SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซงึ่มีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ 
ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึน้ คือ ผู้เรียนทุกคนมี 
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสา คัญที่สุด ที่ 
ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ 
ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ 
และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางาน 
เป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ 
เรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา 
เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล 
สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นัน้เกิด 
ประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่ 
เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
ภารกิจ 
1. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 
กับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 
2. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 
กับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่ม 
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ 
กา หนดให้ พร้อมทัง้ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ 
พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 
การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น 
ศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครูจะเป็นผู้มีบทบาทสา คัญเพียง 
อย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษา คือการสร้าง 
โอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มาก 
และสะดวกขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบ 
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู้
พัฒนาการเรียนรู้และอา นวย 
ความสะดวกในด้านการสอนและ 
แหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา 
ไม่มีข้อจากัดในด้านสถานที่ 
การสอนโดยใช้ระบบ 
สารสนเทศจะจัดการเรียนรู้ได้ตาม 
ความแตกต่างของผู้เรียน ระบบการ 
เรียนรู้ที่ใช้ในด้านการศึกษามีหลาย 
ระบบ เช่น E-learning, e – 
Book, e –Library และ e – 
Classroom 
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ 
เทคโนโลยีและสารสนเทศในการ 
เรียนรู้เป็นการเปิดโอกาสทางการ 
ศึกษาที่ทาให้คุณเรียนรู้โดยไม่มี 
ข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ 
ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาวิธีการเพื่อเข้าสู่ 
ระบบที่ต้องการให้ถูกต้อง 
เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล 
ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่า 
จะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทาง 
อินเทอร์เน็ตได้ ครูสามารถตรวจงานให้คะแนน 
ได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์ 
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ระบบกระดาน 
ข่าว (Bulletin Board System) 
บทบาทและความสาคัญ 
ของเทคโนโลยี 
สารสนเทศกับการพัฒนา 
การศึกษา
2. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับ 
การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 
นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการในการ 
จัดการเรียนรู้ ได้แก่ 
1. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้(Learning environment) เป็นการบูรณาการเทคโนโลยี 
สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพืน้ฐานการออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยี 
สารสนเทศ ซึ่งจะประกอบด้วย 
-สถานการณ์ปัญหา ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 
-แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นหาคาตอบได้หลากหลายรูปแบบ 
-ฐานการช่วยเหลือ เพื่อคอยช่วยเหลือสนับสนุน กระตุ้นผู้เรียนให้สามารถแก้ปัญหาได้ ใน 
กรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ 
-การเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ได้ 
ขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ 
ซงึ่สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้แบ่งตามคุณลักษณะของสื่อได้3 รูปแบบ คือ สงิ่แวดล้อม 
ทางการเรียนรู้บนเครือข่าย, มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ และชุดการสร้างความรู้ตามแนว 
คอนสตรัคติวิสต์
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์(E-learning) เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่าน 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) 
เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของ 
ตน ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน 
-เนือ้หาของบทเรียน ซงึ่จะเป็นข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ 
-ระบบบริหารการเรียน ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง กาหนดลาดับของเนือ้หาใน 
บทเรียน 
-การติดต่อสื่อสาร รูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบในการ 
เรียน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ประเภท 
Real-time ได้แก่Chat และประเภท Non real-time ได้แก่Web-board, 
E-mail
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ใน 
รูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ และการเข้าเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสงั่พิมพ์ 
เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ และสามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ 
ตลอดเวลา และลักษณะของซอฟต์แวร์ที่เพิ่มเป็นแบบไฮเปอร์มีเดีย 
(Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้นหาตัวอักษรได้ เชื่อมต่อกับ 
ไฮเปอร์เท็กซ์ มีคาแนะนาที่สามารถอธิบายศัพท์เป็นระบบออนไลน์
4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์(E-library) แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ใน 
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน 
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุด 
อัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุด 
อิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ 
-การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ 
สารสนเทศ และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ 
-ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่ง 
สารสนเทศอื่น ๆ 
- การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ มี4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ โทรสาร และ 
ทางอินเตอร์
5. แผนการจัดการเรียนรู้ 
1.การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ (ตัง้คาถาม/สนทนาเกี่ยวกับความรู้เดิมโดยใช้ICT 
เช่น วีดิทัศน์) 
2.การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบหมายภารกิจการเรียนรู้ (เชื่อมโยงสถานการณ์ปัญหา 
และประสบการณ์โดยใช้ ICT เช่น web-based learning) 
3.การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (แสวงหาคาตอบด้วยตนเองจาก 
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น Web site ) 
4.การขยายแนวคิดที่หลากหลาย (ร่วมมือกันแก้ปัญหา, ระดมสมอง, แลกเปลี่ยนมุมมองที่ 
หลากหลาย โดยใช้ ICT เช่น Chat room) 
5.การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิดและสรุปองค์ 
ความรู้ (นาเสนอผลงานกลุ่ม, สะท้อนความคิดจากเพื่อนต่างกลุ่ม ครูผู้สอนและการรู้คิดของ 
ตนเอง, ร่วมสรุปบทเรียน, ขยายองค์ความรู้ไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานและชีวิตประจาวัน โดย 
ใช้ ICT สนับสนุน เช่น การใช้โปรแกรมนาเสนองาน)
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ 
จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กา หนดให้ พร้อมทัง้ให้เหตุผล 
ประกอบการอธิบาย 
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า 
เนื่องจากโรงเรียนมีคอมพิวเตอร์น้อย ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสา คัญมากใน 
การสอนนักเรียนด้วย สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) 
เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มา 
เป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย 
สถานการณ์ปัญหา ที่กระตุ้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ ที่จัดเตรียม 
ไว้สา หรับให้ผู้เรียนค้นหาคา ตอบ ควรจะมีเวลาเรียนให้นักเรียนได้ลองสัมผัสกับ 
คอมพิวเตอร์ ให้นักเรียนได้ลองค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ 
ความเข้าใจด้านการใช้คอมพิวเตอร์ด้วย มีฐานการช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียน 
ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่ 
สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่าง ๆ
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง 
เนื่องจากทางโรงเรียนมีความพร้อมทางเทคโนโลยีเป็นอย่างดีแล้ว เป็นผลดีกับนักเรียน 
ที่จะได้ใช้และศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ และเนื่องจากครูไม่พอ จึงต้องมีการนาเอา 
เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ ซึ่งได้แก่ 
การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียน 
ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ 
เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์ โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อน 
ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียน 
ในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัย 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ 
และการเข้าเล่ม ทุกอย่างที่จะสอนนักเรียนจะอยู่ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวอักษรต่างๆ 
ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง เป็นต้น เนื่องจากครูที่น้อย และนักเรียนที่เยอะ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเรียนการสอน 
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์เมื่อนักเรียนสงสัยในเนื้อหา การค้นหาคา ตอบด้วยตนเองจะ 
สามารถพัฒนาศักยภาพของนักเรียนได้มากขึ้น ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์จะครอบคลุมหนังสือจากทั่ว 
โลก นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนจะสามารถหาความรู้ ข้อมูลต่างๆ และสิ่งที่อยากรู้ ได้จากทุก 
สถานที่ ห้องสมุดจะเป็นการแก้ปัญหาในส่วนที่ครูไม่พอได้อีกด้วย
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraBoonlert Aroonpiboon
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศTeerasak Nantasan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 

What's hot (20)

asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
20141105 social-edu
20141105 social-edu20141105 social-edu
20141105 social-edu
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital Era
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
The 21st century-online-media
The 21st century-online-mediaThe 21st century-online-media
The 21st century-online-media
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 

Similar to บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (20)

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

More from N'Fern White-Choc

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)N'Fern White-Choc
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptN'Fern White-Choc
 

More from N'Fern White-Choc (10)

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
 

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

  • 1.
  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซงึ่มีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึน้ คือ ผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสา คัญที่สุด ที่ ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางาน เป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ เรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นัน้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่ เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
  • 3. ภารกิจ 1. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ กับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 2. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ กับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ กา หนดให้ พร้อมทัง้ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
  • 4. 1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครูจะเป็นผู้มีบทบาทสา คัญเพียง อย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษา คือการสร้าง โอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มาก และสะดวกขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู้
  • 5. พัฒนาการเรียนรู้และอา นวย ความสะดวกในด้านการสอนและ แหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มีข้อจากัดในด้านสถานที่ การสอนโดยใช้ระบบ สารสนเทศจะจัดการเรียนรู้ได้ตาม ความแตกต่างของผู้เรียน ระบบการ เรียนรู้ที่ใช้ในด้านการศึกษามีหลาย ระบบ เช่น E-learning, e – Book, e –Library และ e – Classroom การจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีและสารสนเทศในการ เรียนรู้เป็นการเปิดโอกาสทางการ ศึกษาที่ทาให้คุณเรียนรู้โดยไม่มี ข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาวิธีการเพื่อเข้าสู่ ระบบที่ต้องการให้ถูกต้อง เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่า จะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทาง อินเทอร์เน็ตได้ ครูสามารถตรวจงานให้คะแนน ได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ระบบกระดาน ข่าว (Bulletin Board System) บทบาทและความสาคัญ ของเทคโนโลยี สารสนเทศกับการพัฒนา การศึกษา
  • 6. 2. วิเคราะห์บทบาทและความสา คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับ การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการในการ จัดการเรียนรู้ ได้แก่ 1. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้(Learning environment) เป็นการบูรณาการเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพืน้ฐานการออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งจะประกอบด้วย -สถานการณ์ปัญหา ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ -แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นหาคาตอบได้หลากหลายรูปแบบ -ฐานการช่วยเหลือ เพื่อคอยช่วยเหลือสนับสนุน กระตุ้นผู้เรียนให้สามารถแก้ปัญหาได้ ใน กรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ -การเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ได้ ขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ ซงึ่สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้แบ่งตามคุณลักษณะของสื่อได้3 รูปแบบ คือ สงิ่แวดล้อม ทางการเรียนรู้บนเครือข่าย, มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ และชุดการสร้างความรู้ตามแนว คอนสตรัคติวิสต์
  • 7. 2. การเรียนรู้แบบออนไลน์(E-learning) เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของ ตน ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน -เนือ้หาของบทเรียน ซงึ่จะเป็นข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ -ระบบบริหารการเรียน ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง กาหนดลาดับของเนือ้หาใน บทเรียน -การติดต่อสื่อสาร รูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบในการ เรียน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ประเภท Real-time ได้แก่Chat และประเภท Non real-time ได้แก่Web-board, E-mail
  • 8. 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ใน รูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ และการเข้าเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสงั่พิมพ์ เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ และสามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ ตลอดเวลา และลักษณะของซอฟต์แวร์ที่เพิ่มเป็นแบบไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้นหาตัวอักษรได้ เชื่อมต่อกับ ไฮเปอร์เท็กซ์ มีคาแนะนาที่สามารถอธิบายศัพท์เป็นระบบออนไลน์
  • 9. 4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์(E-library) แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ใน เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุด อัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ -การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ สารสนเทศ และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ -ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่ง สารสนเทศอื่น ๆ - การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ มี4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ โทรสาร และ ทางอินเตอร์
  • 10. 5. แผนการจัดการเรียนรู้ 1.การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ (ตัง้คาถาม/สนทนาเกี่ยวกับความรู้เดิมโดยใช้ICT เช่น วีดิทัศน์) 2.การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบหมายภารกิจการเรียนรู้ (เชื่อมโยงสถานการณ์ปัญหา และประสบการณ์โดยใช้ ICT เช่น web-based learning) 3.การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (แสวงหาคาตอบด้วยตนเองจาก แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น Web site ) 4.การขยายแนวคิดที่หลากหลาย (ร่วมมือกันแก้ปัญหา, ระดมสมอง, แลกเปลี่ยนมุมมองที่ หลากหลาย โดยใช้ ICT เช่น Chat room) 5.การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิดและสรุปองค์ ความรู้ (นาเสนอผลงานกลุ่ม, สะท้อนความคิดจากเพื่อนต่างกลุ่ม ครูผู้สอนและการรู้คิดของ ตนเอง, ร่วมสรุปบทเรียน, ขยายองค์ความรู้ไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานและชีวิตประจาวัน โดย ใช้ ICT สนับสนุน เช่น การใช้โปรแกรมนาเสนองาน)
  • 11. 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กา หนดให้ พร้อมทัง้ให้เหตุผล ประกอบการอธิบาย โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เนื่องจากโรงเรียนมีคอมพิวเตอร์น้อย ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสา คัญมากใน การสอนนักเรียนด้วย สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มา เป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหา ที่กระตุ้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ ที่จัดเตรียม ไว้สา หรับให้ผู้เรียนค้นหาคา ตอบ ควรจะมีเวลาเรียนให้นักเรียนได้ลองสัมผัสกับ คอมพิวเตอร์ ให้นักเรียนได้ลองค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้คอมพิวเตอร์ด้วย มีฐานการช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียน ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่ สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่าง ๆ
  • 12. โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เนื่องจากทางโรงเรียนมีความพร้อมทางเทคโนโลยีเป็นอย่างดีแล้ว เป็นผลดีกับนักเรียน ที่จะได้ใช้และศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ และเนื่องจากครูไม่พอ จึงต้องมีการนาเอา เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ ซึ่งได้แก่ การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียน ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์ โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อน ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียน ในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ และการเข้าเล่ม ทุกอย่างที่จะสอนนักเรียนจะอยู่ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวอักษรต่างๆ ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง เป็นต้น เนื่องจากครูที่น้อย และนักเรียนที่เยอะ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเรียนการสอน ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์เมื่อนักเรียนสงสัยในเนื้อหา การค้นหาคา ตอบด้วยตนเองจะ สามารถพัฒนาศักยภาพของนักเรียนได้มากขึ้น ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์จะครอบคลุมหนังสือจากทั่ว โลก นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนจะสามารถหาความรู้ ข้อมูลต่างๆ และสิ่งที่อยากรู้ ได้จากทุก สถานที่ ห้องสมุดจะเป็นการแก้ปัญหาในส่วนที่ครูไม่พอได้อีกด้วย
  • 13. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9