SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โครงสร้างที่ใช้ใน
      การเคลื่อนที่ของคน
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
ระบบโครงกระดูก

ฉวีวรรณ นาคบุตร
โครงกระดูก Skeleton

   โครงกระดูกทาหน้าทีค้าจุนร่างกายให้คงรูปร่างช่วยป้องกัน
                       ่
   อวัยวะภายในที่บอบบาง เช่น หัวใจ มิให้ได้รับอันตราย
   เป็นที่ยึดเกาะสาหรับ เอ็น กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหว
   ร่างกาย สร้างเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะ
   ทาหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
   เป็นแหล่งสะสมสาคัญของธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส

http://www.bknowledge.org/pum/object/blog/access/bshow/srch/1/blid/2
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
โครงสร้างกระดูก

1.เยื่อหุ้มกระดูก(periostium) ประกอบด้วยเซลล์กระดูก
และเส้นเลือด ทาหน้าที่นาเลือดมาหล่อเลี้ยงเซลล์กระดูก
และช่วยให้กล้ามเนื้อและเอ็นยึดติดกับกระดูกเมื่อเกิด
กระดูกหักเยื่อหุ้มกระดูก สามารถสร้างเซลล์ขึ้นมาเชื่อม
กระดูกได้
                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
2.เนื้อกระดูก (compact bone) ประกอบด้วยกลุ่มของเซลล์
กระดูก (osteocyte) เรียงตัวซ้อนกันเป็นวงรอบๆท่อ ภายใน
มีเส้นเลือดและเส้นประสาทที่หล่อเลี้ยงและควบคุมการทางาน
ของเซลล์กระดูก

3. โพรงกระดูก(marrow cavity) พบที่ส่วนปลายของ
กระดูกยาว ภายในโพรงกระดูกของกระดูกต้นแขน กระดูกต้นขา
และกระดูกอก มีไขกระดูก (bone marrow) ทาหน้าที่ผลิต
เซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาว
                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ชนิดของโครงกระดูก
กระดูกภายในร่างกายแบ่งตามลักษณะรูปร่างออกเป็น 4 ชนิด

 กระดูกแบน (flat bone)ทาหน้าที่เป็น
 เกาะป้องกันอันตรายและยึดกล้ามเนื้อ เช่น
 กระดูกซี่โครง

 กระดูกสัน(short bone) เป็นกระดูกที่
          ้
 มีลักษณะเป็นก้อนซึ่งมีความกว้างและยาว
 เกือบเท่ากัน เช่นกระดูกข้อมือ และ
 กระดูกข้อเท้า
                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระดูกรูปทรงไม่เป็นระเบียบ
(irregular bone)
หมายถึง กระดูกที่มีรูปร่างซับซ้อน
ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มกระดูกชนิดอื่น
ได้ เช่นกระดูกสันหลัง
กระดูกยาว (long bone)เป็นกระดูกที่
มีความยาวมากกว่าความกว้าง มักจะโค้ง
เล็กน้อย เพื่อความแข็งแรง
ตัวอย่างเช่น กระดูกนิ้ว

                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
โครงสร้างภายในกระดูก
กระดูกแต่ละชิ้นปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อบาง ๆ ที่เรียกว่า เยื่อหุมกระดูก ซึ่งบรรจุ
                                                            ้
ด้วยเซลล์ที่สร้างความเจริญเติบโตและซ่อมแซมกระดูก ภายในกระดูก
ประกอบด้วยหลอดเลือดเส้นประสาท และเซลล์กระดูก (osteocyte) อยู่
รวมกันภายในกระดูกต้นขา




                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระดูกฟ่าม (Spongy bone) มีเนื้อกระดูกลักษณะเป็นกิ่งประสานกันเป็น
ร่างแหเรียกว่า เสี้ยนกระดูก (trabeculae) จึงมีช่องว่างขนาดใหญ่ระหว่างเนื้อ
กระดูก เนื้อเยื่อที่เบาและแข็งแรงนี้มักพบในกระดูกสั้น กระดูกแบน และที่
ปลายของกระดูกยาว




                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระดูกเนื้อแน่น (Compact bone) มีเนือกระดูกเป็นแผ่นเรียงซ้อนกัน
                                       ้
แน่นเป็นวง ชันนอกของกระดูกร่างกายทั้งหมดเป็นกระดูกเนื้อแน่น
              ้

                                เซลล์กระดูกอยู่ในช่องเล็ก ๆ
                                เรียกว่า ลาคูน่า (Lacuna)
                                ช่องโวล์กแมน (Volkmann's
                                canal) ประกอบด้วยหลอดเลือดเล็กๆ
                                และเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงเซลล์กระดูก
                                ช่องฮาเวอร์เซียน (Haversian
                                canal) เป็นช่องทางเดินหลอดเลือดใน
                                กระดูก
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมื่อศึกษาถึงโครงสร้างของกระดูกแล้วพบว่า
กระดูกของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. กระดูกอ่อน (Cartilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่ง
ประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน (Chondrocyte) สารระหว่าง
เซลล์และเส้นใยชนิดต่าง ๆ โดยทั่วไปกระดูกอ่อนจะได้รับ
อาหารโดยแทรกซึมผ่านสารระหว่างเซลล์มา เนื่องจากไม่มี
หลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงกระดูกอ่อนเลย


                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. กระดูก (Bone) เป็นโครงสร้างที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Membrane
   Bone) หรือกระดูกอ่อน (Cartilagenous Bone) ก็ได้ ประกอบด้วยเซลล์
   กระดูก (Osteocyte) เส้นใยชนิดต่าง ๆ และสารระหว่างเซลล์
   ซึ่งมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์
   (Hydroxyapatite ;
   Ca10(PO4)6(OH)2)
   มาเสริมทาให้กระดูก
   มีความแข็งแรงมากกว่า
   กระดูกอ่อน


ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมื่อผ่ากระดูกดูโครงสร้างภายในจะพบว่าเนื้อกระดูกส่วนนอก
จะแน่นทึบ (Compact Bone)อาหารไม่สามารถซึมผ่านเข้าไป
เลี้ยงเซลล์กระดูกได้ บริเวณนี้จึงมีหลอดเลือดแทรกเข้าไปทาง
ช่องสารระหว่างเซลล์ ซึงเรียกว่า ช่องว่างฮาร์เวอร์เซียน
                        ่
(Haversian Canal) โดยจะทอดไปตามความยาวของกระดูก
ส่วนตรงกลางของกระดูกนั้นจะมีลักษณะโปร่งเป็นโพรงคล้าย
ฟองน้า (Spongy Bone) ซึ่งเป็นที่อยู่ของไขกระดูก (Bone
Marrow) ที่ทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวให้แก่
ร่างกาย

                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระดูกข้อมือ                           กระโหลกศีรษะ
                                         ไหปลาร้า    กระดูก
  กระดูกฝ่ามือ                             สะบัก     ไหล่

กระดูกนิ้วมือ                              กระดูกอก
                      กระดูกซี่โครง         กระดูกต้นแขน

                  กระดูกท่อนสันหลัง         ปลายแขนอันใน
                 กระดูกเชิงกราน             ปลายแขนอันนอก

กระดูกข้อเท้า
                                           กระดูกต้นขา
กระดูกฝ่าเท้า             กระดูกก้นกบ     กระดูกสะบ้า

กระดูกนิ้วเท้า                          กระดูกหน้าแข้ง
                                          กระดูกน่อง

                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
การจาแนกโครงกระดูก   โครงกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
                     โครงกระดูกแกน (สีเหลือง)ประกอบด้วย
                     กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง และ
                     กระดูกซี่โครง ซึ่งเรียงตัวตามแนวดิ่งของ
                     เส้นสมมุติกลางลาตัว มีทั้งหมด 80 ชิ้น
                     โครงกระดูกรยางค์ (สีขาว) ประกอบด้วย
                     กระดูกที่เรียงตัวอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของเส้น
                     สมมุติกลางลาตัว ได้แก่ กระดูกแขน
                     กระดูกขา กระดูกหัวไหล่ กระดูกเชิง
                     กราน มีทั้งหมด 126 ชิ้น

                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระดูกแกน มีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูกกะโหลกศีรษะ
    กระดูกสันหลัง กระดูกหน้าอก และกระดูกซี่โครง




                  ก.กระดูกสันหลัง    ข.กระดูกซี่โครง

ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม
      - การที่โครงกระดูกของคนมีจานวนมากชิ้นและไม่ต่อเป็นชินเดียว
                                                          ้
      มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนไหวอย่างไร
ตอบ
             ช่วยทาให้เกิดการเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง

 คาถาม
              - ถ้าหมอนรองกระดูกเสื่อมจะเกิดผลอย่างไร

 ตอบ
  ถ้าหมอนรองกระดูกเสื่อมอาจมีผลทาให้ร่างการเคลื่อนไหวไม่สะดวก
  เกิดความเจ็บปวดตรงระหว่างข้อต่อของกระดูกสันหลังในขณะเคลื่อนไหว
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม
   กระดูกซี่โครงและกล้ามเนื้อยึดซี่โครงเกี่ยวข้องกับการหายใจอย่างไร

ตอบ

  กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบนอกหดตัว ทาให้กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น
  มีผลทาให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้นอากาศจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ปอดได้ทาให้
  เกิดการหายใจเข้าและถ้าเกิดกลไกการทางานของกล้ามเนื้อยึดซี่โครงและ
  กระดูกซี่โครงในทิศทางตรงกันข้ามกับที่กล่าวมาแล้วจะทาให้เกิดการ
  หายใจออก


                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
ข้อต่อ
     และ
เอ็นยึดกระดูก
         ฉวีวรรณ นาคบุตร
กิจกรรมที่ 7.2 ชนิดของข้อต่อกับการเคลื่อนไหว

จุดประสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนสามารถ
      1. สังเกตการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่เกิดจาการทางานของข้อต่อ
      2. จาแนกชนิดของข้อต่อโดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเอง

 วิธีทดลอง อุปกรณ์ ศึกษาจากแบบเรียนชีววิทยา เล่ม 3

บันทึกผลการทดลอง ลงในตารางผลการทดลอง ในแบบฝึกหัด หน้า 6



                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถามท้ายกิจกรรม
 คาถาม
        ทุกส่วนของร่างการทีทดลองมีขอบเขตในการเคลื่อนไหว
                           ่
        เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
 ตอบ

       ข้อต่อบริเวณต่าง ๆ มีขอบเขตในการเคลื่อนไหวไปใน
       ทิศทางแตกต่างกัน บางส่วนเคลื่อนไหวได้เพียงทิศทางเดียว
       หรือรอบทิศทาง และเคลื่อนไหวไม่ได้
                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม     นักเรียนคิดว่าสิ่งที่จากัดขอบเขตในการเคลื่อนไหวของร่างกาย
          ส่วนที่ทดลองคืออะไร

ตอบ       ลักษณะการเคลื่อนที่ของข้อต่อ

คาถาม     จากการทดลองนักเรียนแบ่งชนิดของข้อต่อได้เป็นกี่ชนิด
          อะไรบ้าง และใช้อะไรเป็นเกณฑ์
ตอบ
        แบ่งได้เป็น3ชนิด คือ 1.เคลื่อนไหวได้ในทิศทางเดียว 2.เคลื่อนไหว
        ได้อย่างอิสระหลายทิศทางและ 3.เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลือนไหวได้
                                                                ่
        เพียงเล็กน้อย ดังนั้นเกณฑ์ที่ใช้แบ่งข้อต่อจึงเป็นทิศทางการเคลื่อนที่
        ของกระดูกที่ข้อต่อนั้น
                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม

- เมื่อทดลองเคลื่อนไหวนิ้วเท้า หัวเข่า และต้นขา นักเรียนบอกได้
หรือไม่ว่าข้อต่อส่วนนั้นเป็นข้อต่อชนิดใดและส่วนใดบ้างที่เคลื่อนไหวไม่ได้

ตอบ

 ข้อต่อของนิ้วเท้าเป็นแบบบานพับ ข้อต่อของหัวเข่าเป็นแบบบานพับ
 ข้อต่อของต้นขาเป็นแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก ข้อต่อในร่างกายบริเวณ
 ที่เคลื่อนไหวไม่ได้ คือข้อต่อของกระดูกสันหลัง ข้อต่อของกระดูกฝ่ามือ



                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม

  - การเคลื่อนไหวของกระดูกหัวเข่า กระดูกโคนขาและกระดูกเชิงกราน
  เหมือนกันหรือไม่อย่างไร

ตอบ

 การเคลื่อนไหวของกระดูกหัวเข่า สามารถพับไปด้านหลัง ส่วนกระดูกโคน
 ขาสามารถเคลื่อนไหวในลักษณะหมุนได้รอบ เนื่องจากข้อต่อเป็นแบบลูก
 กลมในเบ้ากระดูก ส่วนกระดูกเชิงกรานไม่สามารถเคลื่อนไหวได้


                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแต่ละชิ้นในร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น
3 ประเภท คือ

1. ข้อต่อที่เคลือนไหวไม่ได้ (Immoveable Joint)หรือข้อต่อ
                ่
ไฟบรัส (Fibrous joint) เป็นข้อต่อที่ทาหน้าทียึดกระดูกเอาไว้
                                            ่
ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย เช่น ข้อต่อกะโหลกศีรษะที่
เรียกว่า Suture เป็นต้น


                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย โดยกระดูกที่มาเชื่อมต่อกันมีกระดูกอ่อนหุ้ม
อยู่ที่ปลายกระดูกทาหน้าที่ประสาน เช่น ข้อต่อของกระดูกซี่โครง
กับกระดูกหน้าอก ข้อต่อระหว่างกระดูกท่อนสันหลัง ข้อต่อ
ระหว่างกระดูกเชิงกรานซีกซ้ายและซีกขวา




                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
3. ข้อต่อที่เคลือนไหวได้ (Movable Joint) หรือ ข้อต่อซิลโนเวียล
                ่
(Sylnovial joint ) เป็นข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแล้วทาให้เคลื่อนไหวได้
ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ข้อต่อที่ทาให้เคลื่อนไหวเพียงทิศทางเดียว
เหมือนบานพับ (Hinge) พบที่ข้อต่อกระดูกนิ้วมือ นิ้วเท้า ส่วนข้อต่อที่
ทาให้เคลื่อนไหวได้อิสระหลายทิศทาง เนื่องจากมีการเชื่อมต่อของกระดูก
คล้ายลูกกลมในเบ้า (Ball and Socket) พบที่ข้อต่อของหัวไหล่และ
สะโพก สาหรับข้อต่อที่ต้นคอกับฐานของกะโหลกศีรษะนั้นเป็นข้อต่อที่มี
เดือยสวมประกบกัน (Pivotal) ทาให้สามารถก้มเงยและบิดไปซ้ายขวา
ได้ ส่วนข้อต่อที่ข้อมือนั้นก็หมุนได้หลายทิศทางเช่นกัน แต่เป็นข้อต่อ
แบบที่เรียกว่า Gliding
                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
บริเวณข้อต่อจะมีโพรงของข้อต่อ (joint cavity) ภายในโพรงมี
เยื่อบุซิลโนเวียล (sylnovial membrane) บุอยู่ เยือบุนี้จะสร้าง
                                                      ่
ของเหลวเป็นเมือกคล้ายไข่ขาว เรียกว่า น้าไขข้อ (sylnovial fluid)
หล่อลื่นอยู่ เพื่อไม่ให้กระดูกเสียดสีกันและทาให้เคลื่อนไหวได้
สะดวก นอกจากนี้บริเวณข้อต่อยังมีเส้นเอ็น (Tendon) หรือ
ลิกาเมนต์ (Ligament) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เหนียวแน่นและ
ทนทานช่วยยึดกระดูกไว้อีกด้วย

แหล่งอ้างอิง: เรื่องประเภทของข้อต่อ
http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/9BODY.html
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลิกาเมนต์ (ligament) หรือ เอ็นยึด
                          ข้อ คือ เอ็นที่ยึดกระดูกกับกระดูก




เทนดอน (tendon) หรือ เอ็นยึดกระดูก
 คือ เอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกกับกล้ามเนื้อ


                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ชนิดของข้อต่อ (Joint)
Ball and socket joint   ข้อต่อสะโพก และข้อต่อบริเวณ
                        หัวไหล่เป็นข้อต่อแบบ "ลูกกลม
                        ในเบ้า" ปลายกระดูกข้างหลังมี
                        ลักษณะเป็นหัวกลม สวมอยู่ใน
                        เบ้ารูปร่างคล้ายถ้วยของปลาย
                        กระดูกอีกชิ้น ทาให้หมุนขาและ
                        แขนได้หลายทิศทาง




                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
Hing joint
ข้อเข่า และ ข้อศอก รวมทังข้อนิ้วมือ เป็น
                        ้
ข้อต่อแบบ "บานพับ" มีลักษณะคล้าย
บานพับ ทาให้เคลื่อนไหวขาได้เพียง
สองทิศทางคือ งอขาและเหยียด

Gliding joint
ข้อมือ ข้อเท้า เป็นข้อต่อแบบ"บด
เลื่อน" มีพื้นผิวแบนเรียบและกระดูก
เคลื่อนที่ในลักษณะไถลเลื่อนบดกันไปมา

                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
Pivot joint
กระดูกคอ ข้อต่อแบบ "เดือยหมุน" พบใน
ข้อต่อระหว่างกระดูกคอ ชิ้นที่ 1 และชิ้นที่ 2
โดยกระดูกคอชิ้นที่ 2 มีลักษณะเป็นเดือยตั้ง
ให้กระดูกคือชิ้นที่ 1
                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม

      - เพราะเหตุใดคนชราจึงเคลื่อนไหวได้ไม่คล่องแคล่ว และมีอาการ
กระดูกลั่นขณะที่มีการเคลื่อนไหว

 ตอบ

เนื่องจากการสึกกร่อนหรือเสื่อมของกระดูก หมอนรองกระดูกและข้อต่อ
รวมทั้งปริมาณของน้าไขข้อในข้อต่อลดลง จึงเกิดการเสียดสีของกระดูก
บริเวณข้อต่อในขณะที่มีการเคลื่อนไหวทาให้เกิดเสียงลั่น

                                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End

          ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
เนื้อหาพละ
เนื้อหาพละเนื้อหาพละ
เนื้อหาพละtery10
 
ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...
 ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2... ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...
ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...Prachoom Rangkasikorn
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาnontagon
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
เนื้อหาพละ
เนื้อหาพละเนื้อหาพละ
เนื้อหาพละ
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...
 ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2... ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...
ใบความรู้+สมบัติของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ+ป.5+277+dltvscip5+54sc p05 f2...
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 

Similar to โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfRatarporn Ritmaha
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxRatarporn Ritmaha
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxKanokvanKS
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)Tonpalm Champa
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 

Similar to โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptx
 
Skeleton
SkeletonSkeleton
Skeleton
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)
15.pelvic exsanguination (parinya 12.11.57)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน

  • 1. โครงสร้างที่ใช้ใน การเคลื่อนที่ของคน ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 3. โครงกระดูก Skeleton โครงกระดูกทาหน้าทีค้าจุนร่างกายให้คงรูปร่างช่วยป้องกัน ่ อวัยวะภายในที่บอบบาง เช่น หัวใจ มิให้ได้รับอันตราย เป็นที่ยึดเกาะสาหรับ เอ็น กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหว ร่างกาย สร้างเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะ ทาหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว เป็นแหล่งสะสมสาคัญของธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส http://www.bknowledge.org/pum/object/blog/access/bshow/srch/1/blid/2 ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. 2.เนื้อกระดูก (compact bone) ประกอบด้วยกลุ่มของเซลล์ กระดูก (osteocyte) เรียงตัวซ้อนกันเป็นวงรอบๆท่อ ภายใน มีเส้นเลือดและเส้นประสาทที่หล่อเลี้ยงและควบคุมการทางาน ของเซลล์กระดูก 3. โพรงกระดูก(marrow cavity) พบที่ส่วนปลายของ กระดูกยาว ภายในโพรงกระดูกของกระดูกต้นแขน กระดูกต้นขา และกระดูกอก มีไขกระดูก (bone marrow) ทาหน้าที่ผลิต เซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาว ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. ชนิดของโครงกระดูก กระดูกภายในร่างกายแบ่งตามลักษณะรูปร่างออกเป็น 4 ชนิด กระดูกแบน (flat bone)ทาหน้าที่เป็น เกาะป้องกันอันตรายและยึดกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกซี่โครง กระดูกสัน(short bone) เป็นกระดูกที่ ้ มีลักษณะเป็นก้อนซึ่งมีความกว้างและยาว เกือบเท่ากัน เช่นกระดูกข้อมือ และ กระดูกข้อเท้า ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. กระดูกรูปทรงไม่เป็นระเบียบ (irregular bone) หมายถึง กระดูกที่มีรูปร่างซับซ้อน ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มกระดูกชนิดอื่น ได้ เช่นกระดูกสันหลัง กระดูกยาว (long bone)เป็นกระดูกที่ มีความยาวมากกว่าความกว้าง มักจะโค้ง เล็กน้อย เพื่อความแข็งแรง ตัวอย่างเช่น กระดูกนิ้ว ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. โครงสร้างภายในกระดูก กระดูกแต่ละชิ้นปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อบาง ๆ ที่เรียกว่า เยื่อหุมกระดูก ซึ่งบรรจุ ้ ด้วยเซลล์ที่สร้างความเจริญเติบโตและซ่อมแซมกระดูก ภายในกระดูก ประกอบด้วยหลอดเลือดเส้นประสาท และเซลล์กระดูก (osteocyte) อยู่ รวมกันภายในกระดูกต้นขา ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 9. กระดูกฟ่าม (Spongy bone) มีเนื้อกระดูกลักษณะเป็นกิ่งประสานกันเป็น ร่างแหเรียกว่า เสี้ยนกระดูก (trabeculae) จึงมีช่องว่างขนาดใหญ่ระหว่างเนื้อ กระดูก เนื้อเยื่อที่เบาและแข็งแรงนี้มักพบในกระดูกสั้น กระดูกแบน และที่ ปลายของกระดูกยาว ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. กระดูกเนื้อแน่น (Compact bone) มีเนือกระดูกเป็นแผ่นเรียงซ้อนกัน ้ แน่นเป็นวง ชันนอกของกระดูกร่างกายทั้งหมดเป็นกระดูกเนื้อแน่น ้ เซลล์กระดูกอยู่ในช่องเล็ก ๆ เรียกว่า ลาคูน่า (Lacuna) ช่องโวล์กแมน (Volkmann's canal) ประกอบด้วยหลอดเลือดเล็กๆ และเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงเซลล์กระดูก ช่องฮาเวอร์เซียน (Haversian canal) เป็นช่องทางเดินหลอดเลือดใน กระดูก ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. เมื่อศึกษาถึงโครงสร้างของกระดูกแล้วพบว่า กระดูกของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. กระดูกอ่อน (Cartilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่ง ประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน (Chondrocyte) สารระหว่าง เซลล์และเส้นใยชนิดต่าง ๆ โดยทั่วไปกระดูกอ่อนจะได้รับ อาหารโดยแทรกซึมผ่านสารระหว่างเซลล์มา เนื่องจากไม่มี หลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงกระดูกอ่อนเลย ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. 2. กระดูก (Bone) เป็นโครงสร้างที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Membrane Bone) หรือกระดูกอ่อน (Cartilagenous Bone) ก็ได้ ประกอบด้วยเซลล์ กระดูก (Osteocyte) เส้นใยชนิดต่าง ๆ และสารระหว่างเซลล์ ซึ่งมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ (Hydroxyapatite ; Ca10(PO4)6(OH)2) มาเสริมทาให้กระดูก มีความแข็งแรงมากกว่า กระดูกอ่อน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. เมื่อผ่ากระดูกดูโครงสร้างภายในจะพบว่าเนื้อกระดูกส่วนนอก จะแน่นทึบ (Compact Bone)อาหารไม่สามารถซึมผ่านเข้าไป เลี้ยงเซลล์กระดูกได้ บริเวณนี้จึงมีหลอดเลือดแทรกเข้าไปทาง ช่องสารระหว่างเซลล์ ซึงเรียกว่า ช่องว่างฮาร์เวอร์เซียน ่ (Haversian Canal) โดยจะทอดไปตามความยาวของกระดูก ส่วนตรงกลางของกระดูกนั้นจะมีลักษณะโปร่งเป็นโพรงคล้าย ฟองน้า (Spongy Bone) ซึ่งเป็นที่อยู่ของไขกระดูก (Bone Marrow) ที่ทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวให้แก่ ร่างกาย ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. กระดูกข้อมือ กระโหลกศีรษะ ไหปลาร้า กระดูก กระดูกฝ่ามือ สะบัก ไหล่ กระดูกนิ้วมือ กระดูกอก กระดูกซี่โครง กระดูกต้นแขน กระดูกท่อนสันหลัง ปลายแขนอันใน กระดูกเชิงกราน ปลายแขนอันนอก กระดูกข้อเท้า กระดูกต้นขา กระดูกฝ่าเท้า กระดูกก้นกบ กระดูกสะบ้า กระดูกนิ้วเท้า กระดูกหน้าแข้ง กระดูกน่อง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. การจาแนกโครงกระดูก โครงกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ โครงกระดูกแกน (สีเหลือง)ประกอบด้วย กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง และ กระดูกซี่โครง ซึ่งเรียงตัวตามแนวดิ่งของ เส้นสมมุติกลางลาตัว มีทั้งหมด 80 ชิ้น โครงกระดูกรยางค์ (สีขาว) ประกอบด้วย กระดูกที่เรียงตัวอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของเส้น สมมุติกลางลาตัว ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา กระดูกหัวไหล่ กระดูกเชิง กราน มีทั้งหมด 126 ชิ้น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 17. กระดูกแกน มีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกหน้าอก และกระดูกซี่โครง ก.กระดูกสันหลัง ข.กระดูกซี่โครง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 18. คาถาม - การที่โครงกระดูกของคนมีจานวนมากชิ้นและไม่ต่อเป็นชินเดียว ้ มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนไหวอย่างไร ตอบ ช่วยทาให้เกิดการเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง คาถาม - ถ้าหมอนรองกระดูกเสื่อมจะเกิดผลอย่างไร ตอบ ถ้าหมอนรองกระดูกเสื่อมอาจมีผลทาให้ร่างการเคลื่อนไหวไม่สะดวก เกิดความเจ็บปวดตรงระหว่างข้อต่อของกระดูกสันหลังในขณะเคลื่อนไหว ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 19. คาถาม กระดูกซี่โครงและกล้ามเนื้อยึดซี่โครงเกี่ยวข้องกับการหายใจอย่างไร ตอบ กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบนอกหดตัว ทาให้กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น มีผลทาให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้นอากาศจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ปอดได้ทาให้ เกิดการหายใจเข้าและถ้าเกิดกลไกการทางานของกล้ามเนื้อยึดซี่โครงและ กระดูกซี่โครงในทิศทางตรงกันข้ามกับที่กล่าวมาแล้วจะทาให้เกิดการ หายใจออก ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. ข้อต่อ และ เอ็นยึดกระดูก ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 21. กิจกรรมที่ 7.2 ชนิดของข้อต่อกับการเคลื่อนไหว จุดประสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. สังเกตการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่เกิดจาการทางานของข้อต่อ 2. จาแนกชนิดของข้อต่อโดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเอง วิธีทดลอง อุปกรณ์ ศึกษาจากแบบเรียนชีววิทยา เล่ม 3 บันทึกผลการทดลอง ลงในตารางผลการทดลอง ในแบบฝึกหัด หน้า 6 ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 22. คาถามท้ายกิจกรรม คาถาม ทุกส่วนของร่างการทีทดลองมีขอบเขตในการเคลื่อนไหว ่ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ข้อต่อบริเวณต่าง ๆ มีขอบเขตในการเคลื่อนไหวไปใน ทิศทางแตกต่างกัน บางส่วนเคลื่อนไหวได้เพียงทิศทางเดียว หรือรอบทิศทาง และเคลื่อนไหวไม่ได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. คาถาม นักเรียนคิดว่าสิ่งที่จากัดขอบเขตในการเคลื่อนไหวของร่างกาย ส่วนที่ทดลองคืออะไร ตอบ ลักษณะการเคลื่อนที่ของข้อต่อ คาถาม จากการทดลองนักเรียนแบ่งชนิดของข้อต่อได้เป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง และใช้อะไรเป็นเกณฑ์ ตอบ แบ่งได้เป็น3ชนิด คือ 1.เคลื่อนไหวได้ในทิศทางเดียว 2.เคลื่อนไหว ได้อย่างอิสระหลายทิศทางและ 3.เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลือนไหวได้ ่ เพียงเล็กน้อย ดังนั้นเกณฑ์ที่ใช้แบ่งข้อต่อจึงเป็นทิศทางการเคลื่อนที่ ของกระดูกที่ข้อต่อนั้น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. คาถาม - เมื่อทดลองเคลื่อนไหวนิ้วเท้า หัวเข่า และต้นขา นักเรียนบอกได้ หรือไม่ว่าข้อต่อส่วนนั้นเป็นข้อต่อชนิดใดและส่วนใดบ้างที่เคลื่อนไหวไม่ได้ ตอบ ข้อต่อของนิ้วเท้าเป็นแบบบานพับ ข้อต่อของหัวเข่าเป็นแบบบานพับ ข้อต่อของต้นขาเป็นแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก ข้อต่อในร่างกายบริเวณ ที่เคลื่อนไหวไม่ได้ คือข้อต่อของกระดูกสันหลัง ข้อต่อของกระดูกฝ่ามือ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 25. คาถาม - การเคลื่อนไหวของกระดูกหัวเข่า กระดูกโคนขาและกระดูกเชิงกราน เหมือนกันหรือไม่อย่างไร ตอบ การเคลื่อนไหวของกระดูกหัวเข่า สามารถพับไปด้านหลัง ส่วนกระดูกโคน ขาสามารถเคลื่อนไหวในลักษณะหมุนได้รอบ เนื่องจากข้อต่อเป็นแบบลูก กลมในเบ้ากระดูก ส่วนกระดูกเชิงกรานไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26. ข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแต่ละชิ้นในร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ข้อต่อที่เคลือนไหวไม่ได้ (Immoveable Joint)หรือข้อต่อ ่ ไฟบรัส (Fibrous joint) เป็นข้อต่อที่ทาหน้าทียึดกระดูกเอาไว้ ่ ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย เช่น ข้อต่อกะโหลกศีรษะที่ เรียกว่า Suture เป็นต้น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. 2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่ เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย โดยกระดูกที่มาเชื่อมต่อกันมีกระดูกอ่อนหุ้ม อยู่ที่ปลายกระดูกทาหน้าที่ประสาน เช่น ข้อต่อของกระดูกซี่โครง กับกระดูกหน้าอก ข้อต่อระหว่างกระดูกท่อนสันหลัง ข้อต่อ ระหว่างกระดูกเชิงกรานซีกซ้ายและซีกขวา ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. 3. ข้อต่อที่เคลือนไหวได้ (Movable Joint) หรือ ข้อต่อซิลโนเวียล ่ (Sylnovial joint ) เป็นข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแล้วทาให้เคลื่อนไหวได้ ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ข้อต่อที่ทาให้เคลื่อนไหวเพียงทิศทางเดียว เหมือนบานพับ (Hinge) พบที่ข้อต่อกระดูกนิ้วมือ นิ้วเท้า ส่วนข้อต่อที่ ทาให้เคลื่อนไหวได้อิสระหลายทิศทาง เนื่องจากมีการเชื่อมต่อของกระดูก คล้ายลูกกลมในเบ้า (Ball and Socket) พบที่ข้อต่อของหัวไหล่และ สะโพก สาหรับข้อต่อที่ต้นคอกับฐานของกะโหลกศีรษะนั้นเป็นข้อต่อที่มี เดือยสวมประกบกัน (Pivotal) ทาให้สามารถก้มเงยและบิดไปซ้ายขวา ได้ ส่วนข้อต่อที่ข้อมือนั้นก็หมุนได้หลายทิศทางเช่นกัน แต่เป็นข้อต่อ แบบที่เรียกว่า Gliding ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. บริเวณข้อต่อจะมีโพรงของข้อต่อ (joint cavity) ภายในโพรงมี เยื่อบุซิลโนเวียล (sylnovial membrane) บุอยู่ เยือบุนี้จะสร้าง ่ ของเหลวเป็นเมือกคล้ายไข่ขาว เรียกว่า น้าไขข้อ (sylnovial fluid) หล่อลื่นอยู่ เพื่อไม่ให้กระดูกเสียดสีกันและทาให้เคลื่อนไหวได้ สะดวก นอกจากนี้บริเวณข้อต่อยังมีเส้นเอ็น (Tendon) หรือ ลิกาเมนต์ (Ligament) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เหนียวแน่นและ ทนทานช่วยยึดกระดูกไว้อีกด้วย แหล่งอ้างอิง: เรื่องประเภทของข้อต่อ http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/9BODY.html ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. ลิกาเมนต์ (ligament) หรือ เอ็นยึด ข้อ คือ เอ็นที่ยึดกระดูกกับกระดูก เทนดอน (tendon) หรือ เอ็นยึดกระดูก คือ เอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกกับกล้ามเนื้อ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 32. ชนิดของข้อต่อ (Joint) Ball and socket joint ข้อต่อสะโพก และข้อต่อบริเวณ หัวไหล่เป็นข้อต่อแบบ "ลูกกลม ในเบ้า" ปลายกระดูกข้างหลังมี ลักษณะเป็นหัวกลม สวมอยู่ใน เบ้ารูปร่างคล้ายถ้วยของปลาย กระดูกอีกชิ้น ทาให้หมุนขาและ แขนได้หลายทิศทาง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 33. Hing joint ข้อเข่า และ ข้อศอก รวมทังข้อนิ้วมือ เป็น ้ ข้อต่อแบบ "บานพับ" มีลักษณะคล้าย บานพับ ทาให้เคลื่อนไหวขาได้เพียง สองทิศทางคือ งอขาและเหยียด Gliding joint ข้อมือ ข้อเท้า เป็นข้อต่อแบบ"บด เลื่อน" มีพื้นผิวแบนเรียบและกระดูก เคลื่อนที่ในลักษณะไถลเลื่อนบดกันไปมา ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 34. Pivot joint กระดูกคอ ข้อต่อแบบ "เดือยหมุน" พบใน ข้อต่อระหว่างกระดูกคอ ชิ้นที่ 1 และชิ้นที่ 2 โดยกระดูกคอชิ้นที่ 2 มีลักษณะเป็นเดือยตั้ง ให้กระดูกคือชิ้นที่ 1 ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 35. คาถาม - เพราะเหตุใดคนชราจึงเคลื่อนไหวได้ไม่คล่องแคล่ว และมีอาการ กระดูกลั่นขณะที่มีการเคลื่อนไหว ตอบ เนื่องจากการสึกกร่อนหรือเสื่อมของกระดูก หมอนรองกระดูกและข้อต่อ รวมทั้งปริมาณของน้าไขข้อในข้อต่อลดลง จึงเกิดการเสียดสีของกระดูก บริเวณข้อต่อในขณะที่มีการเคลื่อนไหวทาให้เกิดเสียงลั่น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 36. The End ฉวีวรรณ นาคบุตร