่า 17°C
- มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี
- พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปี ชีส์ (High biodiversity)
- อุดมสมบูรณ์มาก มีต้นไม่ขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ
- มีไม้เลื้อย พวกหวายและอิปิ ไฟต์ (Epiphyte) พืชล้มลุกและเฟิร์น
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
ไบโอมป่ าดิบชื้น ( Tropical rain forest )
 ป่าดงดิบแล้ง (dry evergreen forest)
 ป่าดงดิบเขา (hill evergreen forest)
 ป่าเมฆคลุม (cloud forest)
 ป่าเบญจพรรณ (mixed deciduous forest)
forest)
 ป่าชายเลน (mangrove forest) เป็นต้น
 ชื่อเสียงรู้จักกันดีเมื่อพูดถึงป่าเขตร้อนชื้น
นั้นก็คือป่ าฝนเขตร้อนชื้น (tropical rain
rain forest) หรือป่ าดิบชื้นนั่นเอง
รากพอน (buttress root)
2. ไบโอมป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest )
 พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย
 มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 75 ถึง 200 ซม.
 มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้
 อากาศเย็นมีอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งในฤดูหนาวแต่มักจะไม่ต่ากว่า 12°C
 ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว
 พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม
 พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น
 สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
ในอเมริกาก็อาจพบเฉพาะต้นโอ๊ค (oak) ฮิกกอรี่ (hickory) และเมเปิ ล
(maple) เป็ นไม้เด่น
3. ป่ าสน ( Coniferous forest )
 ป่ าสน(coniferous forest) ป่ าไทกา ( Taiga ) หรือป่ าบอเรียล( Boreal )
 ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี ใบแบบนี้ค่อนข้างแข็งและมีอายุยืนอยู่ได้ 3 ถึง 5 ปี
ก่อนที่จะร่วงหล่น และมีใบใหม่ขึ้นมาแทน
 พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์ ทางตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือ ทวีป
ยุโรป
 ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น
 พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )
 เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็ นต้น)
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
Spruce Fir Pine
สนสองใบ สนสามใบ
**พบตามภูเขาสูง แถบภาคเหนือ ภาคกลางและภาคอีสาน
**ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ สัตว์ที่พบได้แก่ แมวป่ า หมาป่ า ชะมด เม่น กระรอก
นก
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland )
 ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี
 มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว
 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความ
อุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรม
ควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
 ทวีปอเมริกาเหนือ รัสเซีย เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก
สเต็ปป์ (steppe) และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa)
 พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่ า
 เช่น พวกกระถิน (acacia)
 สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมู
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
5. สะวันนา (Savanna)
พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย
ออสเตรเลีย อเมริกาใต้
อากาศร้อนยาวนาน
พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ
ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า
พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี
อัตราการหมุนเวียนแร่ธาตุสารอาหารในบริเวณนี้ค่อนข้างต่า
สัตว์กีบ (hoofed mammals) มากกว่าไบโอมแบบอื่นๆ เช่น วิลเดอบีส
(wilderbeast) ม้าลาย (zebra) กวางอิมพาลา (impala) ทอมสันกาเซล (gazelle)
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
6. ทะเลทราย ( desert )
ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี
อุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิในตอนกลางคืนค่อนข้างหนาวเย็น
พืชที่พบเป็ นหนาม ลาต้นอวบ เก็บสะสมน้า และพืชปี เดียว
ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ใน
จีน และทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนู
ชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอน
กลางวัน
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
7. ทุนดรา (Tundra)
พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของ
รัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย
ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ
ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็ นน้าแข็ง
ปริมาณฝนน้อย
พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และ
ไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่ าขั้วโลก หนูเลมมิง
สุนัขป่ าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้าแมวหิมะ นอกจากนี้
ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
คำถำม???
• ไบโอมที่สำคัญๆได้แก่ไบโอมอะไรบ้ำง
• ไบโอมบนบกแต่ละแบบมีลักษณะเฉพำะของตนเองเป็นอย่ำงไร
• ยกตัวอย่ำงพืชและสัตว์ในไบโอมบนบกแบบต่ำงๆ
• นักวิทยำศำสตร์ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในกำรแบ่งไบโอมบนบกออกเป็นแบบ
ต่ำงๆ
• อะไรเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้ไบโอมบนบกแบบต่ำงๆ มีควำม
แตกต่ำงกัน
ไบโอมในน้า ( Aquatic Biomes )
แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย
• แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ
• แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า
แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย
• ทะเลสาบ
• ทะเล
• มหาสมุทร
ซึ่งพบในปริมาณมาก ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลก
และมีความลึกมาก
 น้าขึ้นน้าลงเป็ นปัจจัยทางกายภาพที่ทาให้แหล่งน้าเค็มแตกต่างจาก
แหล่งน้าจืด
 อาศัยค่าความเค็มเป็ นตัวกาหนด น้าจืดมีเกลือ < 0.1 % น้าเค็ม
ประมาณ 3.5%
• http://www.slideshare.net/BioloGyGenEnjoy

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Kittiya GenEnjoy
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
Yaovaree Nornakhum
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 

Similar to ไบโอม

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Kittiya GenEnjoy
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
kkrunuch
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
kasarin rodsi
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 

Similar to ไบโอม (20)

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ไบโอม

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มี ชีวิต) เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของ สิ่งมีชีวิต Organism Population Community Ecosystem Bioshere มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ  องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) Abiotic Factor เช่น แสง ดิน แร่ธาตุ น้า ความชื้น อุณหภูมิ ลม ลักษณะของสิงมีชีวิต การแพร่กระจาย พฤติกรรม และจานวนของสิ่งมีชีวิต  องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) Biotic Factor ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  • 7.
  • 8. ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศย่อยๆ หลายระบบ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่ คล้ายคลึงกันเป็ นบริเวณกว้างขวาง กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน @@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัย ทางกายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  • 9.
  • 10.
  • 11. 1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็ นตัวกาหนด - ไบโอมป่ าดิบชื้น ไบโอมป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น - ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา - ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย - ไบโอมป่ าสน 2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม - แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง - ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่ าชายเลน) - แนวปะการัง - ทะเลสาบ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  • 14. 1. ไบโอมป่ าดิบชื้น ( Tropical rain forest ) - พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้ - ลักษณะภูมิอากาศ ร้อนและชื้น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมากกว่า 17°C - มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี - พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปี ชีส์ (High biodiversity) - อุดมสมบูรณ์มาก มีต้นไม่ขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ - มีไม้เลื้อย พวกหวายและอิปิ ไฟต์ (Epiphyte) พืชล้มลุกและเฟิร์น ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 15. ไบโอมป่ าดิบชื้น ( Tropical rain forest )  ป่าดงดิบแล้ง (dry evergreen forest)  ป่าดงดิบเขา (hill evergreen forest)  ป่าเมฆคลุม (cloud forest)  ป่าเบญจพรรณ (mixed deciduous forest) forest)  ป่าชายเลน (mangrove forest) เป็นต้น  ชื่อเสียงรู้จักกันดีเมื่อพูดถึงป่าเขตร้อนชื้น นั้นก็คือป่ าฝนเขตร้อนชื้น (tropical rain rain forest) หรือป่ าดิบชื้นนั่นเอง รากพอน (buttress root)
  • 16. 2. ไบโอมป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest )  พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย  มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 75 ถึง 200 ซม.  มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้  อากาศเย็นมีอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งในฤดูหนาวแต่มักจะไม่ต่ากว่า 12°C  ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว  พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม  พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น  สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 17. ในอเมริกาก็อาจพบเฉพาะต้นโอ๊ค (oak) ฮิกกอรี่ (hickory) และเมเปิ ล (maple) เป็ นไม้เด่น
  • 18. 3. ป่ าสน ( Coniferous forest )  ป่ าสน(coniferous forest) ป่ าไทกา ( Taiga ) หรือป่ าบอเรียล( Boreal )  ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี ใบแบบนี้ค่อนข้างแข็งและมีอายุยืนอยู่ได้ 3 ถึง 5 ปี ก่อนที่จะร่วงหล่น และมีใบใหม่ขึ้นมาแทน  พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์ ทางตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือ ทวีป ยุโรป  ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น  พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )  เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็ นต้น) ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 19. Spruce Fir Pine สนสองใบ สนสามใบ
  • 20. **พบตามภูเขาสูง แถบภาคเหนือ ภาคกลางและภาคอีสาน **ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ สัตว์ที่พบได้แก่ แมวป่ า หมาป่ า ชะมด เม่น กระรอก นก
  • 21.
  • 22. 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland )  ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี  มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว  ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความ อุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรม ควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย  ทวีปอเมริกาเหนือ รัสเซีย เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa)  พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่ า  เช่น พวกกระถิน (acacia)  สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมู ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 23.
  • 24. 5. สะวันนา (Savanna) พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย ออสเตรเลีย อเมริกาใต้ อากาศร้อนยาวนาน พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี อัตราการหมุนเวียนแร่ธาตุสารอาหารในบริเวณนี้ค่อนข้างต่า สัตว์กีบ (hoofed mammals) มากกว่าไบโอมแบบอื่นๆ เช่น วิลเดอบีส (wilderbeast) ม้าลาย (zebra) กวางอิมพาลา (impala) ทอมสันกาเซล (gazelle) ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 25.
  • 26. 6. ทะเลทราย ( desert ) ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี อุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในตอนกลางคืนค่อนข้างหนาวเย็น พืชที่พบเป็ นหนาม ลาต้นอวบ เก็บสะสมน้า และพืชปี เดียว ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ใน จีน และทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนู ชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอน กลางวัน ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 27.
  • 28. 7. ทุนดรา (Tundra) พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของ รัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็ นน้าแข็ง ปริมาณฝนน้อย พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และ ไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่ าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่ าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้าแมวหิมะ นอกจากนี้ ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 29.
  • 30. คำถำม??? • ไบโอมที่สำคัญๆได้แก่ไบโอมอะไรบ้ำง • ไบโอมบนบกแต่ละแบบมีลักษณะเฉพำะของตนเองเป็นอย่ำงไร • ยกตัวอย่ำงพืชและสัตว์ในไบโอมบนบกแบบต่ำงๆ • นักวิทยำศำสตร์ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในกำรแบ่งไบโอมบนบกออกเป็นแบบ ต่ำงๆ • อะไรเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้ไบโอมบนบกแบบต่ำงๆ มีควำม แตกต่ำงกัน
  • 31. ไบโอมในน้า ( Aquatic Biomes ) แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย • แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ • แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย • ทะเลสาบ • ทะเล • มหาสมุทร ซึ่งพบในปริมาณมาก ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลก และมีความลึกมาก  น้าขึ้นน้าลงเป็ นปัจจัยทางกายภาพที่ทาให้แหล่งน้าเค็มแตกต่างจาก แหล่งน้าจืด  อาศัยค่าความเค็มเป็ นตัวกาหนด น้าจืดมีเกลือ < 0.1 % น้าเค็ม ประมาณ 3.5%
  • 32.
  • 33.