SlideShare a Scribd company logo
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
1
การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
2
อะมีบา
3
ภายในไซโทพลาซึมมีไมโครฟิลาเมนต์ เป็นเส้นใยโปรตีนแอกทินและ
ไมโอซิน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึมไหลไปมาภายในเซลล์
ได้และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็นเท้าเทียม (pseudopodium)
- ชั้นนอก (ectoplasm) มีลักษณะค่อนข้างแข็งและไหลไม่ได้ (gel)
- ชั้นใน (endoplasm) มีลักษณะเป็นของเหลวและไหลได้ (sol)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ยูกลีนา
4
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่น
ออกมาจากเซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไปได้
- มีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายหนวดยาวกว่าซิเลีย
- แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด เช่น
ยูกลีน่า วอลวอกซ์
พารามีเซียม
5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนไหวโดยอาศัยซีเลียซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกมา
จากเซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไปได้
- มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ ยื่นยาวออกจากเซลล์ของพืช หรือสัตว์
เซลล์เดียว หรือเซลล์สืบพันธุ์
- ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ภายในน้าหรือของเหลว พบใน
พารามีเซียม พลานาเรีย
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง
6
แมงกะพรุน
7
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
แมงกะพรุน มีของเหลวที่เรียกว่า มีโซเกลีย
(mesoglea) แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและ
เนื้อเยื่อชั้นใน มีน้าเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของ
ลาตัวแมงกะพรุนเคลื่อนที่โดยการหดตัวของ
เนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและที่ผนังลาตัวสลับกัน
ทาให้พ่นน้าออกมาทางด้านล่างส่วนตัวจะพุ่งไปใน
ทิศทางตรงข้ามกับทิศทางน้าที่พ่นออกมา การหด
ตัวนี้จะเป็นจังหวะทาให้ตัวแมงกะพรุนเคลื่อนไป
เป็นจังหวะด้วย
หมึก
8
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อลาตัวพ่นน้าออกมาจากไซฟอน
(siphon) ซึ่งอยู่ทางส่วนล่างของส่วนหัว ทาให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าใน
ทิศทางที่ตรงข้ามกับทิศทางของน้า
หมึก
9
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
นอกจากนี้ส่วนของไซฟอนยังสามารถเคลื่อนไหวได้ ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางของน้าที่พ่นออกมา และยังทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางของการเคลื่อนที่ด้วย ส่วนความเร็วนั้นขึ้นอยู่กับ
ความแรงของการบีบตัวของกล้ามเนื้อลาตัว แล้วพ่นน้าออกมา หมึกมี
ครีบอยู่ทางด้านข้างลาตัว ช่วยในการทรงตัวให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่
เหมาะสม
ดาวทะเล
10
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ดาวทะเล มีระบบการเคลื่อนที่ด้วยระบบท่อน้า (water vascular
system) ระบบท่อน้าประกอบด้วย มาดรีโพไรต์ (madraporite) สโตน
แคเนล ริงแคแนล เรเดียลแคแนล ทิวบ์ฟีท (tube feet) แอมพูลลา
(ampulla)
ดาวทะเล
11
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ดาวทะเลเคลื่อนที่โดยน้าเข้าสู่ระบบท่อน้าดรีโพไรต์และไหลผ่านท่อ
วงแหวนรอบปากเข้าสู่ท่อเรเดียลแคแนลและทิวบ์ฟีท เมื่อกล้ามเนื้อที่แอ
มพูลลาหดตัวดันน้าไปยังทิวบ์ฟีท ทิวบ์ฟีทจะยืดยาวออก ไปดันกับ
พื้นที่อยู่ด้านล่างทาให้เกิดการเคลื่อนที่ เมื่อเคลื่อนที่ไปแล้วกล้ามเนื้อ
ของทิวบ์ฟีทจะหดตัวทาให้ทิวบ์ฟีทสั้นลง ดันน้ากลับไปที่แอมพูลลา
ตามเดิม การยืดหดของทิวบ์ฟีท หลายๆ ครั้งต่อเนื่องกันทาให้ดาวทะเล
เกิดการเคลื่อนที่ไปได้
ไส้เดือนดิน
12
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของไส้เดือนเกิดจากการ
ทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อวงกลม
(circular muscle) และกล้ามเนื้อ
ตามยาว (longtitudinal muscle) หดตัว
และคลายตัวเป็นระลอกคลื่น (wave
like motion) จากทางด้านหน้ามาทาง
ด้านหลังทาให้เกิดการเคลื่อนที่ไปทางด้าน
หน้า
ไส้เดือนดิน
13
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ไส้เดือนมีกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ
กล้ามเนื้อวงกลมรอบตัว อยู่ทางด้านนอก
และกล้ามเนื้อตามยาว ตลอดลาตัวอยู่
ทางด้านใน นอกจากนี้ไส้เดือนยังใช้เดือย
(setae) ซึ่งเป็นโครงสร้างเล็ก ๆ ที่ยื่นออก
จากผนังลาตัวรอบปล้องช่วยในการ
เคลื่อนที่ด้วย
พลานาเรีย
14
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
พลานาเรียเป็นสัตว์จาพวกหนอนตัวแบนอาศัยอยู่ในน้ามีกล้ามเนื้อ
3 ชนิด คือ
• กล้ามเนื้อวง อยู่ทางด้านนอก
• กล้ามเนื้อตามยาว อยู่ทางด้านใน
• กล้ามเนื้อทแยง ยึดอยู่ระหว่างส่วนบนและส่วนล่างของลาตัว
พลานาเรีย เคลื่อนที่โดยการลอยไปตามน้า หรือ คืบคลานไปตาม
พืชใต้น้าโดยอาศัยกล้ามเนื้อและกล้ามเนื้อตามยาว ส่วนกล้ามเนื้อ
ทแยงจะช่วยให้ลาตัวแบนบางและพลิ้วไปตามน้า ในขณะที่พลานาเรีย
เคลื่อนไปตามผิวน้า ซิเลียที่อยู่ทางด้านล่างของลาตัวจะโบกพัดไปมา
ช่วยเคลื่อนตัวไปได้ดียิ่งขึ้น
แมลง
15
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
แมลง เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่แมลงมีโครงร่างภายนอก ซึ่ง
เป็นสารพวกไคทินมีลักษณะเป็นโพรง เกาะกันด้วยข้อต่อซึ่งเป็นเยื่อที่
งอได้ ข้อต่อข้อแรกของขากับลาตัวเป็นข้อต่อแบบบอลแอนด์ซอกเก็ต
ส่วนข้อต่อแบบอื่น ๆ เป็นแบบบานพับ
แมลง
16
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนไหวเกิดจากทางานสลับกันของ กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์
(flexor) และเอ็กเทนเซอร์ (extensor) ซึ่งเกาะอยู่โพรงไคทินนี้ โดย
กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์ ทาหน้าที่ในการงอขา และกล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์
ทาหน้าที่ในการเหยียดขาซึ่งการทางานเป็นแบบแอนทาโกนิซึม
เหมือนกับคน
โลมาและวาฬ
17
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
โลมาและวาฬ มีครีบอกช่วยในการว่ายน้า และหางที่แบนขนาดใหญ่
ขนานกับพื้น เคลื่อนที่โดยการตวัดหางและใช้ครีบอกช่วยพยุงตัว ทาให้
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้เป็นอย่างดี
ครีบหาง ครีบอก
ปลา
18
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบกล้ามเนื้อ ที่ยึดติดอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง โดยการหดตัว
ของกล้ามเนื้อข้างใดข้างหนึ่งทั้งชุด เริ่มจากหัวไปหางและการพัดโบก
ของครีบหาง ทาให้ปลาเคลื่อนที่เป็นรูปตัว S
ครีบต่างๆ ได้แก่ ครีบเดี่ยว เช่น ครีบหลังและครีบหาง จะช่วยพัด
โบกให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า และ ครีบคู่ เช่น ครีบอก และ ครีบสะโพก ซึ่ง
ช่วยในการพยุงตัวและเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่ง
ปลา
19
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
กบและเป็ดในน้า
20
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เป็ดขณะที่เคลื่อนไหวในน้า จะใช้โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นแผ่น
บางๆ ยึดติดอยู่ระหว่างนิ้วเท้าช่วยโบกพัดน้า ทาให้ลาตัวเคลื่อนไป
ข้างหน้าได้ เรียกว่า Web ท่ากระโดดของกบจะใช้ขาหลังทั้งสองในการ
ดีดตัวไปข้างหน้า
เต่าทะเล แมวน้า และ สิงโตทะเล
21
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์กลุ่มนี้จะมีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย เรียกว่า
ฟลิบเปอร์ ช่วยในการพัดโบกร่วมกับส่วนประกอบอื่นของร่างกาย ทาให้
เคลื่อนที่ในน้าได้เป็นอย่างดี
นก
22
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่แข็งแรง โดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยู่
ระหว่างโคนปีกกับกระดูกอก (keel or sternum)
กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทาหน้าที่เป็น กล้ามเนื้อยกปีก (levater muscle) คือ
กล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์ (pectorlis minor)
และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มาก ทาหน้าที่ในการหุบปีกลง
(depresser muscle) คือ กล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์ (pectorralis
major)
นก
23
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การบินโดยการกระพือปีกพบทั่ว ๆ ไป คือ จะกางปีกออกกว้างสุด
แล้วกระพือไปข้างหน้าพร้อม ๆ กับกระพือลงข้างล่าง (คล้ายกับการว่าย
น้าท่าผีเสื้อ) จากนจะลู่ปีกและยกขึ้นข้างบนพร้อม ๆ กับขยับไปทางหาง
การเคลื่อนที่
ของคน
24
การเคลื่อนที่ของคน
สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมี
ระบบโครงกระดูกที่ประกอบด้วย
กระดูกแกน (axial skeleton) และ
กระดูกรยางค์ (appendicular
skeleton)
ร่างกายคนประกอบด้วยกระดูก
ประมาณ 206 ชิ้นต่อกัน
ระบบโครงกระดูก
25
การเคลื่อนที่ของคน
หน้าที่ของระบบโครงกระดูก
1. เป็นโครงร่าง ทาให้คนเราคงรูปอยู่ได้ นับเป็นหน้าที่สาคัญที่สุด
2. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อลาย เป็น รวมทั้งพังผืด
3. เป็นโครงร่างห่อหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน ไม่ให้เป็นอันตราย เช่น กระดูกสัน
หลังป้องกันไขสันหลัง
4. เป็นแหล่งเก็บแคลเซียมที่ใหญ่ที่สุด
5. เป็นแหล่งสร้างเม็ดเลือดชนิดต่างๆ
6. ช่วยในการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะกระดูกยาวทาให้เราสามารถเคลื่อนไหวเป็น
มุมที่กว้างขึ้น
7. กระดูกบางชนิดยังช่วยในการนาคลื่นเสียง ช่วยในการได้ยิน เช่น กระดูกค้อน
ทั่ง และ โกลน ซึ่งอยู่ในหูตอนกลาง จะทาหน้าที่นาคลื่นเสียงผ่ายไปยังหูตอนใน
ระบบโครงกระดูก
26
การเคลื่อนที่ของคน
มีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วย
(1) กะโหลกศีรษะ เป็นแผ่น
เชื่อมติดกันภายในมีเป็นโพรง
สาหรับบรรจุสมองมีหน้าที่ป้องกัน
สมอง
กระดูกแกน
27
การเคลื่อนที่ของคน
มีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วย
(2) กระดูกสันหลัง ช่วยค้าจุนและรองรับ
น้าหนักของร่างกายประกอบด้วยกระดูกที่มี
ลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกัน ระหว่างกระดูกสัน
หลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อน
(cartilage) หรือหมอนรองกระดูก
(intervertebral disc) ทาหน้าที่รองและ
เชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อ เพื่อป้องกันการ
เสียดสี และจะมีส่วนของจะงอยยื่นออกมา
เป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น กระดูกสัน
หลังช่วงอกจะมีกระดูกซี่โครงมาเชื่อมกัน
กระดูกแกน
28
การเคลื่อนที่ของคน
มีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วย
(3) กระดูกซี่โครง มีทั้งหมด 12
คู่ ทุก ๆ ซี่จะไปต่อกับด้านข้างของ
กระดูกสันหลังบริเวณทรวงอกโดย
ปลายอีกด้านหนึ่งเชื่อกับกระดูกอก
ยกเว้นคู่ที่ 11 และ 12 จะเป็นซี่สั้น ๆ
ไม่เชื่อมต่อกับกระดูกอก เรียกว่า
ซี่โครงลอย
กระดูกแกน
29
การเคลื่อนที่ของคน
มีจานวน 126 ชิ้น ประกอบด้วย
(1) กระดูกแขน
(2) กระดูกขา
(3) กระดูกสะบัก
(4) กระดูกไหปลาร้า
(5) กระดูกเชิงกราน
กระดูกรยางค์
30
การเคลื่อนที่ของคน
ข้อต่อและเอ็นยึดข้อ
ตาแหน่งที่มีกระดูก 2 ชิ้นมาต่อกันเรียกว่า ข้อต่อ (joint) โดยมี
เนื้อเยื่อหรือเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมายึดให้ติดกันเป็นข้อต่ออาจเคลื่อนไหวได้
มากหรือน้อย หรือไม่ได้เลยก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของข้อต่อนั้นๆ แต่
ประโยชน์ที่สาคัญคือ เพื่อป้องกันอันตรายต่อกระดูก และให้กระดูกที่มี
ความแข็งอยู่แล้ว สามารถเคลื่อนไหวหรือปรับผ่อนได้ตามสภาพและ
หน้าที่ของกระดูกที่อยู่ ณ ตาแหน่งนั้น ๆ
31
การเคลื่อนที่ของคน
ข้อต่อและเอ็นยึดข้อ
32
การเคลื่อนที่ของคน
ข้อต่อและเอ็นยึดข้อ
ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า
สามารถหมุนได้เกือบทุก
ทิศทาง สามารถพบได้ที่
บริเวณสะโพกและหัวไหล่
ข้อต่อแบบบานพับ
ข้อต่อแบบนี้ พบได้ที่บริเวณข้อศอก
ซึ่งจะเคลื่อนไหวได้แค่งอและเหยียด
เท่านั้นคล้ายกับบานพับประตู
ข้อต่อแบบอานม้า
ปลายกระดูกที่มาประกอบเป็นข้อต่อแบบอานม้า
จะเคลื่อนไปมาคล้าย ๆ กับการเคลื่อนไหวบน
อานม้า พบได้ที่บริเวณฐานนิ้วหัวแม่มือ 33
การเคลื่อนที่ของคน
ข้อต่อและเอ็นยึดข้อ
อ
ข้อต่อแบบเดือยหมุน
พบในข้อต่อระหว่างกระดูกคอชิ้นที่ 1
และ 2 โดยกระดูกคอชิ้นที่ 2 มีลักษณะ
เป็นเดือยตั้งให้กระดูกคอชิ้นที่ 1
ข้อต่อแบบสไลด์
เป็นกระดูกแบน 2 ชิ้น เช่น ข้อ
ต่อกระดูกข้อมือ ข้อต่อกระดูก
ข้อเท้า และข้อต่อกระดูกสันหลัง
34
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ (muscle) เป็นตัวที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวโดยทางาน
ร่วมกับระบบโครงกระดูก
กล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle) เป็นกล้ามเนื้อชนิดเดียวที่ยึดเกาะ
กับกระดูก ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะเป็น ทรงกระบอกยาว
เรียกว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ถ้าดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
จะมองเห็น เป็นแถบลาย สีเข้ม สีอ่อน สลับกันเห็นเป็นลายตามขวาง
แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส การทางานอยู่ภายใต้การควบคุมของ
จิตใจ ระบบประสาทโซมาติก (voluntary muscle) เช่น กล้ามเนื้อที่
แขน ขา หน้า ลาตัว เป็นต้น
35
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ (muscle) เป็นตัวที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวโดยทางาน
ร่วมกับระบบโครงกระดูก
กล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle) เป็นกล้ามเนื้อชนิดเดียวที่ยึดเกาะ
กับกระดูก ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะเป็น ทรงกระบอกยาว
เรียกว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ถ้าดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
จะมองเห็น เป็นแถบลาย สีเข้ม สีอ่อน สลับกันเห็นเป็นลายตามขวาง
แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส การทางานอยู่ภายใต้การควบคุมของ
จิตใจ ระบบประสาทโซมาติก (voluntary muscle) เช่น กล้ามเนื้อที่
แขน ขา หน้า ลาตัว เป็นต้น
36
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อลาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะ
ยาวเหมือนเส้นใย เรียกว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ
(muscle fiber) อยู่รวมกันเป็นมัดเซลล์แต่ละเซลล์
ในเส้นใยกล้ามเนื้อจะมีหลายนิวเคลียส
ในเส้นใยกล้ามเนื้อแต่ละเส้นจะประกอบด้วยมัด
ของเส้นใยฝอย หรือเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก
(myofibrils) ที่มีลักษณะเป็นท่อนยาวเรียงตัวตาม
แนวยาว ภายในเส้นใยฝอยจะประกอบด้วยเส้นใย
เล็กๆ เรียกว่า ไมโอฟิลาเมนท์ (myofilament)
1. กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle)
37
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
ไมโอฟิลาเมนต์ ประกอบด้วยโปรตีน 2 ชนิด คือ ไมโอซิน (myosin)
และแอกทิน (actin) ไมโอซินมีลักษณะเป็นเส้นใยหนา
ส่วนแอกทินเป็นเส้นใยที่บางกว่า การเรียงตัวของไมโอซินและแอก
ทิน อยู่ในแนวขนานกัน ทาให้เห็นกล้ามเนื้อเป็นลายขาวดาสลับกัน
1. กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle)
38
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
เป็นกล้ามเนื้อที่ไม่มีลาย ตาม
ขวาง ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะแบนยาว
แหลมหัวแหลมท้าย ภายในเซลล์มีนิวเคลียสอัน
เดียวตรงกลาง ทางานอยู่นอกอานาจจิตใจ ระบบ
ประสาทอัตโนวัติ (involuntary muscle) เช่น
กล้ามเนื้อของอวัยวะภายในต่างๆ
2. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
39
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
เป็นกล้ามเนื้อของหัวใจโดยเฉพาะรูปร่างเซลล์
จะมีลายตามขวางและมีนิวเคลียสหลายอัน
เหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่แยกเป็นแขนงและ
เชื่อมโยงติดต่อกันกับเซลล์ข้างเคียงการทางาน
อยู่นอกอานาจจิตใจเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อเรียบ
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
40
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อเรียบ
41
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
ปลายข้างหนึ่งของกล้ามเนื้อทั้งสองยึดติดกับกระดูกแขนท่อนบน
ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งยึดติดอยู่กับกระดูกแขนท่อนล่าง เมื่อกล้ามเนื้อไบ
เซพหดตัว ทาให้แขนงอตรงบริเวณข้อศอก ขณะที่แขนงอ กล้ามเนื้อไตร
เซพจะคลายตัว แต่ถ้ากล้ามเนื้อไบเซพคลายตัวจะทาให้แขนเหยียดตรง
ได้ ซึ่งขณะนั้นกล้ามเนื้อไตรเซพจะหดตัว ดังนั้นกล้ามเนื้อไบเซพจึงเป็น
กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์ ส่วนกล้ามเนื้อไตรเซพ จะเป็นกล้ามเนื้อเอ็กซ์เทน
เซอร์
กล้ามเนื้อไบเซพ (biceps) และกล้ามเนื้อไตรเซพ (triceps)
42
การเคลื่อนที่ของคน
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อไบเซพ (biceps) และกล้ามเนื้อไตรเซพ (triceps)
43

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
sukanya petin
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
sukanya petin
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 

What's hot (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
พัน พัน
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
vbvb
vbvbvbvb
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
่Jutharat
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
gifted10
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
Thaweekoon Intharachai
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial muscles
Lisalou82
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
A Tour of The Cell
A Tour of The CellA Tour of The Cell
A Tour of The Cell
Wesley McCammon
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
supamitr
 
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Viewers also liked (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อ
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial muscles
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
 
A Tour of The Cell
A Tour of The CellA Tour of The Cell
A Tour of The Cell
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
 

Similar to บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
putpittaya
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Computer ITSWKJ
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
Prajak NaJa
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
Wichai Likitponrak
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
RungsaritS
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 

Similar to บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (20)

สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 

More from Ta Lattapol

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
Ta Lattapol
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
Ta Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
Ta Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
Ta Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Ta Lattapol
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
Ta Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Ta Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
Ta Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
Ta Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 

More from Ta Lattapol (13)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต