SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่ เกี่ยวกับเทคโนโลยี และ สื่อการศึกษา 
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 นายสุรวุฒิ สุขบัติ 563050150-3 
นายสมบัติ ตันจินดารัตน์ 563050304-2 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356-3 
นายธนวัฒน์ นานอก 563050361-0 
นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึง เปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรีได้สร้างสื่อ ขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็ นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอก จากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิด ของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะ หนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูด ความสนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรี สร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการ สอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึง เป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือ ครูสมศรีอย่างไร
ภารกิจที่ 1 
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อ ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า 
วิธีการสอนของครูสมศรียังคงเป็นวิธีการสอนแบบเดิมอยู่ ถึงแม้ว่าจะมีการนาสื่อการ สอนมาใช้เพื่อให้เกิดความน่าสนใจก็ตาม 
สื่อการสอนที่ครูสมศรีได้จัดทาขึ้นนั้นมีความน่าสนใจก็จริง แต่ครูสมศรีไม่รู้จัก ประยุกต์หรือปรับใช้สื่อของตนเองที่มีอยู่นั้นให้มีประสิทธิภาพ 
การสอนของครูสมศรี ครูนั้นจะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ให้ ส่วนนักเรียนก็เป็นผู้รับเอา ข้อมูลที่ได้นั้นมาบันทึกเอาไว้ในระบบความจา ซึ่งทาให้เด็กไม่ได้ฝึกระบบการคิด การ ต่อยอดองค์ความรู้เก่าและความรู้ใหม่ที่จาเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน 
บรรยากาศภายในห้องเรียนไม่เอื้ออานวยในการเรียนเท่าที่ควร
ภารกิจที่ 2 
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี ความสัมพันธ์กันอย่างไร
ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า 
แนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนมาจากแนวคิดพื้นฐาน 3 พื้นฐานที่ สาคัญ ดังนี้ 
1.แนวคิดการเรียนรู้ตามพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) 
เป็นแนวคิดที่พูดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลมาจากการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองจะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่ สามารถวัดและสังเกตได้ โดยไม่ศึกษากระบวนการภายในของมนุษย์ ( Mental process) 
มีลักษณะที่สาคัญดังนี้ 
-จะมีการระบุวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 
-การสอนจะเป็นลาดับขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ 
-ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง 
-ดาเนินการสอนไปตามโปรแกรมจากง่าย-ยาก
2.แนวคิดการเรียนรู้ตามพุทธิปัญญานิยม 
เป็นแนวคิดที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณ 
มีลักษณะสาคัญ ดังนี้ 
- จะมีการจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน 
-มีการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับความรู้เดิม 
-มีการใช้เทคนิคแนะนาและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เช่น 
-การมุ่งเน้นหาคาถาม ( Focusing question ) 
-การเน้นคาหรือข้อความ ( Highylighting) 
-การใช้ Mnemonic 
-การสร้างภาพ ( Imagery )
3. แนวคิดตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อว่าความรู้(Knowledge) และการเรียนรู้( Learning ) จะเกิดขึ้นได้ ด้วยตนเองเป็นคนสร้างขึ้นมาตีความหมาย( Interprete) ของสิ่งที่อยู่ในโลกความจริง 
( Real world ) ทั้งที่เป็นวัตถุ( Object ) หรือเหตุการณ์ ( Event )ที่อยู่บนฐาน ประสบการณ์และความรู้ ที่แต่ละบุคคลมีมาก่อนเข้าไปสร้างความหมาย (Representation) ภายในจิตใจ 
มีลักษณะสาคัญ ดังนี้ 
- จะมีการสร้างสื่อที่เป็นสิ่งเร้าให้เด็กเกิดความต้องการเรียนรู้ 
- ครูจะเป็นผู้กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจต่อนักเรียน 
- จะมีการให้เด็กได้ลงมือควบคู่กับสื่อที่ครูเตรียมไว้ 
-ให้เด็กได้ลองใช้ความคิดเดิม บวกกับความรู้ใหม่ที่เราเป็นผู้ชี้แนะเพื่อให้เด็กเกิดการ เรียนรู้จากสื่อที่จัดทาขึ้น 
-ให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนและครู 
-นาเสนอแนวคิดของตนเอง
 ซึ่งแนวคิดทั้ง 3 มีความสัมพันธ์กัน เพราะ แนวคิดทั้ง 3 ก็มีความสอดคล้องเป็น อย่างมาก เราจะมาใช้แนวคิดเดียวไม่ได้ เราต้องดูสถานการณ์ ลักษณะของผู้เรียนใน ชั้นเรียนด้วยว่าเขาเหมาะกับวิธีการสอนหรือสื่อการสอนและแนวคิดไหนบ้างที่จะมา รวมกันหรือประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียน เช่น เราจะทาสื่อการสอน ในเรื่องการสร้างรูปสามเหลี่ยม เราจาเป็นที่จะต้องมีสิ่งเร้าและการกระตุ้นให้กับเด็กซึ่ง ตรงกับ(ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม) และให้เด็กได้คิดเชื่อมโยง โดยครูเป็นผู้บอกกล่าว( ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม) และสุดท้ายให้เด็กได้ลองทางานกนเป็นกลุ่ม โดยใช้ แนวความคิดของตนเองที่มีอยู่มาใช้ในการแก้ปัญหา (ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์)
ภารกิจที่ 3 
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของ สิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ
ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า 
ในปัจจุบันการจัดการศึกษาในการออกแบบการสอนและสื่อการสอน ควรที่จะตั้งอยู่บน พื้นฐานของสิ่งต่างๆดังนี้ 
-ความเหมาะสม ของสื่อการเรียนการสอนนั้นตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ 
-ความถูกต้อง สิ่งที่ทาขึ้นมาจะช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือไม่ 
-ความเข้าใจ สื่อนั้นจะช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ นักเรียน 
-ประสบการณ์ สื่อจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับนักเรียน 
-ความเหมาะสมของวัย 
-ความเที่ยงตรงในเนื้อหา 
-ใช้การได้ดี 
-คุ้มค่ากับราคาที่เราเสียไปในการจัดทาสื่อแต่ละชิ้น 
-ตรงกับความต้องการและช่วยให้เกิดความเข้าใจ
โดยการออกแบบการสอนและสื่อการสอนจะยึดหลักจิตวิทยาการศึกษาในเรื่องของ “ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์” เพราะเป็นทฤษฎีที่ได้รับความนิยม และมีอิทธิพลต่อระบบ การศึกษาในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ซึ่งมีความเชื่อว่าคนเรานั้นจะรู้จักการตีความหมาย ของสิ่งต่างๆในโลกของแต่ละบุคคลนั้น เกิดการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ เป็นของจริง หรือพูดง่ายๆทฤษฎีดังกล่าวจะฝึกให้เด็กคิดเป็น ทาเป็น โดยมีสื่อและ เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยให้เด็กได้เกิดทักษะและกระบวนการการเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น ครูจินตนา จะจัดทาสื่อการสอนคณิตศาสตร์เนื่อง การบวกลบเลข ครูจินตนา จาเป็นต้องทาตามแผนความคิด ดังนี้ 
วิเคราะห์ผู้เรียน จัดทาสื่อให้ เหมาะสม จัดการเรียนรู้ให้ น่าสนใจ นักเรียนนาเสนอ แนวคิดตนเอง เด็กคิดเอง แก้ปัญหาเองและ ครูเป็นผู้สังเกตุ 
ครูเป็นผู้สรุป แนวคิด
กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง ขอจบการนาเสนอเพียงเท่านี้ครับ

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)chawisa_22
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorBoonlert Aroonpiboon
 

What's hot (19)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
No3
No3No3
No3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
 
PPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkraiPPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkrai
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for Author
 

Similar to งานนวัตกรรม Chapter 3

Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมAyumu Black
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาPennapa Kumpang
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 

Similar to งานนวัตกรรม Chapter 3 (20)

Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
201700 slide3 3
201700 slide3 3201700 slide3 3
201700 slide3 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 

More from micnattawat

นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3micnattawat
 
งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9micnattawat
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3micnattawat
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดงmicnattawat
 

More from micnattawat (7)

นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
 
งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
 

งานนวัตกรรม Chapter 3

  • 1. บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่ เกี่ยวกับเทคโนโลยี และ สื่อการศึกษา รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2.  นายสุรวุฒิ สุขบัติ 563050150-3 นายสมบัติ ตันจินดารัตน์ 563050304-2 นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356-3 นายธนวัฒน์ นานอก 563050361-0 นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
  • 3. หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึง เปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรีได้สร้างสื่อ ขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็ นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอก จากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิด ของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะ หนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูด ความสนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรี สร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการ สอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึง เป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือ ครูสมศรีอย่างไร
  • 4. ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อ ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 5. ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า วิธีการสอนของครูสมศรียังคงเป็นวิธีการสอนแบบเดิมอยู่ ถึงแม้ว่าจะมีการนาสื่อการ สอนมาใช้เพื่อให้เกิดความน่าสนใจก็ตาม สื่อการสอนที่ครูสมศรีได้จัดทาขึ้นนั้นมีความน่าสนใจก็จริง แต่ครูสมศรีไม่รู้จัก ประยุกต์หรือปรับใช้สื่อของตนเองที่มีอยู่นั้นให้มีประสิทธิภาพ การสอนของครูสมศรี ครูนั้นจะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ให้ ส่วนนักเรียนก็เป็นผู้รับเอา ข้อมูลที่ได้นั้นมาบันทึกเอาไว้ในระบบความจา ซึ่งทาให้เด็กไม่ได้ฝึกระบบการคิด การ ต่อยอดองค์ความรู้เก่าและความรู้ใหม่ที่จาเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน บรรยากาศภายในห้องเรียนไม่เอื้ออานวยในการเรียนเท่าที่ควร
  • 6. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี ความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 7. ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า แนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนมาจากแนวคิดพื้นฐาน 3 พื้นฐานที่ สาคัญ ดังนี้ 1.แนวคิดการเรียนรู้ตามพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) เป็นแนวคิดที่พูดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลมาจากการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองจะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่ สามารถวัดและสังเกตได้ โดยไม่ศึกษากระบวนการภายในของมนุษย์ ( Mental process) มีลักษณะที่สาคัญดังนี้ -จะมีการระบุวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน -การสอนจะเป็นลาดับขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ -ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง -ดาเนินการสอนไปตามโปรแกรมจากง่าย-ยาก
  • 8. 2.แนวคิดการเรียนรู้ตามพุทธิปัญญานิยม เป็นแนวคิดที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณ มีลักษณะสาคัญ ดังนี้ - จะมีการจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน -มีการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับความรู้เดิม -มีการใช้เทคนิคแนะนาและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เช่น -การมุ่งเน้นหาคาถาม ( Focusing question ) -การเน้นคาหรือข้อความ ( Highylighting) -การใช้ Mnemonic -การสร้างภาพ ( Imagery )
  • 9. 3. แนวคิดตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อว่าความรู้(Knowledge) และการเรียนรู้( Learning ) จะเกิดขึ้นได้ ด้วยตนเองเป็นคนสร้างขึ้นมาตีความหมาย( Interprete) ของสิ่งที่อยู่ในโลกความจริง ( Real world ) ทั้งที่เป็นวัตถุ( Object ) หรือเหตุการณ์ ( Event )ที่อยู่บนฐาน ประสบการณ์และความรู้ ที่แต่ละบุคคลมีมาก่อนเข้าไปสร้างความหมาย (Representation) ภายในจิตใจ มีลักษณะสาคัญ ดังนี้ - จะมีการสร้างสื่อที่เป็นสิ่งเร้าให้เด็กเกิดความต้องการเรียนรู้ - ครูจะเป็นผู้กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจต่อนักเรียน - จะมีการให้เด็กได้ลงมือควบคู่กับสื่อที่ครูเตรียมไว้ -ให้เด็กได้ลองใช้ความคิดเดิม บวกกับความรู้ใหม่ที่เราเป็นผู้ชี้แนะเพื่อให้เด็กเกิดการ เรียนรู้จากสื่อที่จัดทาขึ้น -ให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนและครู -นาเสนอแนวคิดของตนเอง
  • 10.  ซึ่งแนวคิดทั้ง 3 มีความสัมพันธ์กัน เพราะ แนวคิดทั้ง 3 ก็มีความสอดคล้องเป็น อย่างมาก เราจะมาใช้แนวคิดเดียวไม่ได้ เราต้องดูสถานการณ์ ลักษณะของผู้เรียนใน ชั้นเรียนด้วยว่าเขาเหมาะกับวิธีการสอนหรือสื่อการสอนและแนวคิดไหนบ้างที่จะมา รวมกันหรือประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียน เช่น เราจะทาสื่อการสอน ในเรื่องการสร้างรูปสามเหลี่ยม เราจาเป็นที่จะต้องมีสิ่งเร้าและการกระตุ้นให้กับเด็กซึ่ง ตรงกับ(ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม) และให้เด็กได้คิดเชื่อมโยง โดยครูเป็นผู้บอกกล่าว( ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม) และสุดท้ายให้เด็กได้ลองทางานกนเป็นกลุ่ม โดยใช้ แนวความคิดของตนเองที่มีอยู่มาใช้ในการแก้ปัญหา (ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์)
  • 11. ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของ สิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ
  • 12. ทางกลุ่มนี้มีความคิดเห็นว่า ในปัจจุบันการจัดการศึกษาในการออกแบบการสอนและสื่อการสอน ควรที่จะตั้งอยู่บน พื้นฐานของสิ่งต่างๆดังนี้ -ความเหมาะสม ของสื่อการเรียนการสอนนั้นตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ -ความถูกต้อง สิ่งที่ทาขึ้นมาจะช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือไม่ -ความเข้าใจ สื่อนั้นจะช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ นักเรียน -ประสบการณ์ สื่อจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับนักเรียน -ความเหมาะสมของวัย -ความเที่ยงตรงในเนื้อหา -ใช้การได้ดี -คุ้มค่ากับราคาที่เราเสียไปในการจัดทาสื่อแต่ละชิ้น -ตรงกับความต้องการและช่วยให้เกิดความเข้าใจ
  • 13. โดยการออกแบบการสอนและสื่อการสอนจะยึดหลักจิตวิทยาการศึกษาในเรื่องของ “ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์” เพราะเป็นทฤษฎีที่ได้รับความนิยม และมีอิทธิพลต่อระบบ การศึกษาในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ซึ่งมีความเชื่อว่าคนเรานั้นจะรู้จักการตีความหมาย ของสิ่งต่างๆในโลกของแต่ละบุคคลนั้น เกิดการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ เป็นของจริง หรือพูดง่ายๆทฤษฎีดังกล่าวจะฝึกให้เด็กคิดเป็น ทาเป็น โดยมีสื่อและ เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยให้เด็กได้เกิดทักษะและกระบวนการการเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น ครูจินตนา จะจัดทาสื่อการสอนคณิตศาสตร์เนื่อง การบวกลบเลข ครูจินตนา จาเป็นต้องทาตามแผนความคิด ดังนี้ วิเคราะห์ผู้เรียน จัดทาสื่อให้ เหมาะสม จัดการเรียนรู้ให้ น่าสนใจ นักเรียนนาเสนอ แนวคิดตนเอง เด็กคิดเอง แก้ปัญหาเองและ ครูเป็นผู้สังเกตุ ครูเป็นผู้สรุป แนวคิด