SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
CHAPTER 10 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา 
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับ การออกแบบและผลิตสื่อ วันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทำให้รู้ ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
• 
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
• 
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
• 
ครูมาโนชเป็นครูสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ 
• 
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
ภารกิจ 
1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของ ครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 
2. อธิบายข้อจำกัดของการประเมินสื่อการสอน 
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อ การเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของ ครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 
ครูสายใจ วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสายใจที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (ชุดการสอน) คือการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพE1/E2 เพราะการทดสอบประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพE1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียนโปรแกรม ดังนั้นครูสายใจที่เป็น ครูสังคมศึกษาและได้พัฒนาชุดการสอนจึงควรใช้การการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ประสิทธิภาพE1/E2 ซึ่ง •E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทำกิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการสอน หรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน(ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) •E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทำแบบทดสอบหลังการเรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
การคำนวณโดยใช้สูตร 
E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ 
ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน(N คน) 
N หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ 
A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน 
E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ 
ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน(N คน) 
N หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ 
B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
ครูสมหญิง 
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสมหญิงที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้) คือ การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ซึ่งออกแบบตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะทำการตรวจสอบการออกแบบการสอนที่ อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งนำหลักการสำคัญของ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิง ปัญญา ของPiajetและ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของVygotskyมาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบ หรือเรียกว่า การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 
2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง(Learner control) 
3. สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง
4. ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง 
5. ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ต้องการ ค้นหาคำตอบ 
6. ธนาคารความรู้(Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถค้นหา สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนำมาใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่ กำหนดให้ รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน 
7. เครื่องมือทางปัญญา(Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนและ เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน 
8. ฐานการช่วยเหลือ(scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้ 
9. กรณีใกล้เคียง(Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ 
10. ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน 
11. การโค้ช(coaching) โดยครูผู้สอนทำการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและสะท้อนผล เกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทำภารกิจการเรียนรู้อย่าง ตื่นตัว
ครูมาโนช วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูมาโนชที่สอดคล้องกับลักษณะ ของสื่อ (ชุดสร้างความรู้) คือ ชุดสร้างความรู้ มีหลักการสำคัญที่นำมาเป็น พื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 1. การนำเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มี การเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 2. การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 3. ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ขนาดของ ตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4. การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 5. ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทำให้ สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 6. การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
ครูประพาส 
วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูประพาสที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (พัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน) คือ เกณฑ์มาตรฐาน90/90 เพราะ เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนำมาเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้(Mastery learning) โดย 
90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นำ คะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึง เกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น90 หรือสูงกว่า คำนวณได้จาก90 ตัวแรก={(ΣX /N) X 100)}/R 
โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน 
ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน 
N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครั้งนี้ 
R หมายถึง จำนวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 
90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม คำนวณได้จาก 90 ตัวหลัง= (Y x 100)/ N 
90 ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ 
Y หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ 
N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครั้งนี้
2. อธิบายข้อจำกัดของการประเมินสื่อการสอน 
การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ 
แนวคิดการประเมินโดยอาศัยเกณฑ์จะมีการกำหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งที่จะระบุถึง ประสิทธิภาพของสื่อ ในปัจจุบันการกำหนดเกณฑ์นิยมปฏิบัติใน 2 แนวทาง คือ 
(1) เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพ 
ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า90 ตัวแรก เป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม 
90 ตัวที่สอง แทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตาม มุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม 
(2) การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 
เป็นแนวคิดการประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ มีข้อจำกัด อยู่ว่า ยกเว้น บทเรียนโปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของ ผู้เรียนใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกำหนดค่า 
ประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) 
E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์)
นิยามประสิทธิภาพ E1/E2 
E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่าง เรียนจากชุดการสอนหรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) 
E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการ เรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้) 
การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล 
การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในกาประเมิน ประสิทธิภาพสื่อการสอน ข้อจำกัด คือ ดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป 
เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน 
P2% แทน ร้อยละผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อ การเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ โดยประเมินสื่อการสอนเป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มี อิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรู้เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงดังนั้นหากใครสามารถรับหรือจดจำความรู้ได้มากที่สุดก็ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่เรียนรู้ ได้ดีที่สุดและนั่นคือเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของครู แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังกล่าว จะสอดคล้องกับแนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่งเชื่อว่า การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะ คงทนหากได้รับการเสริมแรงการฝึกหัด การทำซํ้าๆ เป็นต้น บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ ความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครู แนวคิดดังกล่าวนำมาซึ่งการพัฒนาเป็นสื่อการ สอน ได้แก่ บทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน
ซึ่งแตกต่างจากการประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา (Cognitive process) และแนวโน้มในปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม และกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการสร้างความรู้ของผู้เรียนไม่ใช่ การรอรับความรู้เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของ ผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลขอาจไม่ เพียงพอที่จะนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ เกิดขึ้นในกระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่ พิจารณาคุณลักษณ์ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวล สารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมข้อมูลเชิงคุณภาพ จะ ช่วยให้สามารถนำมาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้หรือสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์narongsak promwang
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้lalidawan
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareKruManthana
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 

What's hot (9)

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 

Viewers also liked

Fuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelFuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelAri Pramono
 
Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2jeremalu76
 
Internal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefInternal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefRonald van der Steen
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
Gas station competition_model
Gas station competition_modelGas station competition_model
Gas station competition_modelAri Pramono
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
The behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerThe behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerAri Pramono
 
On the job training
On the job trainingOn the job training
On the job trainingSimar Sohal
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 

Viewers also liked (16)

Fuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelFuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour Model
 
Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
Vad är growth hacking
Vad är growth hackingVad är growth hacking
Vad är growth hacking
 
Internal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefInternal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archief
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Gas station competition_model
Gas station competition_modelGas station competition_model
Gas station competition_model
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Sarmiento mi gran maestro
Sarmiento mi gran maestroSarmiento mi gran maestro
Sarmiento mi gran maestro
 
IT-Auditing in het archiefwezen
IT-Auditing in het archiefwezenIT-Auditing in het archiefwezen
IT-Auditing in het archiefwezen
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
The behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerThe behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumer
 
On the job training
On the job trainingOn the job training
On the job training
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Similar to บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__

งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Ged Gis
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Vi Mengdie
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)Siri Siripirom
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdfFerNews
 

Similar to บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__ (20)

งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)
 
Chapter10mii
Chapter10miiChapter10mii
Chapter10mii
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdf
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
CHAPTER 10
CHAPTER 10CHAPTER 10
CHAPTER 10
 

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__

  • 2. สถานการณ์ปัญหา ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับ การออกแบบและผลิตสื่อ วันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทำให้รู้ ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ • ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน • ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ • ครูมาโนชเป็นครูสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ • ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
  • 3. ภารกิจ 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของ ครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล 2. อธิบายข้อจำกัดของการประเมินสื่อการสอน 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อ การเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 4. 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของ ครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล ครูสายใจ วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสายใจที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (ชุดการสอน) คือการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพE1/E2 เพราะการทดสอบประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพE1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียนโปรแกรม ดังนั้นครูสายใจที่เป็น ครูสังคมศึกษาและได้พัฒนาชุดการสอนจึงควรใช้การการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ประสิทธิภาพE1/E2 ซึ่ง •E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทำกิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการสอน หรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน(ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) •E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทำแบบทดสอบหลังการเรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
  • 5. การคำนวณโดยใช้สูตร E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน(N คน) N หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน(N คน) N หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
  • 6. ครูสมหญิง วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูสมหญิงที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้) คือ การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ซึ่งออกแบบตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะทำการตรวจสอบการออกแบบการสอนที่ อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งนำหลักการสำคัญของ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิง ปัญญา ของPiajetและ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของVygotskyมาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบ หรือเรียกว่า การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง(Learner control) 3. สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง
  • 7. 4. ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง 5. ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ต้องการ ค้นหาคำตอบ 6. ธนาคารความรู้(Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถค้นหา สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนำมาใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่ กำหนดให้ รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน 7. เครื่องมือทางปัญญา(Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนและ เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน 8. ฐานการช่วยเหลือ(scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้ 9. กรณีใกล้เคียง(Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ 10. ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน 11. การโค้ช(coaching) โดยครูผู้สอนทำการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและสะท้อนผล เกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทำภารกิจการเรียนรู้อย่าง ตื่นตัว
  • 8. ครูมาโนช วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูมาโนชที่สอดคล้องกับลักษณะ ของสื่อ (ชุดสร้างความรู้) คือ ชุดสร้างความรู้ มีหลักการสำคัญที่นำมาเป็น พื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 1. การนำเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มี การเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 2. การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 3. ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ขนาดของ ตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4. การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 5. ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทำให้ สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 6. การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
  • 9. ครูประพาส วิธีการประเมินคุณภาพสื่อของครูประพาสที่สอดคล้องกับลักษณะของสื่อ (พัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน) คือ เกณฑ์มาตรฐาน90/90 เพราะ เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนำมาเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้(Mastery learning) โดย 90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นำ คะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึง เกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น90 หรือสูงกว่า คำนวณได้จาก90 ตัวแรก={(ΣX /N) X 100)}/R โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครั้งนี้ R หมายถึง จำนวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม คำนวณได้จาก 90 ตัวหลัง= (Y x 100)/ N 90 ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ Y หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครั้งนี้
  • 10. 2. อธิบายข้อจำกัดของการประเมินสื่อการสอน การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ แนวคิดการประเมินโดยอาศัยเกณฑ์จะมีการกำหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งที่จะระบุถึง ประสิทธิภาพของสื่อ ในปัจจุบันการกำหนดเกณฑ์นิยมปฏิบัติใน 2 แนวทาง คือ (1) เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า90 ตัวแรก เป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม 90 ตัวที่สอง แทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตาม มุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม (2) การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ มีข้อจำกัด อยู่ว่า ยกเว้น บทเรียนโปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของ ผู้เรียนใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกำหนดค่า ประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์)
  • 11. นิยามประสิทธิภาพ E1/E2 E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่าง เรียนจากชุดการสอนหรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการ เรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้) การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในกาประเมิน ประสิทธิภาพสื่อการสอน ข้อจำกัด คือ ดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน P2% แทน ร้อยละผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
  • 12. 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อ การเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ โดยประเมินสื่อการสอนเป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มี อิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรู้เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงดังนั้นหากใครสามารถรับหรือจดจำความรู้ได้มากที่สุดก็ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่เรียนรู้ ได้ดีที่สุดและนั่นคือเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของครู แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังกล่าว จะสอดคล้องกับแนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่งเชื่อว่า การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะ คงทนหากได้รับการเสริมแรงการฝึกหัด การทำซํ้าๆ เป็นต้น บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ ความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครู แนวคิดดังกล่าวนำมาซึ่งการพัฒนาเป็นสื่อการ สอน ได้แก่ บทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน
  • 13. ซึ่งแตกต่างจากการประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา (Cognitive process) และแนวโน้มในปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม และกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการสร้างความรู้ของผู้เรียนไม่ใช่ การรอรับความรู้เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของ ผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลขอาจไม่ เพียงพอที่จะนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ เกิดขึ้นในกระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่ พิจารณาคุณลักษณ์ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวล สารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมข้อมูลเชิงคุณภาพ จะ ช่วยให้สามารถนำมาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้หรือสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
  • 14. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9