SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
นวัตกรรมทางการศึกษา 
CHAPTER 7
สถานการณ์ปัญหา 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน ความต้องการ ของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจใน การเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทำให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ ต้องการได้โดยไม่มีข้อจำกัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมา ในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรก เนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจำกัดด้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียน การสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกำหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ ตามสะดวก สามารถ กำหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคำถาม ทำแบบฝึกหัด ทำรายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นำมาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนำไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ 
1. อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ 
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ภารกิจที่ 1 
อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการออกแบบโดยนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มา เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การเน้นการที่ผู้เรียนสร้างความรู้โดยตนเอง โดย ผ่านการปฏิบัติลงมือกระทำด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำเนินการและการ ประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนำมาสู่การสร้างความรู้ โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงข่ายทางปัญญา
จำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของ สื่อได้3 ลักษณะ ได้แก่ 
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เป็นโนด(Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน(Link) เป็นเครือข่ายทั่ว โลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้จะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้านการสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยน ความรู้ แนวคิด และขยายมุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลาที่จะสนับสนุนการขยาย โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
3) ชุดสร้างความรู้ 
เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับการนำสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ 
มีหลักการและองค์ประกอบที่สำคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการโค้ช 
2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ(Hyperlink) 
มีหลักการที่สำคัญคือ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้ ฐานความ ช่วยเหลือ ผู้ฝึกสอน และการร่วมมือกันแก้ปัญหา
ภารกิจที่ 2 
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ 
มัลติมีเดีย 
-สามารถนำเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่าย วัสดุ ตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ 
-ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก ทำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรง 
-สนองต่อรูปแบบของการเรียนของนักเรียนที่แตกต่างกัน 
-สามารถนำเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือนจริง 
-อาจเรียนหรือฝึกซํ้าได้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
-เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทำและมีการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ ความรู้ใหม่เพื่อสร้างโครงสร้างทางปัญญา 
-สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อ เพื่อตอบสนองต่อความ หลากหลายทางการเรียนรู้ ดังนี้ 
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
(3) ชุดสร้างความรู้ 
-หลักสำคัญสำหรับการออกแบบ ได้แก่ 
(1) สถานการณ์ปัญหา ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ 
(2) แหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งที่ผู้เรียนจะใช้ในการแสวงหาและค้นพบคำตอบ 
(3) ฐานความช่วยเหลือ เป็นคำแนะนำ แนวทางต่างๆในการแก้ปัญหา 
(4) การโค้ช ครูจะให้ความรู้แก่ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิดและการสร้าง ปัญญา การร่วมมือกันแก้ปัญหา สนับสนุนผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น
โรงเรียนมหาชัย 
E-Learning 
-ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กำหนดลำดับการเข้าเว็บนั้นหรือตามลำดับ ที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ 
-มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน 
-การเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ภารกิจที่ 3 
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
เนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สามารถคิดหาคำตอบได้มากมายหลายวิธี และ สามารถแลกเปลี่ยนวิธีการคิดซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนาให้เป็นวิธีที่น่าสนใจและประยุกต์ใช้ได้ จริงในสังคมแบบสมบูรณ์ที่สุด ดังนั้น นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์ คือ E –learning เพราะเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็น เทคโนโลยีที่ทำให้มีการเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่หรือเป็นการเรียนที่ไม่ พร้อมกันหมายถึงวิธีการใดก็ตามที่ช่วยให้มีการเรียนรู้อย่างมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Learning) และการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้แหล่งทรัพยากรที่อยู่ห่างไกล (Remote Resource) ที่สามารถเข้าถึงได้ตามเวลาและสถานที่ที่ผู้เรียนมีความสะดวกหรือต้องการ เกี่ยวข้อง กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางไกล เพื่อขยายการเรียนการสอนออกไปนอกเหนือจากชั้น เรียนหรือในห้องเรียนและการเรียนที่เป็นการพบกันโดยตรง
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 

What's hot (15)

บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 

Viewers also liked

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
Internal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefInternal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefRonald van der Steen
 
Fuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelFuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelAri Pramono
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Gas station competition_model
Gas station competition_modelGas station competition_model
Gas station competition_modelAri Pramono
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2jeremalu76
 
The behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerThe behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerAri Pramono
 
On the job training
On the job trainingOn the job training
On the job trainingSimar Sohal
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 

Viewers also liked (16)

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Vad är growth hacking
Vad är growth hackingVad är growth hacking
Vad är growth hacking
 
Internal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archiefInternal Operational auditing en het digitale archief
Internal Operational auditing en het digitale archief
 
Fuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour ModelFuel retail Behaviour Model
Fuel retail Behaviour Model
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Gas station competition_model
Gas station competition_modelGas station competition_model
Gas station competition_model
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
Sarmiento mi gran maestro
Sarmiento mi gran maestroSarmiento mi gran maestro
Sarmiento mi gran maestro
 
IT-Auditing in het archiefwezen
IT-Auditing in het archiefwezenIT-Auditing in het archiefwezen
IT-Auditing in het archiefwezen
 
Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2Sileone patricia clase_2
Sileone patricia clase_2
 
The behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumerThe behaviour model of fuel retail consumer
The behaviour model of fuel retail consumer
 
On the job training
On the job trainingOn the job training
On the job training
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Similar to บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา

งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 

Similar to บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา (15)

งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 

บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา

  • 2. สถานการณ์ปัญหา กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน ความต้องการ ของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจใน การเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทำให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ ต้องการได้โดยไม่มีข้อจำกัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมา ในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรก เนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 3. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจำกัดด้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียน การสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกำหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ ตามสะดวก สามารถ กำหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคำถาม ทำแบบฝึกหัด ทำรายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นำมาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนำไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 4. ภารกิจ 1. อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 5. ภารกิจที่ 1 อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการออกแบบโดยนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มา เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การเน้นการที่ผู้เรียนสร้างความรู้โดยตนเอง โดย ผ่านการปฏิบัติลงมือกระทำด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำเนินการและการ ประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนำมาสู่การสร้างความรู้ โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงข่ายทางปัญญา
  • 6. จำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของ สื่อได้3 ลักษณะ ได้แก่ 1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นโนด(Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน(Link) เป็นเครือข่ายทั่ว โลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้จะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้านการสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยน ความรู้ แนวคิด และขยายมุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลาที่จะสนับสนุนการขยาย โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
  • 7. 3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับการนำสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ มีหลักการและองค์ประกอบที่สำคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการโค้ช 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ(Hyperlink) มีหลักการที่สำคัญคือ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้ ฐานความ ช่วยเหลือ ผู้ฝึกสอน และการร่วมมือกันแก้ปัญหา
  • 8. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ โรงเรียนเปรมสวัสดิ มัลติมีเดีย -สามารถนำเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่าย วัสดุ ตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ -ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก ทำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรง -สนองต่อรูปแบบของการเรียนของนักเรียนที่แตกต่างกัน -สามารถนำเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือนจริง -อาจเรียนหรือฝึกซํ้าได้
  • 9. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ -เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทำและมีการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ ความรู้ใหม่เพื่อสร้างโครงสร้างทางปัญญา -สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อ เพื่อตอบสนองต่อความ หลากหลายทางการเรียนรู้ ดังนี้ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดสร้างความรู้ -หลักสำคัญสำหรับการออกแบบ ได้แก่ (1) สถานการณ์ปัญหา ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ (2) แหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งที่ผู้เรียนจะใช้ในการแสวงหาและค้นพบคำตอบ (3) ฐานความช่วยเหลือ เป็นคำแนะนำ แนวทางต่างๆในการแก้ปัญหา (4) การโค้ช ครูจะให้ความรู้แก่ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิดและการสร้าง ปัญญา การร่วมมือกันแก้ปัญหา สนับสนุนผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น
  • 10. โรงเรียนมหาชัย E-Learning -ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กำหนดลำดับการเข้าเว็บนั้นหรือตามลำดับ ที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ -มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน -การเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
  • 11. ภารกิจที่ 3 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล เนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สามารถคิดหาคำตอบได้มากมายหลายวิธี และ สามารถแลกเปลี่ยนวิธีการคิดซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนาให้เป็นวิธีที่น่าสนใจและประยุกต์ใช้ได้ จริงในสังคมแบบสมบูรณ์ที่สุด ดังนั้น นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์ คือ E –learning เพราะเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็น เทคโนโลยีที่ทำให้มีการเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่หรือเป็นการเรียนที่ไม่ พร้อมกันหมายถึงวิธีการใดก็ตามที่ช่วยให้มีการเรียนรู้อย่างมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Learning) และการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้แหล่งทรัพยากรที่อยู่ห่างไกล (Remote Resource) ที่สามารถเข้าถึงได้ตามเวลาและสถานที่ที่ผู้เรียนมีความสะดวกหรือต้องการ เกี่ยวข้อง กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางไกล เพื่อขยายการเรียนการสอนออกไปนอกเหนือจากชั้น เรียนหรือในห้องเรียนและการเรียนที่เป็นการพบกันโดยตรง
  • 12. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9