SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
เทคโนโลยีสารสนเทศ 
เพอื่การเรียนรู้ โดยกลุ่ม Cognitive Weapons 
รายวิชา 201700 Foundation of 
Educational Technology
สถานการณ์ปัญหา (Problem-ภา 
ยหลังbที่รaัฐsบาeลdได้จlัดeกaารrปnฏิรiูปnกาgร)ศึกษา ซึ่งมีหัวใจ 
สำาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูง 
ขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ 
และถือว่าผู้เรียนมีความสำาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ 
เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ 
และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ 
และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจน 
รู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า 
มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ 
อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้ 
เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล 
สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้ 
นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียม 
พัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัต 
น์
ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์บทบาทและความ 
สำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ 
พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการ 
ศึกษา การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการ 
ศึกษา 
1. การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศ 
ให้สูงขึ้น 
2. เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ เรียนรู้ด้วยตนเอง 
ตลอดเวลา เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ 
3. เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ 
4. ทำางานเป็นทีม 
5. พัฒนาตามศักยภาพ การประยุกต์ความรู้ 
6. นำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
บทบาทและความสำาคัญของ 
เทคโนโลยีต่อการพัฒนา 
การจัดการศึกษา 
(สำานักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ 
สำานักงานเลขาธิการคุรุสภา) 
เป็นองค์ 
ความรู้ 
เป็น 
เครื่องมือ 
ทาง 
เปวิช็นาเคกราื่อรง 
มือบริการ 
ทาง 
วิชาการ 
เป็น 
ทรัพยากร 
สนับสนุน 
การเรียน 
เป็นเครื่อง 
มือพัฒนา 
บุคลากร 
เป็นเครื่อง 
มือ 
สนับสนุน 
การเรียนรู้ 
เป็นเครื่อง 
มือ 
สนับสนุน 
การสอน
การปฏิรูปการศึกษาสอดคล้องกับ พระ 
ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 
2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 
ห4ม5ว แดล 4ะ แ (นฉวบกับาทรจี่ 3ัดก) าพร.ศศึก.ษ 2า553 
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ 
สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำาเนินการ ดัง 
ต่อไปนี้ 
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ 
ความสนใจและความถนัด 
ของผู้เรียน โดยคำานึงถึงความแตกต่างระหว่าง 
บุคคล 
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ 
เผชิญสถานการณ์ และการ 
ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ 
แก้ไขปัญหา
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา 
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ 
ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
ดำาเนินการ ดังต่อไปนี้ (ต่อ) 
(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง 
ๆ อย่างได้สัดส่วน 
สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ 
คุณลักษณะอันพึง 
ประสงค์ไว้ในทุกวิชา 
(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพ 
แวดล้อม สอื่การเรียน 
และอำานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียน 
รู้และมีความรอบรู้ รวมทั้ง 
สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ 
ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียน 
อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง 
วิทยาการประเภทต่าง ๆ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 
มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนา 
ขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ 
ศึกษาในโอกาสแรกที่ทำาได้ เพื่อให้มีความรู้และ 
ทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใน 
การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อ 
เนื่องตลอดชีวิต
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ 
เทคโนโลยีสารสนเทศมา 
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น 
บทบาทของผสู้สอำานค >ัญ> ควรจะ 
ศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยี 
ต่างๆ ที่จะนำามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้ 
เรียนได้รับความรู้ใหม่ การสร้าง 
โอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่ง 
ข้อมูล แหล่งความรู้ และสะดวก 
มากขึ้น
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ 
เทคโนโลยีสารสนเทศมา 
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น 
สำาคัญ (ต่อ)
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ 
เทคโนโลยีสารสนเทศมา 
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น 
สำาคัญ (ต่อ) 
* ผเู้รียนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเรียน ได้พัฒนาเต็มตาม 
ศักยภาพ ได้ประยุกต์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน มี 
ความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ ตลอดจนมีคุณลักษณะนิสัยที่ดี 
งามที่สังคมพึงปรารถนา
ลักษณะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน 
เป็นสำาคัญ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการ 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
เรียนรู้ท • กิจกรรมการเี่เรนียน้นรผู้ทเู้มี่รีคียวนาเมปห็นลสากำาหคัลญาย 
• กิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย 
ตนเองของผู้เรียน 
การเรียนรู้จากประสบการณ์ เพอื่นำาความรู้ 
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 
• กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ทักษะ 
การคิดในระดับสูง 
(Higher-order thinking skills) ได้แก่ การ 
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์ 
• ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุก 
สถานที่ 
(Learn for all : anyone, anywhere and
การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณา 
การในการจัดการเรียนรู้ มีรูปแบบต่างๆ 
ดังต่อไปนี้ 
1. สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้ 
(Learning environment) 
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) 
4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ 
การเชื่อมโยงความรู้เดิม 
กับความรู้ใหม่ 
การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบ 
หมายภารกิจการเรียนรู้ 
การส่งเสริมการสร้างและการ 
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 
การขยายแนวคิดที่ 
หลากหลาย 
การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเอง 
และกลุ่มโดยการสะท้อน 
ความคิดและสรุปองค์ความรู้
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยี 
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ 
จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ 
กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล 
ปกรระณกอีศบึกกษาารอธิบาย 
>>โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ 
ห่างไกลในถนิ่ธุระกันดาร โรงเรียนมี 
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี 
สัญญาณโทรศัพท์
1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning 
Environment) 
>> ผู้สอนนำาหลักการทฤษฎีทางการเรียนรู้มาใช้โดย 
การจำาลองสถานการณ์ปัญหา (Problem based) เพื่อ 
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ในส่วนของการเรียนรู้ 
แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา ให้ผู้สอนเตรียมฐานการช่วย 
เหลือไว้ให้ผู้เรียนโดยอาจเป็นโปรแกรม flash ฐาน 
การช่วยเหลือแบบออฟไลน์ รวมถึงกรณีที่โทรทัศน์ 
สามารถใช้งานรายการโทรทัศน์ทางไกลได้ ก็ให้ผู้ 
เรียนสามารถศึกษาหาสารสนเทศได้เพิ่มเติม
2.การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 
>> เนื่องจากโรงเรียนไม่สามารถออนไลน์ได้ ดังนั้นผู้ 
สอนให้เตรียมใช้งานคอมพิวเตอร์แบบ Intranet ไว้ใช้ 
งาน โดยในคอมพิวเตอร์สามเครื่อง ใช้หนึ่งเครื่อง 
ทำาตัวเป็น เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ และอีกสองเครื่อง 
เป็นไคลเอนต์ แล้วสร้าง LMS แบบออฟไลน์ขึ้นมาให้ผู้ 
เรียนใช้งาน โดยให้ผู้เรียนสามารถใช้งานได้ทั้งใน 
คาบเรียน และนอกคาบเรียน ทั้งนี้ในระหว่างเรียน ผู้ 
สอน ผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นยังสามารถติดต่อปรึกษาแลก 
เปลี่ยนกันได้ผ่านทาง เว็ปบอร์ดแบบออฟไลน์ที่ได้จัด 
เตรียมไว้ให้
3.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) 
>> ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร หนังสือประกอบ โดยการ 
แปลงเป็นไฟล์ E-book โดยจัดเก็บลงฮาร์ดิสก์ หรือ 
ซีดีรอม โดยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองได้ 
จากโปรแกรมอ่านหนังสือ E-book หรือแม้กระทั่งผู้ 
สอนจัดหาโปรแกรมในการจัดทำาหนังสือ E-book เพื่อ 
ให้ผู้เรียนได้ฝึกสร้าง E-book ผลงานของตัวเองได้ 
ด้วย
4.ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) 
>> ผู้สอนจัดหาโปรแกรมจำาลองระบบเป็นห้องสมุด 
อิเล็คทรอนิกส์ โดยจัดเก็บเอกสารเป็นไฟล์ 
อิเล็กทรอนิกส์ และสามารถค้นคืนได้จากเซิฟเวอร์ 
ออฟไลน์ที่เตรียมไว้จากคอมพิวเตอร์ที่มี ซึ่งผู้สอนจะ 
ได้จัดหามาให้ผู้เรียนอย่างสมำ่าเสมอ ซึ่งหากกรณีผู้ 
เรียนมีเครื่องมืออ่านไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ก็ให้ 
ผู้เรียนสามารถนำาเอกสารเหล่านั้นกลับไปอ่านตาม 
อุปกรณ์ส่วนตัวที่มีได้ (BYOD: Bring Your Own 
Devices)
5. แผนการจัดการเรียนรู้ 
รูปแบบแผน 
การจัดการ 
เรียนรู้ 
รูปแบบแผนการจัดการเรียน 
รู้ 
โรงเรียนหนองงูเห่า 
การเชื่อมโยงความรู้ 
เดิมกับความรู้ใหม่ 
-> ตั้งประเด็นคำาถามเกี่ยวกับความรู้ 
เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย วีดิทัศน์ 
Power point 
การกระตุ้นให้เกิด 
ปัญหา และการมอบ 
หมายภารกิจการ 
เรียนรู้ 
นำาเสนอสถานการณ์ปัญหา ประเด็น 
คำาถามโดยใช้ Power point, การ 
โพสต์ในเว็ปบอร์ด 
การส่งเสริมการ 
สร้างและการ 
แสวงหาความรู้ด้วย 
ตนเอง 
ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหา และ 
แสวงหาคำาตอบด้วยตนเองจากแหล่ง 
เรียนรู้หลากหลาย เช่น โทรทัศน์ทาง 
ไกล, Multimedia, CD-Rom, E-book,
5 .แผนการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 
รูปแบบแผน 
การจัดการ 
เรียนรู้ 
รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ 
โรงเรียนหนองงูเห่า 
การขยายแนวคิดที่ 
หลากหลาย 
ผู้เรียนร่วมมือกันแก้ปัญหา ยกตัวอย่าง 
โปรแกรม Jigsaw, Graffiti ผู้เรียนระดม 
สมองโดยร่วมกันใช้โปรแกรม XMind, 
Cmap tools, Mind Manager ผู้เรียน 
แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลายผ่า 
นทางเว็ปบอร์ด 
การส่งเสริมการ 
สร้างความเข้าใจ 
ของตนเองและกลุ่ม 
โดยการสะท้อน 
ความคิดและสรุป 
ให้ผู้เรียนนำาเสนอผลงานกลุ่มผ่าน 
Power point โดยแสดงผลผ่านโทรทัศน์ 
ในการดูร่วมกันทั้งชั้น รวมถึงการร่วมกัน 
สรุปบทเรียนโดยทำาผ่านโปรแกรม 
ประเภท Concept mapping อย่างเช่น
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยี 
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ 
จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ 
กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล 
ประกอบการอธิบาย 
กรณีศึกษา 
>>โรงเรียนมัธยมไฮโชเบตง เป็นโรงเรียน 
ที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ 
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ 
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่มีครูไม่เพียงพอ 
เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ไม่สงบ
1. สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning 
environment) 
>> โดยการจัดหาและจัดทำาสื่อการเรียนการ 
สอนในรูปแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน 
เครือข่าย ที่นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ 
จากรู้แบบการสอนนี้ และสามารถเรียนรู้ได้จาก 
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ทางเครือข่าย 
(2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนว 
คอนสตริคติวิสต์ 
(3) ชุดการสร้างความรู้ตามแนว 
คอนสตริคติวิสต์ 
เครือข่ายที่โรงเรียนหรือที่บ้าน ได้แก่
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 
>> โดยการใช้วิธีจัดหาครู ผู้สอนจากที่อื่นมา 
ช่วยสอนที่โรงเรียนผ่านรูปแบบการสอน e- 
Learning และ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็ว 
สูง ด้วยคุณสมบัติของเทคโนโลยีสารสนเทศดัง 
กล่าวสามารถช่วยแก้ปัญหาได้ และนักเรียน 
สามารถเรียนอยู่ที่บ้านกับผู้ปกครองก็ได้
3. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic 
Library) 
>> นำามาช่วยส่งเสริมเพิ่มแหล่งการเรียนรู้ให้กับ 
โรงเรียนและเป็นแหล่งความรู้ที่ครู ผู้สอนและ 
นักเรียนสามารถใช้หาข้อมูลและความรู้เพื่อนำา 
มาใช้ในการเรียนการสอน ของโรงเรียนให้มี 
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นการใช้ระบบเครือ 
ข่ายความเร็วสูงของโรงเรียนให้เต็มศักยภาพ
สมาชิกกลุ่ม Cognitive Weapons 
รายชื่อ 
1. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา 
575050028-5 
2. นายรนยุทธ์ จำาปาหาร รหัสนักศึกษา 
575050029-3 
3. นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร รหัสนักศึกษา 
575050183-3 
4. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา 
575050184-1

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมsomjit003
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนbenjaluk_r
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนbenjaluk_r
 

What's hot (19)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
project
projectproject
project
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 

Similar to Ch6 cognitive weapons 201700

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 

Similar to Ch6 cognitive weapons 201700 (20)

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

More from ณัฐวุฒิ จารุวงศ์

ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาณัฐวุฒิ จารุวงศ์
 

More from ณัฐวุฒิ จารุวงศ์ (16)

201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update
 
201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 
201704 - th - cognitive weapons
201704  - th - cognitive weapons201704  - th - cognitive weapons
201704 - th - cognitive weapons
 
chapter 5 computer for education
chapter 5 computer for educationchapter 5 computer for education
chapter 5 computer for education
 
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้ Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 
Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2
 
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weaponBehaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
 
201703-natthawut
201703-natthawut201703-natthawut
201703-natthawut
 
Chapter 3 instructional design - 201700
Chapter 3 instructional design - 201700Chapter 3 instructional design - 201700
Chapter 3 instructional design - 201700
 
Emerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learningEmerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learning
 
Emerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learningEmerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learning
 
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive ToolsComputer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
 
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
 

Ch6 cognitive weapons 201700

  • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่การเรียนรู้ โดยกลุ่ม Cognitive Weapons รายวิชา 201700 Foundation of Educational Technology
  • 2. สถานการณ์ปัญหา (Problem-ภา ยหลังbที่รaัฐsบาeลdได้จlัดeกaารrปnฏิรiูปnกาgร)ศึกษา ซึ่งมีหัวใจ สำาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูง ขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจน รู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้ เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้ นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียม พัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัต น์
  • 3. ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์บทบาทและความ สำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการ ศึกษา การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการ ศึกษา 1. การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศ ให้สูงขึ้น 2. เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ เรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดเวลา เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ 3. เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ 4. ทำางานเป็นทีม 5. พัฒนาตามศักยภาพ การประยุกต์ความรู้ 6. นำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
  • 4. บทบาทและความสำาคัญของ เทคโนโลยีต่อการพัฒนา การจัดการศึกษา (สำานักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ สำานักงานเลขาธิการคุรุสภา) เป็นองค์ ความรู้ เป็น เครื่องมือ ทาง เปวิช็นาเคกราื่อรง มือบริการ ทาง วิชาการ เป็น ทรัพยากร สนับสนุน การเรียน เป็นเครื่อง มือพัฒนา บุคลากร เป็นเครื่อง มือ สนับสนุน การเรียนรู้ เป็นเครื่อง มือ สนับสนุน การสอน
  • 5. การปฏิรูปการศึกษาสอดคล้องกับ พระ ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 ห4ม5ว แดล 4ะ แ (นฉวบกับาทรจี่ 3ัดก) าพร.ศศึก.ษ 2า553 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำาเนินการ ดัง ต่อไปนี้ (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัด ของผู้เรียน โดยคำานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ เผชิญสถานการณ์ และการ ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหา
  • 6. หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำาเนินการ ดังต่อไปนี้ (ต่อ) (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพ แวดล้อม สอื่การเรียน และอำานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียน รู้และมีความรอบรู้ รวมทั้ง สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียน อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ
  • 7. หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนา ขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาในโอกาสแรกที่ทำาได้ เพื่อให้มีความรู้และ ทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใน การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อ เนื่องตลอดชีวิต
  • 8. 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น บทบาทของผสู้สอำานค >ัญ> ควรจะ ศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยี ต่างๆ ที่จะนำามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้ เรียนได้รับความรู้ใหม่ การสร้าง โอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่ง ข้อมูล แหล่งความรู้ และสะดวก มากขึ้น
  • 9. 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ (ต่อ)
  • 10. 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ (ต่อ) * ผเู้รียนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเรียน ได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ได้ประยุกต์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน มี ความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ ตลอดจนมีคุณลักษณะนิสัยที่ดี งามที่สังคมพึงปรารถนา
  • 12. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ เรียนรู้ท • กิจกรรมการเี่เรนียน้นรผู้ทเู้มี่รีคียวนาเมปห็นลสากำาหคัลญาย • กิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ตนเองของผู้เรียน การเรียนรู้จากประสบการณ์ เพอื่นำาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน • กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ทักษะ การคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การ คิดวิเคราะห์สังเคราะห์ • ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุก สถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and
  • 13. การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณา การในการจัดการเรียนรู้ มีรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) 2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) 4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
  • 14. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้เดิม กับความรู้ใหม่ การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบ หมายภารกิจการเรียนรู้ การส่งเสริมการสร้างและการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การขยายแนวคิดที่ หลากหลาย การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเอง และกลุ่มโดยการสะท้อน ความคิดและสรุปองค์ความรู้
  • 15. 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล ปกรระณกอีศบึกกษาารอธิบาย >>โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ ห่างไกลในถนิ่ธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี สัญญาณโทรศัพท์
  • 16. 1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning Environment) >> ผู้สอนนำาหลักการทฤษฎีทางการเรียนรู้มาใช้โดย การจำาลองสถานการณ์ปัญหา (Problem based) เพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ในส่วนของการเรียนรู้ แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา ให้ผู้สอนเตรียมฐานการช่วย เหลือไว้ให้ผู้เรียนโดยอาจเป็นโปรแกรม flash ฐาน การช่วยเหลือแบบออฟไลน์ รวมถึงกรณีที่โทรทัศน์ สามารถใช้งานรายการโทรทัศน์ทางไกลได้ ก็ให้ผู้ เรียนสามารถศึกษาหาสารสนเทศได้เพิ่มเติม
  • 17. 2.การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) >> เนื่องจากโรงเรียนไม่สามารถออนไลน์ได้ ดังนั้นผู้ สอนให้เตรียมใช้งานคอมพิวเตอร์แบบ Intranet ไว้ใช้ งาน โดยในคอมพิวเตอร์สามเครื่อง ใช้หนึ่งเครื่อง ทำาตัวเป็น เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ และอีกสองเครื่อง เป็นไคลเอนต์ แล้วสร้าง LMS แบบออฟไลน์ขึ้นมาให้ผู้ เรียนใช้งาน โดยให้ผู้เรียนสามารถใช้งานได้ทั้งใน คาบเรียน และนอกคาบเรียน ทั้งนี้ในระหว่างเรียน ผู้ สอน ผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นยังสามารถติดต่อปรึกษาแลก เปลี่ยนกันได้ผ่านทาง เว็ปบอร์ดแบบออฟไลน์ที่ได้จัด เตรียมไว้ให้
  • 18. 3.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) >> ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร หนังสือประกอบ โดยการ แปลงเป็นไฟล์ E-book โดยจัดเก็บลงฮาร์ดิสก์ หรือ ซีดีรอม โดยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองได้ จากโปรแกรมอ่านหนังสือ E-book หรือแม้กระทั่งผู้ สอนจัดหาโปรแกรมในการจัดทำาหนังสือ E-book เพื่อ ให้ผู้เรียนได้ฝึกสร้าง E-book ผลงานของตัวเองได้ ด้วย
  • 19. 4.ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) >> ผู้สอนจัดหาโปรแกรมจำาลองระบบเป็นห้องสมุด อิเล็คทรอนิกส์ โดยจัดเก็บเอกสารเป็นไฟล์ อิเล็กทรอนิกส์ และสามารถค้นคืนได้จากเซิฟเวอร์ ออฟไลน์ที่เตรียมไว้จากคอมพิวเตอร์ที่มี ซึ่งผู้สอนจะ ได้จัดหามาให้ผู้เรียนอย่างสมำ่าเสมอ ซึ่งหากกรณีผู้ เรียนมีเครื่องมืออ่านไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ก็ให้ ผู้เรียนสามารถนำาเอกสารเหล่านั้นกลับไปอ่านตาม อุปกรณ์ส่วนตัวที่มีได้ (BYOD: Bring Your Own Devices)
  • 20. 5. แผนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบแผน การจัดการ เรียนรู้ รูปแบบแผนการจัดการเรียน รู้ โรงเรียนหนองงูเห่า การเชื่อมโยงความรู้ เดิมกับความรู้ใหม่ -> ตั้งประเด็นคำาถามเกี่ยวกับความรู้ เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย วีดิทัศน์ Power point การกระตุ้นให้เกิด ปัญหา และการมอบ หมายภารกิจการ เรียนรู้ นำาเสนอสถานการณ์ปัญหา ประเด็น คำาถามโดยใช้ Power point, การ โพสต์ในเว็ปบอร์ด การส่งเสริมการ สร้างและการ แสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหา และ แสวงหาคำาตอบด้วยตนเองจากแหล่ง เรียนรู้หลากหลาย เช่น โทรทัศน์ทาง ไกล, Multimedia, CD-Rom, E-book,
  • 21. 5 .แผนการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) รูปแบบแผน การจัดการ เรียนรู้ รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนหนองงูเห่า การขยายแนวคิดที่ หลากหลาย ผู้เรียนร่วมมือกันแก้ปัญหา ยกตัวอย่าง โปรแกรม Jigsaw, Graffiti ผู้เรียนระดม สมองโดยร่วมกันใช้โปรแกรม XMind, Cmap tools, Mind Manager ผู้เรียน แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลายผ่า นทางเว็ปบอร์ด การส่งเสริมการ สร้างความเข้าใจ ของตนเองและกลุ่ม โดยการสะท้อน ความคิดและสรุป ให้ผู้เรียนนำาเสนอผลงานกลุ่มผ่าน Power point โดยแสดงผลผ่านโทรทัศน์ ในการดูร่วมกันทั้งชั้น รวมถึงการร่วมกัน สรุปบทเรียนโดยทำาผ่านโปรแกรม ประเภท Concept mapping อย่างเช่น
  • 22. 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล ประกอบการอธิบาย กรณีศึกษา >>โรงเรียนมัธยมไฮโชเบตง เป็นโรงเรียน ที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่มีครูไม่เพียงพอ เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ไม่สงบ
  • 23. 1. สงิ่แวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) >> โดยการจัดหาและจัดทำาสื่อการเรียนการ สอนในรูปแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่าย ที่นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ จากรู้แบบการสอนนี้ และสามารถเรียนรู้ได้จาก (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ทางเครือข่าย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนว คอนสตริคติวิสต์ (3) ชุดการสร้างความรู้ตามแนว คอนสตริคติวิสต์ เครือข่ายที่โรงเรียนหรือที่บ้าน ได้แก่
  • 24. 2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) >> โดยการใช้วิธีจัดหาครู ผู้สอนจากที่อื่นมา ช่วยสอนที่โรงเรียนผ่านรูปแบบการสอน e- Learning และ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็ว สูง ด้วยคุณสมบัติของเทคโนโลยีสารสนเทศดัง กล่าวสามารถช่วยแก้ปัญหาได้ และนักเรียน สามารถเรียนอยู่ที่บ้านกับผู้ปกครองก็ได้
  • 25. 3. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Library) >> นำามาช่วยส่งเสริมเพิ่มแหล่งการเรียนรู้ให้กับ โรงเรียนและเป็นแหล่งความรู้ที่ครู ผู้สอนและ นักเรียนสามารถใช้หาข้อมูลและความรู้เพื่อนำา มาใช้ในการเรียนการสอน ของโรงเรียนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นการใช้ระบบเครือ ข่ายความเร็วสูงของโรงเรียนให้เต็มศักยภาพ
  • 26. สมาชิกกลุ่ม Cognitive Weapons รายชื่อ 1. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา 575050028-5 2. นายรนยุทธ์ จำาปาหาร รหัสนักศึกษา 575050029-3 3. นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร รหัสนักศึกษา 575050183-3 4. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา 575050184-1