SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ สื่อการศึกษา 
เสนอ 
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศใน ปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรีได้ สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพ ประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่ม เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพ มากขึ้น
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจ เป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอหลังจากนั้น ไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้ง ผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรี กลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็น ครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือครูสมศรี อย่างไร
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล 
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดเพราะ ครูสมศรีมีการ พัฒนาการเรียนการสอนจากเดิมในเรื่องของ การใช้สื่อใน การสอน มีการนาสื่อมาใช้ในการสอน มีการออกแบบให้ สวยงามให้ดึงดูดเด็กๆ แต่ครูสมศรีก็สร้างสื่อขึ้นมาตาม แนวความคิด และประสบการณ์เดิมของตนเอง เช่น ในสื่อ อยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพ ประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความ สวยงามตรงตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของ ตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
แต่จากลักษณะที่กล่าวมาจะเห็นว่าครูสมศรียังติดแนวการสอนแบบเดิมๆคือ อยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุใน สื่อ แทนการบอกจากครู ซึ่งลักษณะนี้จะเหมือนสื่อที่ครูเตรียมมาเป็นหนังสือ แล้วครูก็ สอนนักเรียนตามหนังสือ ซึ่งยังเป็นการสอนในลักษณะเดิมของครูสมศรี ถึงจะมีการใช้สื่อ ในการสอนแต่ก็ยังเป็นการสอนแบบให้ผู้เรียนท่องจา อาจจะเปลี่ยนจากท่องจาในหนังสือ เป็นท่องจาจากสื่อการสอน และการสอนยังเป็นการเน้นที่ครูผู้สอนอยู่ยังไม่ใช่การเน้นที่ ตัวผู้เรียนซึ่งสังเกตได้จากการทาสื่อที่ครูจะยึดตามความเข้าใจ, ความคิดและประสบการณ์ เดิมของครู
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ซึ่งการใช้สื่ออาจจะทาให้นักเรียนสนใจแค่ใน ช่วงแรกๆเพราะยังเห็นว่าแปลกใหม่ ครูมีการใช้สื่อด้วย แต่ไม่นานก็เบื่อเพราะมีลักษณะการสอนแบบเดิมแค่ เปลี่ยนจากสอนตามหนังสื่อ เป็นสอนตามสื่อที่เตรียมมา
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน และสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี ความสัมพันธ์กันอย่างไร
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
การออกแบบสื่อการสอนของครูสมศรีจะมีลักษณะดังนี้ คือ ครูสมศรีเห็นว่า การสอนแบบเดิม(การใช้หนังสือเป็นสื่อ)ไม่สามารถดึงดูดนักเรียนได้ ครูสมศรีจึงใช้ สิ่งเร้า โดยการใช้เทคโนโลยีมาช่วยเป็นสื่อในการสอน ใส่เนื้อหา, รูปภาพ (ที่ครูอยาก ให้นักเรียนรู้) และกราฟิกให้สวยงามน่าสนใจ ซึ่งสามารถดึงดูดเด็กๆได้ในช่วงแรกๆ แต่ไม่นานนักเรียนก็จะเป็นเหมือนเดิม เพราะครูสมศรีใช้สื่อเทคโนโลยีเข้าช่วยแต่การ จัดการในชั้นเรียนก็ยังคงเป็นแบบเดิมที่ครูสมศรีอยากให้เป็น ครูสมศรียังมีบทบาท มากในชั้นเรียน นักเรียนยังเป็นแค่ผู้ฟัง ผู้รอรับความรู้จากครู ซึ่งการสอนลักษณะนี้จะ มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้ดังนี้ 
1.การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม 
2.การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรม นิยม 
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนอง จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและ สังเกตได้เท่านั้น โดยไม่ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process) ซึ่ง ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่ เรียนรู้ ในขณะที่บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน ซึ่งจะเห็น ได้ว่าการออกแบบสื่อและการสอนของครูสมศรี จะมีลักษะเหมือนการเรียนรู้ตามแนว พฤติกรรมนิยม มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้ได้ใน ปริมาณมากที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะ เป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศนี้ ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด โดยตรงจากครูผู้สอน ไปยังผู้เรียน
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม 
เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือ การเรียนรู้เป็นผลมา จากการจัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร้างทาง ปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ นอกจาก ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยัง สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียก กลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยง ความรู้ และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้ มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่" ซึ่งครูจะมีบทบาทเป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ ผู้เรียนจะ รอรับสารสนเทศ ให้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ "ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) ซึ่งลักษณะการสอนและการใช้สื่อของครูสมศรีก็จะ เหมือนการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม ที่ครูยังมีบทบาทมากในชั้นเรียน แต่นักเรียนก็ ยังเป็นเพียงผู้ที่รอรับความรู้อยู่
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรม นิยมและการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม 
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยมและการเรียนรู้ ตามแนวพุทธิปัญญานิยมจะมีลักษณะแนวคิดหลายอย่างที่ เหมือนกัน และแตกต่างกันในบางส่วน
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ข้อเหมือน 
ข้อเหมือน 
-มีครูเป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ หรือเนื้อหา ความรู้ เหมือนกัน 
-มีนักเรียนเป็นผู้รอรับความรู้ 
-การใช้สื่อ ใช้สิ่งเร้า 
-เน้นให้นักเรียนจดจา 
-ข้อมูล ความรู้ ข่าวสารต่างๆจะถูกถ่ายทอดโดยตรงจากครูสู่ ผู้เรียน
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ข้อแตกต่าง 
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม 
-เน้นพฤติกรรมภายนอกที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ไม่สนใจ พฤติกรรมภายใน 
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม 
-เน้นปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อ ต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process)
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
3.วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการ ออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง ใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
กระบวนทัศน์ใหม่ของการศึกษา ควรจะนาเอา ทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ที่อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่าง ตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง ความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทน ความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์เดิมของตนเอง และรากฐานของหลัก
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ใน สภาพจริง (Realistic) ตามแนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนคือผู้สร้าง ความรู้ ในขณะที่ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนาทางพุทธิปัญญา (Cognitive guide) ที่ให้คาแนะนาและรูปแบบเกี่ยวกับภารกิจการ เรียนรู้ตามสภาพจริง บทบาทของผู้เรียนคือลงมือกระทาการ เรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน (Meyer, 1996) ในงานทางเทคโนโลยีการศึกษาได้นาทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ที่สาคัญ 2 กลุ่ม 
แนวคิดมาใช้เป็นพื้นฐาน คือ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (CognitiveConstructivism) และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
การออกแบบการสอนและสื่อการสอนในยุคปัจจุบัน ที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง 
ควรจะใช้หลักที่เรียกว่า การจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิสต์ คือ สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและทางานเป็นทีมเพื่อ ประโยชน์ของสังคมไทยโดยมีเป้าหมายให้คนไทยมีศักยภาพ ในการแข่งขัน และ ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์โดยการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัค ติวิสต์
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นรูปแบบการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง "สื่อ"(Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของ สื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมี องค์ประกอบ และหลักการสาคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ 
(1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ 
(3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา 
(5) การโค้ช 
สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การ พัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้เรียน
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ตัวอย่างการออกแบบการสอนและสื่อ การสอน 
เมื่อเข้าสู่ชั้นเรียน ครูก็จะมีการทักทายผู้เรียน และเริ่มเข้า สู่สถานการณ์ปัญหาด้วยการถามด้วยคาถามปลายเปิด เพื่อเปิด โอกาสให้นักเรียนสามารถตอบคาถามได้หลายรูปแบบ โดยการ เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้แสวงหาความรู้โดยตนเอง ครูทาหน้าที่เป็น เพียงผู้คอยแนะแนวทาง กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยตนเอง และ เปิดโอการให้นักเรียนได้นาเสนอแนวคิดของตนเอง และครูสรุปสิ่ง ที่ได้เรียนรู้โดยเชื่อมโยงกับแนวคิดของนักเรียน 
สวัสดีเด็กๆ
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ตัวอย่างคาถามปลายเปิด 
ให้นักเรียนหาพื้นที่ที่แรเงาว่ามีพื้นที่เท่าใดและมีวิธีการใดบ้างที่สามารถหาพื้นที่ได้ พร้อมทั้งแสดงวิธีการคิด (โดยใช้รูปที่กาหนดให้ในด้านล่าง) 
หมายเหตุ 
ยาว 4 หน่วย 
ยาว 3 หน่วย
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ผู้จัดทา 
1.นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050370-9 
2.นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
3.นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
4.นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 

What's hot (19)

E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 

Viewers also liked

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาTong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษาJitthana_ss
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Mod DW
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาTurdsak Najumpa
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3 Zhao Er
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (15)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3micnattawat
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3PattrapornSakkunee
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
No3
No3No3
No3
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
chapter3
chapter3chapter3
chapter3
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 

More from N'Fern White-Choc

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)N'Fern White-Choc
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptN'Fern White-Choc
 

More from N'Fern White-Choc (10)

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
 

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

  • 2. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศใน ปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรีได้ สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพ ประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่ม เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพ มากขึ้น
  • 3. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจ เป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอหลังจากนั้น ไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้ง ผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรี กลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็น ครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือครูสมศรี อย่างไร
  • 4. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 5. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดเพราะ ครูสมศรีมีการ พัฒนาการเรียนการสอนจากเดิมในเรื่องของ การใช้สื่อใน การสอน มีการนาสื่อมาใช้ในการสอน มีการออกแบบให้ สวยงามให้ดึงดูดเด็กๆ แต่ครูสมศรีก็สร้างสื่อขึ้นมาตาม แนวความคิด และประสบการณ์เดิมของตนเอง เช่น ในสื่อ อยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพ ประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความ สวยงามตรงตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของ ตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 6. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ แต่จากลักษณะที่กล่าวมาจะเห็นว่าครูสมศรียังติดแนวการสอนแบบเดิมๆคือ อยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุใน สื่อ แทนการบอกจากครู ซึ่งลักษณะนี้จะเหมือนสื่อที่ครูเตรียมมาเป็นหนังสือ แล้วครูก็ สอนนักเรียนตามหนังสือ ซึ่งยังเป็นการสอนในลักษณะเดิมของครูสมศรี ถึงจะมีการใช้สื่อ ในการสอนแต่ก็ยังเป็นการสอนแบบให้ผู้เรียนท่องจา อาจจะเปลี่ยนจากท่องจาในหนังสือ เป็นท่องจาจากสื่อการสอน และการสอนยังเป็นการเน้นที่ครูผู้สอนอยู่ยังไม่ใช่การเน้นที่ ตัวผู้เรียนซึ่งสังเกตได้จากการทาสื่อที่ครูจะยึดตามความเข้าใจ, ความคิดและประสบการณ์ เดิมของครู
  • 7. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งการใช้สื่ออาจจะทาให้นักเรียนสนใจแค่ใน ช่วงแรกๆเพราะยังเห็นว่าแปลกใหม่ ครูมีการใช้สื่อด้วย แต่ไม่นานก็เบื่อเพราะมีลักษณะการสอนแบบเดิมแค่ เปลี่ยนจากสอนตามหนังสื่อ เป็นสอนตามสื่อที่เตรียมมา
  • 8. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน และสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี ความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 9. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การออกแบบสื่อการสอนของครูสมศรีจะมีลักษณะดังนี้ คือ ครูสมศรีเห็นว่า การสอนแบบเดิม(การใช้หนังสือเป็นสื่อ)ไม่สามารถดึงดูดนักเรียนได้ ครูสมศรีจึงใช้ สิ่งเร้า โดยการใช้เทคโนโลยีมาช่วยเป็นสื่อในการสอน ใส่เนื้อหา, รูปภาพ (ที่ครูอยาก ให้นักเรียนรู้) และกราฟิกให้สวยงามน่าสนใจ ซึ่งสามารถดึงดูดเด็กๆได้ในช่วงแรกๆ แต่ไม่นานนักเรียนก็จะเป็นเหมือนเดิม เพราะครูสมศรีใช้สื่อเทคโนโลยีเข้าช่วยแต่การ จัดการในชั้นเรียนก็ยังคงเป็นแบบเดิมที่ครูสมศรีอยากให้เป็น ครูสมศรียังมีบทบาท มากในชั้นเรียน นักเรียนยังเป็นแค่ผู้ฟัง ผู้รอรับความรู้จากครู ซึ่งการสอนลักษณะนี้จะ มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้ดังนี้ 1.การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม 2.การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม
  • 10. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรม นิยม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนอง จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและ สังเกตได้เท่านั้น โดยไม่ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process) ซึ่ง ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่ เรียนรู้ ในขณะที่บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน ซึ่งจะเห็น ได้ว่าการออกแบบสื่อและการสอนของครูสมศรี จะมีลักษะเหมือนการเรียนรู้ตามแนว พฤติกรรมนิยม มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้ได้ใน ปริมาณมากที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะ เป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศนี้ ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด โดยตรงจากครูผู้สอน ไปยังผู้เรียน
  • 11. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือ การเรียนรู้เป็นผลมา จากการจัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร้างทาง ปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ นอกจาก ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยัง สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียก กลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยง ความรู้ และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้ มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่" ซึ่งครูจะมีบทบาทเป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ ผู้เรียนจะ รอรับสารสนเทศ ให้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ "ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) ซึ่งลักษณะการสอนและการใช้สื่อของครูสมศรีก็จะ เหมือนการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม ที่ครูยังมีบทบาทมากในชั้นเรียน แต่นักเรียนก็ ยังเป็นเพียงผู้ที่รอรับความรู้อยู่
  • 12. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรม นิยมและการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยมและการเรียนรู้ ตามแนวพุทธิปัญญานิยมจะมีลักษณะแนวคิดหลายอย่างที่ เหมือนกัน และแตกต่างกันในบางส่วน
  • 13. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ข้อเหมือน ข้อเหมือน -มีครูเป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ หรือเนื้อหา ความรู้ เหมือนกัน -มีนักเรียนเป็นผู้รอรับความรู้ -การใช้สื่อ ใช้สิ่งเร้า -เน้นให้นักเรียนจดจา -ข้อมูล ความรู้ ข่าวสารต่างๆจะถูกถ่ายทอดโดยตรงจากครูสู่ ผู้เรียน
  • 14. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ข้อแตกต่าง การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม -เน้นพฤติกรรมภายนอกที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ไม่สนใจ พฤติกรรมภายใน การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม -เน้นปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อ ต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process)
  • 15. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3.วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการ ออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง ใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 16. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ กระบวนทัศน์ใหม่ของการศึกษา ควรจะนาเอา ทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ที่อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่าง ตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง ความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทน ความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์เดิมของตนเอง และรากฐานของหลัก
  • 17. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ใน สภาพจริง (Realistic) ตามแนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนคือผู้สร้าง ความรู้ ในขณะที่ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนาทางพุทธิปัญญา (Cognitive guide) ที่ให้คาแนะนาและรูปแบบเกี่ยวกับภารกิจการ เรียนรู้ตามสภาพจริง บทบาทของผู้เรียนคือลงมือกระทาการ เรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน (Meyer, 1996) ในงานทางเทคโนโลยีการศึกษาได้นาทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ที่สาคัญ 2 กลุ่ม แนวคิดมาใช้เป็นพื้นฐาน คือ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (CognitiveConstructivism) และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
  • 18. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การออกแบบการสอนและสื่อการสอนในยุคปัจจุบัน ที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ควรจะใช้หลักที่เรียกว่า การจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิสต์ คือ สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและทางานเป็นทีมเพื่อ ประโยชน์ของสังคมไทยโดยมีเป้าหมายให้คนไทยมีศักยภาพ ในการแข่งขัน และ ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์โดยการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัค ติวิสต์
  • 19. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นรูปแบบการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง "สื่อ"(Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของ สื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมี องค์ประกอบ และหลักการสาคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา (5) การโค้ช สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การ พัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้เรียน
  • 20. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ตัวอย่างการออกแบบการสอนและสื่อ การสอน เมื่อเข้าสู่ชั้นเรียน ครูก็จะมีการทักทายผู้เรียน และเริ่มเข้า สู่สถานการณ์ปัญหาด้วยการถามด้วยคาถามปลายเปิด เพื่อเปิด โอกาสให้นักเรียนสามารถตอบคาถามได้หลายรูปแบบ โดยการ เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้แสวงหาความรู้โดยตนเอง ครูทาหน้าที่เป็น เพียงผู้คอยแนะแนวทาง กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยตนเอง และ เปิดโอการให้นักเรียนได้นาเสนอแนวคิดของตนเอง และครูสรุปสิ่ง ที่ได้เรียนรู้โดยเชื่อมโยงกับแนวคิดของนักเรียน สวัสดีเด็กๆ
  • 21. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ตัวอย่างคาถามปลายเปิด ให้นักเรียนหาพื้นที่ที่แรเงาว่ามีพื้นที่เท่าใดและมีวิธีการใดบ้างที่สามารถหาพื้นที่ได้ พร้อมทั้งแสดงวิธีการคิด (โดยใช้รูปที่กาหนดให้ในด้านล่าง) หมายเหตุ ยาว 4 หน่วย ยาว 3 หน่วย
  • 23. 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ผู้จัดทา 1.นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050370-9 2.นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 3.นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 4.นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9