SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
CD รายงานและงานนาเสนอโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ
นาเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีวะวิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนาเสนอ
1.นาย ชนม์วริศร์ หอมจันทร์ เลขที่ 25
2.นาย นายชนสรณ์ สุจริตประภากร เลขที่ 26
3.นาย ธัญเทพ พนิตวรภูมิ เลขที่ 30
4.นาย นรุตม์ กนกพาเจริญ เลขที่ 32
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 144 สายการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5(ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คานา
ในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือฮอร์โมน
ออกซิน(Auxin) โดยฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัว
ของเซลล์โดยการตอบสนองจะปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนออกซินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม จากข้อมูล
ดังกล่าวทาให้คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า ปริมาณความเข้มข้นของ
ฮอร์โมนออกซินเท่าไรที่เหมาะสมต่อการเพิ่มความสูงของต้นเล็บครุฑมากที่สุด จึงเกิดเป็นโครงงานการทดลอง
ฮอร์โมนพืชครั้งนี้ โดยทาการศึกษาความสูงของต้นเล็บครุฑในระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่
แตกต่างกัน แบ่งเป็นชุดทดลอง high dose จานวน 3 ต้น ชุดทดลอง low dose จานวน 3 ต้น และชุดทดลอง
ควบคุมจานวน 3 ต้น
คระผู้จัดทาหวังว่ารายงานผลการทดลองชุดนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากมีความ
ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 4
ข้อมูลและรายละเอียดของต้นเล็บครุฑ 4
ข้อมูลและรายละเอียดของฮอร์โมนออกซิน 6
สมมติฐานการทดลอง 12
จุดประสงค์การทดลอง 12
ตัวแปรการทดลอง 12
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 13
ระยะเวลาในการทดลอง 13
วิธีการเก็บข้อมูล 13
ขั้นตอนการทดลอง 15
ผลการทดลอง 16
สรุปและข้อเสนอแนะ 17
บรรณานุกรม 19
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบัน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทในการเกษตรเพื่อเร่งผลผลิตมากมายไม่ว่าจะเป็น
การใช้ปุ๋ ย ฮอร์โมนหรือสารเคมีต่างๆเพื่อช่วยในการเจริญเติบโตของ ใบ ดอก ผล หรือรากทางกลุ่มของเราจึง
ต้องการทราบว่าการใช้ฮอร์โมนออกซินจะสามารถช่วยเพิ่มโอกาสเพิ่มความสูงต้นไม้ได้หรือไม่ เราจึงทาการ
ทดลองโดยใช้ฮอร์โมนออกซินฉีดพ่นใส่ต้นโมกด้วยปริมาณความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ทางกลุ่มของเราหวังว่า
ผลการทดลองในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจในการใช้ฮอร์โมนที่ถูกต้องในการเพิ่ม
ผลผลิต
ข้อมูลรายละเอียดพืชที่ใช้ทดลอง
ต้นเล็บครุฑ
ชื่อพื้นเมือง เล็บครุฑ
ชื่อสามัญ Polyscias
ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias spp.
ชื่อวงศ์ ARALIACEAE
ลักษณะทั่วไป
ไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นมีผิวเปลือกสีเขียวหรือสีน้าตาล
ลาต้นเป็นข้อเล็กๆ ผิวเปลือกเรียบหรือมีจุดเล็กๆ ประอยู่ทั่วต้น ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อยติดอยู่ที่ก้านใบ
ประมาณ 5-7 ใบ ขอบใบเป็นหยัก ใบมีสีเขียวเมื่อขยี้ใบดูจะมีกลิ่นฉุน ลักษณะของใบและขนาด ขึ้นอยู่กับชนิด
พันธุ์
การขยายพันธุ์ โดยการตอนกิ่ง การปักชา วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การปักชา
การกระจายพันธุ์ เจริญได้ดีในดินร่วนซุยมีการระบายน้าได้ดี ขึ้นได้ดีในที่ที่มีแสงแดดราไร
ประโยชน์
คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นเล็บครุฑไว้ประจาบ้านจะช่วยคุ้มครองและป้องกันภัย
เพราะ ครุฑ หรือ คุตติ คือการคุ้มครองรักษาให้เกดความสงบสุขและปลอดภัย นอกจากนี้ ลักษณะของใบ
เล็บครุฑ ยังมีลักษณะคล้ายเล็บของพญาครุฑ ซึ่งโบราณเชื่อว่าสามารถช่วยป้องกันภัยอันตราย ใบเล็บครุฑ
นอกจากนาไปประกอบในการจัดดอกไม้แล้วยังสามารถนามาทาอาหารกินได้เช่นชุบแป้งทอด หรือใช้ยอดใบที่
ไม่อ่อนไม่แก่เกินไปรองห่อหมกแทนหรือร่วมกับผักชนิดอื่น เล็บครุฑจะให้กลิ่นและรสชาติที่เป็นกลิ่น
เฉพาะตัว ผู้รับประทานจะจาได้นานทีเดียว ปลูกใส่กระถางหรือลงดินก็ได้ เล็บครุฑมีใบหลายลักษณะ แล้วแต่
คนชอบที่จะเลือกหามาปลูก ปักชาออกรากง่ายมาก วิธีที่ผมชอบทาคือเอากระถางขนาด 6 นิ้ว ใส่ดินปลูกให้เต็ม
กระถาง กดดินให้แน่น ๆ แล้วไปเลือกกิ่งที่มองดูว่าปักลงกระถางแล้วสวยเลย ใช้มีดคม ๆ ตัดมาแล้วเอาใบส่วน
โคนกิ่งออก แล้วปักลงกระถาง รดน้าทุกวัน วางกระถางอย่าให้ถูกแดด ไม่เกิน5 วัน เล็บครุฑจะฟื้นตั้งตัวได้อย่าง
สวยงามในกระถาง สามารถเคลื่อนย้ายไปวางตรงที่เหมาะสมได้เลย
รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนออกซิน
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth regulating chemicals : PGRC) ที่จัดอยู่ในกลุ่ม
ออกซิน มีอยู่หลายชนิดและเป็นที่รู้จักกันดีสาหรับเกษตรกรในประเทศไทย สารออกซินชนิดแรกที่ค้นพบคือ
IAA (indol-3-acetic acid) ซึ่งเป็นสารที่พืชสร้างขึ้นเอง โดยมีคุณสมบัติเป็นสารเร่งการเจริญเติบโต มีผล
กระตุ้นการขยายขนาดของเซลล์ การยืดตัวของเซลล์ และยังมีผลกระตุ้นการเกิดราก รวมถึงมีคุณสมบัติในการ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตในส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้หลายวิธีกับพืชทั้งต้น (intact plant)
รวมทั้งวิธีที่ตัดอวัยวะเฉพาะส่วนมาทดสอบ (excised part) สรุปได้ว่ากระบวนการต่าง ๆ หลายอย่างที่เกิดขึ้น
ในพืชนั้น ออกซินมีส่วนในการควบคุมกระบวนการนั้น ๆ ด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทาให้มีการสังเคราะห์สารต่าง
ๆ ที่มีคุณสมบัติคล้ายออกซินเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร สารสังเคราะห์เหล่านี้มีอยู่หลายชนิด แต่ที่
นิยมใช้กันทั่วไปมีอยู่เพียงไม่กี่ชนิด ได้แก่ NAA (1-naphthylacetic acid) IBA (4-(indol-3-yl)butyric
acid) 2,4-D (2,4-dichlorophenoxyacetic acid) และ 4-CPA (4-chlorophenoxyacetic acid)
การสังเคราะห์ออกซินในเนื้อเยื่อพืช (Biosynyhesis of Auxins)
Auxin
กลไกในการสังเคราะห์สารออกซินที่เป็นไปได้มีสองทางโดยเริ่มจากการตัด amino group และ
carboxyl group จาก side-chain ของ amino acid ชนิดหนึ่งคือ tryptophan pathway ที่เกิดขึ้นในพืช
ส่วนใหญ่จะเริ่มจากการตัด amino group ให้กับ α-keto acid ตัวหนึ่งโดยผ่านปฎิกิริยาที่เรียกว่า
transaminayion กลายเป็น indolepyruvic acid จากนั้นจะเกิดปฎิกิริยา decarboxylation กับ
indolepyruvic acid กลายเป็น IAA (indole acetic acid) enzymes ที่จาเป็นสาหรับการเปลี่ยน
tryptophan ไปเป็น IAA จะมีประสิทธิภาพ (active) มากที่สุดในเนื้อเยื่อที่มีอายุน้อย เช่น shoot
meristems ใบที่กาลังเจริญเติบโต และในผล ในเนื้อเยื่อเหล่านี้ยังจะมีออกซิน ในปริมาณมากที่สุดอีกด้วย
จึงทาให้สรุปว่าเป็นแหล่งสังเคราะห์ออกซินซึ่งจะอยู่บริเวณที่มีการเจริญเติบโตทั่วไปทั้งต้น ธาตุสังกะสีมีความ
จาเป็นต่อการสังเคราะห์ทริบโตเฟนจึงมีความสาคัญต่อการสังเคราะห์ออกซินด้วย ดังนั้นเมื่อขาดธาตุสังกะสีก็
ทาให้พืชสร้างออกซินได้น้อยด้วยออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลาต้น ตา ใบ และรากใน
ระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน ออกซินในระดับความเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช
ออกซินในระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมจะกระตุ้นการเจริญของลาต้น แต่จะมีผลในการยับยั้งการเจริญเติบโต
ของตาและใบ ซึ่งต้องการความเข้มข้นต่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ดังนั้นลาต้น
จึงต้องการออกซินสูงกว่า ตา และใบ ในขณะที่ตาและใบก็ต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้น
ของออกซินที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้
ผลของออกซินที่มีต่อการเจริญเติบโตของพืช
1.ช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ของเยื่อเจริญ (cambium) ทาให้พืชมีเนื้อไม้มากขึ้น เกิดการเจริญเติบโต
ด้านข้างเพิ่มขึ้น
2.ออกซินช่วยให้เซลล์ในส่วนต่าง ๆ ของพืชยืดยาวขึ้นโดยการกระตุ้นให้เซลล์สร้างผนังเซลล์มากขึ้น
3.ควบคุมการเจริญของตาข้าง (lateral bud) โดยตายอด (apical bud) ซึ่งเรียกว่า การข่มของตา
ยอด (apical dominant) โดยตายอดสร้างออกซินขึ้นมาในปริมาณที่สูงแล้วลาเลียงลงสู่ด้านล่าง ความเข้มข้น
ระดับนี้จะยับยั้งการเจริญเติบโตของตาและใบด้านข้างไม่ให้เจริญเติบโต พืชจึงสูงขึ้นมากแต่ไม่เป็นพุ่ม แต่เมื่อ
เราตัดยอดออกความเข้มข้นของออกซินจะลดลง ทาให้ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของตาด้านข้างและใบ
ได้ พืชจึงแตกตาด้านข้างได้ และทาให้ต้นพืชมีลักษณะเป็นพุ่ม
4.ออกซินในปริมาณที่พอเหมาะสามารถใช้การกระตุ้นการเกิดรากสาหรับการตอนและการปักชากิ่งได้
5.ควบคุมการตอบสนองของพืชโดยการแบบมีแสงเป็นสิ่งเร้า (phototropism) หรือมีแรงโน้มถ่วง
ของโลกเป็นสิ่งเร้า (gravitropism)
6.ควบคุมการออกดอกของพืชปกติ โดยทั่วไปถ้าพ่นออกซินให้แก่พืชที่ใกล้จะออกดอก จะทาให้พืช
นั้นออกดอกช้าลง แต่ในสับปะรด มะม่วง ลิ้นจี่ เมื่อให้ออกซินจะทาให้ออกดอกเร็วขึ้น และออกดอกพร้อม
ๆ กัน
7. เปลี่ยนเพศดอก พืชหลายชนิดที่มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ต่างดอก หรือต่างต้นกัน เช่น ต้นเงาะ
ซึ่งมี 2 ชนิด คือ ต้นตัวผู้ซึ่งมีแต่ดอกตัวผู้ที่ไม่สามารถให้ผลผลิต จึงถูกตัดทิ้งเนื่องจากไม่สามารถให้ผลผลิตได้
และต้นตัวเมียซึ่งมีดอกตัวเมีย จากการที่ต้นตัวผู้ถูกตัดทิ้ง ทาให้มีเกสรตัวผู้ไม่เพียงพอในการผสมกับดอกตัวเมีย
ผลผลิตจึงลดลงเพราะดอกตัวเมียไม่สามารถพัฒนาเป็นผลได้ การพ่นออกซิน ความเข้มข้น 100 มก/ล แก่ช่อ
ดอกเงาะต้นตัวเมีย ในระยะดอกตูม สามารถชักนาให้เกิดการเปลี่ยนเพศดอกจากดอกตัวตัวเมียเป็นดอกตัวผู้ได้
8.เพิ่มขนาดของผล และป้องกันผลร่วง มีรายงานว่าออกซินอาจช่วยขยายขนาดของผลไม้บางชนิดได้
เช่น การใช้4-CPA หรือ NAA กับสับปะรด ผลไม้บางชนิดสามารถใช้ออกซินเพื่อป้องกันผลร่วงก่อนการเก็บ
เกี่ยวได้ เช่น มะม่วง ส้ม องุ่น และลางสาด สารที่นิยมใช้คือ NAA และ 2,4-D
9.ควบคุมการเจริญเติบโตของผล เช่น แตงโม องุ่น มะเขือเทศ บวบ มะเดื่อ สตรอเบอรี่ เมื่อพ่น
ด้วยในปริมาณที่พอเหมาะก็จะทาให้รังไข่เจริญไปเป็นผลได้โดยไม่มีเมล็ด ซึ่งเรียกผลไม้ประเภทนี้ว่า ผลไม่มี
เมล็ด หรือ ผลกระเทย (parthenocarpic fruit) ออกซินอาจช่วยขยายขนาดของผลไม้บางชนิดได้ เช่น การใช้
4-CPA หรือ NAA กับสับปะรด ผลไม้บางชนิดสามารถใช้ออกซินเพื่อป้องกันผลร่วงก่อนการเก็บเกี่ยวได้
เช่น มะม่วง ส้ม องุ่น และลางสาด สารที่นิยมใช้คือ NAA และ 2,4-D
10.ควบคุมการหลุดร่วงของใบ ดอก และผล เมื่ออวัยวะดังกล่าวแก่ตัวลง การสร้างออกซิเจนจะ
น้อยลงกว่าส่วนอ่อนและลาต้นจึงทาให้ร่วงได้ ดังนั้นการพ่นออกซินให้ในปริมาณที่พอเหมาะส่วนต่าง ๆ
เหล่านั้นก็จะไม่หลุดร่วงง่าย
11.สารประกอบต่าง ๆ ที่สังเคราะห์ขึ้นมาและนิยมใช้แทนออกซินธรรมชาติได้แก่ กรดแนพทาลีนแอ
ซิติก (naphthalene acetic acid, NAA) กรดอินโดลบิวทิริก (Indolebutyric acid, IBA) กรดอินโดล
โพรพิออกนิก (Indolepropionic acid) กรดแนพทอซีแอซิติก (Naphthoxyacetic acid, NOA) สาร
เหล่านี้มีผลเช่นเดียวกับออกซินในธรรมชาติ นอกจากนี้ยังใช้ออกซินสังเคระห์สารบางชนิดในการปราบพืช
ประเภทใบกว้าง หรือพืชใบเลี้ยงคู่คือ กรด2,4-ไดคลอโรฟีนอแอซีติก (2,4-Dichlorophenoxyacetic acid
2,4-D) และใช้กรด 2,2 Dichlopropionic acid) ใช้ในการปราบวัชพืชใบแคบคือ พวกหญ้าและใบเลี้ยง
เดี่ยวต่าง ๆ สาหรับสารที่ทาลายฤทธิ์หรือผลของออกซินหรือที่เรียกว่า แอนติออกซิน (antiauxin) ได้แก่
กรด 2,6-ไดคลอโรฟีนอแอซีติก (2,6-Dichlorophenoxyacetic acid 2,6-D) กรดทรานส์ซินเนมิก
(transcinamic acid) เมื่อใช้ร่วมกับออกซินแล้วจะไม่มีผลของออกซินให้เห็น
12. ออกซินมีคุณสมบัติเป็นสารกาจัดวัชพืช (herbicides) ออกซินทุกชนิดถ้าใช้ความเข้มข้นสูงจะ
สามารถฆ่าพืชได้ ดังนั้นจึงมีการนาสารออกซินมาใช้เป็นยากาจัดวัชพืชอย่างกว้างขวาง ออกซินที่ใช้สารกาจัด
วัชพืช อย่างกว้างขวางได้แก่ 2,4-D, 2,4,5-T , MCPA สารที่นิยมใช้คือ 2,4-D รองลงมาคือ 4-CPA สาร
ทั้งสองชนิดนี้มีฤทธิ์ของออกซินสูงมากจึงใช้ฆ่าวัชพืชได้ แม้จะใช้ความเข้มข้นไม่สูงมากนักก็ตาม อนุพันธ์ของ
picolinic acid เช่น picloram ชื่อการค้า Tordon มีคุณสมบัติที่ทาให้เป็นที่นิยมกว้างขวางเนื่องจากความ
เป็นพิษต่อพืช มีราคาถูกและการเลือกทาลายพืชใบเลี้ยงคู่มากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2,4,5-T ถูกห้ามใช้ใน
สหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีสารพิษที่ร้ายแรงคือ dioxin ปนเปื้อนอยู่
สารกาจัดวัชพืชเหล่านี้อาจอยู่ในรูปเกลือของด่างอ่อน เช่น ammonia (amines), กรด emulsifiable,
ester และผสมกับน้ามันหรือ detergent เพื่อให้มีการกระจายตัวและจับใบสามารถดูดซึมเข้าสู่ใบพืชได้ดีขึ้น
และเมื่อดูดซึมเข้าไปแล้วจะถูกลาเลียงส่วนใหญ่ทาง phloem ไปกับสารที่เกิดจากการสังเคราะห์แสง ดังนั้น
เวลาฉีดพ่นให้ได้ผลดีที่สุด คือตอนเช้ามืดของวันที่มีแดด กลไกที่แท้จริงของสารเหล่านี้ยังไม่กระจ่างเพียงแต่
สันนิษฐานว่าออกซินเหล่านี้เข้าไปรบกวนการสร้าง DNA และการแปล RNA ดังนั้นจึงทาให้การสร้าง
เอนไซม์ต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตเหล่านี้ได้รับการสร้างอย่างผิดปกติ
การเกิดอวัยวะของพืช
เมื่อออกซินนาไปสู่การสร้างอวัยวะออกซินจะมีบทบาทสาคัญในการควบคุมพัฒนาการของพืชหากไม่
มีการควบคุมด้วยฮอร์โมน พืชจะเป็นเพียงกลุ่มของเซลล์ที่คล้ายกัน การทางานออกซินเริ่มขึ้นในตัวอ่อนของพืช
ที่ทิศทางการกระจายของออกซิน เกี่ยวข้องกับการกาหนดขั้วของเจริญเติบโตและการพัฒนา ซึ่งจะไปเป็นยอด
และรากแรกเกิด ออกซินช่วยให้พืชรักษาขั้วของการเจริญเติบโตและการแตกกิ่งก้านได้ตลอดชีวิตของการ
เติบโต
หลักการสาคัญของการเกิดอวัยวะในพืชขึ้นอยู่กับการกระจายของออกซิที่ปลายยอด ซึ่งหมายความว่า
ออกซินผลิตมากที่ตายอด แพร่กระจายลงมาและลดการพัฒนาของตาข้างที่จะแข่งขันกับตายอดเพื่อแย่งแสงและ
สารอาหารที่เรียกการข่มของตายอดต่อตาข้าง (Apical dominance) โดยทั่วไปในพืช เมื่อมีตายอดอยู่ จะข่มการ
เจริญของตาข้างทาให้ตาข้างเติบโตช้า ถ้าตัดปลายยอดออก ตาข้างจะเติบโตได้ทันที การข่มของตายอดอาจมา
จากส่วนยอดบดบังแสงไว้ทาให้ตาข้างได้รับแสงไม่เต็มที่
การกระจายของออกซินที่ไม่สม่าเสมอ : ในการทาให้มีการเจริญเติบโตในส่วนที่ต้องการนั้น มันเป็น
สิ่งจาเป็นที่ออกซินจะต้องทางานในบริเวณนั้นมาก แม้ว่าจะไม่มีการสังเคราะห์ออกซินในทุกเซลล์ แต่แต่ละ
เซลล์ยังคงมีความสามารถในการสังเคราะห์ออกซินได้และจะถูกกระตุ้นให้สร้างภายใต้เงื่อนไขที่เฉพาะ และยัง
มีการขนส่งออกซินเข้าสู่บริเวณที่ต้องการใช้ด้วย ในการขนส่งระยะทางไกล จะมีระบบเฉพาะที่มีทิศทาง
แน่นอนในการขนส่งระหว่างเซลล์ที่มีการควบคุม มันขึ้นอยู่ในการกระจายไม่สม่าเสมอของตัวพาออกซินในเยื่อ
หุ้มเซลล์ซึ่งกาหนดให้ขนส่งออกซินในทิศทางที่ถูกต้อง การศึกษาในปี พ.ศ. 2549 พบโปรตีน PIN มี
ความสาคัญในการลาเลียงออกซิน .
การควบคุมการสร้างโปรตีน PIN ในเซลล์จะเป็นตัวกาหนดทิศทางของการขนส่งออกซินในการเพิ่ม
ปริมาณออกซินในบริเวณนั้นให้ถึงจุดสูงสุด จุดสูงสุดของออกซินช่วยในการพัฒนาของยอดและราก เซลล์ที่อยู่
รอบๆบริเวณนั้นเป็นเซลล์ที่มีออกซินต่า ใน Arabidopsisการมีออกซินปริมาณต่าในผลจะมีความสาคัญต่อการ
พัฒนาของเนื้อเยื่อในการสร้างดอกและผล การให้ออกซินแก่พืชที่มีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกกันตั้งแต่
ระยะแรกของการเจริญจะทาให้เกิดดอกเพศเมียมากขึ้น ละอองเรณูเป็นส่วนที่มีออกซินสูง สารสกัดจากละออง
เรณูจะกระตุ้นการติดผลโดยไม่ต้องมีการถ่ายละอองเกสรที่เรียกว่าการเกิดผลลม (Parthenocarpy) ซึ่งเป็นผลที่
ไม่มีเมล็ด และมีประโยชน์ทางการค้า
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น 0.4% v/v มีผลทาให้คต้นเล็บครุฑมีความสูงมากขึ้น ดังนั้น
สารละลายฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้น 0.4% v/v จะทาให้ต้นเล็บครุฑสูงมากที่สุด
จุดประสงค์การทดลอง
1.เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินว่ามีผลต่อการแตกกิ่งของต้นโมกอย่างไร
2.เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนออกซินระหว่างน้าที่มีความเข้มข้น 0 % v/v สารละลายออกซินที่มีความเข้ม
0.3 %v/v และสารละลายออกซินที่มีความเข้มข้น 0.5 %v/v กับจานวนกิ่งของโมกว่าแตกต่างกันอย่างไร
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น คือ ฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นต่างๆได้แก่
 0.4% v/v (ชุด High dose)
 0.1% v/v (ชุด Low dose)
 0% v/v (ชุดควบคุม)
ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของต้นเล็บครุฑ
ตัวแปรควบคุม คือ ต้นเล็บครุฑ, ดิน , แสง ,น้าที่ใช้รด
อุปกรณ์การทดลอง
1. ต้นเล็บครุฑขนาดเท่ากันจานวน 9 ต้น
2. ถุงรองต้นเล็บครุฑจานวน 3 ใบ
3. กระบอกฉีดน้าจานวน 3 อัน (บรรจุออร์โมนออกชินความเข้มข้น 0.4% v/v , 0.1% v/v และ 0% v/v)
4. ฮอร์โมนออกซิน 1 ขวด
5. ป้ายประจาต้นไม้จานวน 9 ใบ
6. ดินชนิดเดียวกันปริมาณเท่ากัน
ระยะเวลาในการทดลอง
ทาการทดลองและจดบันทึกข้อมูลตั้งแต่ วันที่ 10มิถุนายนถึง 31กรกฎาคม พ.ศ.2560 เป็นระยะเวลา
8 สัปดาห์ 2 วัน
วิธีการเก็บข้อมูล
1. วัดความสูงต้นเล็บครุฑแต่ละต้นก่อนฉีดฮอร์โมนออกซิน
2. จดบันทึกความสูงของต้นเล็บครุฑโดยแบ่งตามกลุ่มการทดลอง
3. ฉีดฮอร์โมนออกซินเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์อย่างสม่าเสมอ
4. วัดความสูงและจดบันทึกความสูงต้นเล็บครุฑแต่ละต้นเป็นประจา และนามาเปรียบเทียบความ
แตกต่างของแต่ละกลุ่มการทดลอง
ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
1. จัดหาต้นเล็บครุฑมาเป็นจานวน 9 ต้น วางไว้บริเวณหน้าตึก 2
2. แบ่งกลุ่มต้นเล็บครุฑออกเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น ได้แก่ ชุดHigh Dose ชุดLow Dose และชุด
ควบคุม
3. ผสมฮอร์โมนออกซินลงกระบอกฉีด โดยแบ่งออกเป็นชุดHigh Dose ชุดLow Dose และชุด
ควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้นเป็น 0.4% 0.1%และ 0%โดยปริมาตรตามลาดับ
4. ดูแลรดน้า และฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลองอย่างสม่าเสมอ
5. สังเกตและบันทึกความสูงของต้นเล็บครุฑทุกสัปดาห์
ผลการทดลอง
วันที่
บันทึกผล
ความสูงของลาต้นเล็บครุฑ (นิ้ว)
ชุด High dose ชุด Low dose ชุดควบคุม
ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3
10 มิ.ย.
60
2.3 2.5 0 2.4 2.2 2.3 3 2.7 2.5
12 มิ.ย.
60
2.3 2.6 0 2.4 2.3 2.3 3 2.7 2.5
19 มิ.ย.
60
2.7 3 0 2.7 2.5 2.5 3 2.8 2.5
26 มิ.ย.
60
3.3 3.5 0 3.1 2.7 0 0 2.9 2.7
3 ก.ค.
60
3.6 3.7 0 3.3 2.9 0 0 3 2.8
11 ก.ค.
60
4 4.1 0 3.4 3 0 0 3.1 2.8
17 ก.ค.
60
4.6 4.4 0 3.4 3.1 0 0 3.2 3
24
ก.ค. 60
5.1 4.9 0 3.7 3.3 0 0 3.2 3.1
31 ก.ค.
60
5.5 5.4 0 4 3.5 0 0 3.3 3.2
อัตราการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
อัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงเฉลี่ยทุกชุดการทดลอง (นิ้ว)
ชุดควบคุม ชุด Low dose ชุด High dose
0.516 1.45 3.05
ดังนั้นอัตราเพิ่มขึ้นของความสูงชุด High dose มากที่สุด
วันที่บันทึก
ความสูงต้นเล็บครุฑ
ข้อสรุปและเสนอแนะ
ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ ถ้าฮอร์โมนออกซินมีความเข้มข้นมาก ต้นเล็ฐครุฑก็
จะสูงมากขึ้น แต่ถ้าฮอร์โมนออกซินมีความเข้มข้นน้อย ต้นเล็บครุฑก็สูงขึ้นช้ากว่าต้นที่ฉีดฮอร์โมนออกซิน แต่
ในทางกลับกันการฉีดฮอร์โมนออกซินในปริมาณมากเกินไป จะส่งผลให้ความสูงของต้นเล็บครุฑลดลงและอาจ
ทาให้ต้นเล็บครุฑตายได้ จึงไม่ควรใช้ความเข้มข้นสูงไปหรือฉีดบ่อยเกินไป
0
1
2
3
4
5
6
10 มิ.ย. 60 12 มิ.ย. 60 19 มิ.ย. 60 26 มิ.ย. 60 3 ก.ค. 60 11 ก.ค. 60 17 ก.ค. 60 24 ก.ค. 60 31 ก.ค. 60
ความสูงชุด High dose ต้นที่ 1
ความสูงชุด High dose ต้นที่ 2
ความสูงชุด High dose ต้นที่ 3
ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 1
ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 2
ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 3
ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 1
ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 2
ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 3
วันที่บันทึก
ความสูงต้นเล็บครุฑ
บรรณานุกรม
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%
B4%E0%B8%99
https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=3 &cad=rja&uact=8 &ved=0
ahUKEwjJvuOJ7LjVAhWGpY8KHTVUBXkQFgg1MAI&url=http%3A%2F%2Fmis.agri.c
mu.ac.th%2Fcourse%2Fcourse_lecture_download.asp%3FCourseNO%3D359211%26CID%
3D369&usg=AFQjCNEyjBMDXjPqBKTMbHrt7tLifPLFOA
https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=1 &cad=rja&uact=8 &ved=0
ahUKEwjLlMjPv7vVAhUMqI8KHVZbA9AQFggkMAA&url=http%3A%2F%2Fpuechkase
t.com%2F%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%
259A%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%259
1%2F&usg=AFQjCNEiUJ1zJvSMysJ9n8dWX40lT2UtSg

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 

What's hot (20)

M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 144 60_10
M6 144 60_10M6 144 60_10
M6 144 60_10
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 

Similar to M6 144 60_8

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Technology Innovation Center
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 

Similar to M6 144 60_8 (20)

M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 144 60_8

  • 1. CD รายงานและงานนาเสนอโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ นาเสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีวะวิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกกลุ่มนาเสนอ 1.นาย ชนม์วริศร์ หอมจันทร์ เลขที่ 25 2.นาย นายชนสรณ์ สุจริตประภากร เลขที่ 26 3.นาย ธัญเทพ พนิตวรภูมิ เลขที่ 30 4.นาย นรุตม์ กนกพาเจริญ เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 144 สายการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5(ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
  • 2. คานา ในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือฮอร์โมน ออกซิน(Auxin) โดยฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัว ของเซลล์โดยการตอบสนองจะปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนออกซินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม จากข้อมูล ดังกล่าวทาให้คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า ปริมาณความเข้มข้นของ ฮอร์โมนออกซินเท่าไรที่เหมาะสมต่อการเพิ่มความสูงของต้นเล็บครุฑมากที่สุด จึงเกิดเป็นโครงงานการทดลอง ฮอร์โมนพืชครั้งนี้ โดยทาการศึกษาความสูงของต้นเล็บครุฑในระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่ แตกต่างกัน แบ่งเป็นชุดทดลอง high dose จานวน 3 ต้น ชุดทดลอง low dose จานวน 3 ต้น และชุดทดลอง ควบคุมจานวน 3 ต้น คระผู้จัดทาหวังว่ารายงานผลการทดลองชุดนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากมีความ ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 4 ข้อมูลและรายละเอียดของต้นเล็บครุฑ 4 ข้อมูลและรายละเอียดของฮอร์โมนออกซิน 6 สมมติฐานการทดลอง 12 จุดประสงค์การทดลอง 12 ตัวแปรการทดลอง 12 รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 13 ระยะเวลาในการทดลอง 13 วิธีการเก็บข้อมูล 13 ขั้นตอนการทดลอง 15 ผลการทดลอง 16 สรุปและข้อเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 19
  • 4. ปัญหา ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบัน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทในการเกษตรเพื่อเร่งผลผลิตมากมายไม่ว่าจะเป็น การใช้ปุ๋ ย ฮอร์โมนหรือสารเคมีต่างๆเพื่อช่วยในการเจริญเติบโตของ ใบ ดอก ผล หรือรากทางกลุ่มของเราจึง ต้องการทราบว่าการใช้ฮอร์โมนออกซินจะสามารถช่วยเพิ่มโอกาสเพิ่มความสูงต้นไม้ได้หรือไม่ เราจึงทาการ ทดลองโดยใช้ฮอร์โมนออกซินฉีดพ่นใส่ต้นโมกด้วยปริมาณความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ทางกลุ่มของเราหวังว่า ผลการทดลองในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจในการใช้ฮอร์โมนที่ถูกต้องในการเพิ่ม ผลผลิต ข้อมูลรายละเอียดพืชที่ใช้ทดลอง ต้นเล็บครุฑ ชื่อพื้นเมือง เล็บครุฑ ชื่อสามัญ Polyscias ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias spp. ชื่อวงศ์ ARALIACEAE ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นมีผิวเปลือกสีเขียวหรือสีน้าตาล ลาต้นเป็นข้อเล็กๆ ผิวเปลือกเรียบหรือมีจุดเล็กๆ ประอยู่ทั่วต้น ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อยติดอยู่ที่ก้านใบ ประมาณ 5-7 ใบ ขอบใบเป็นหยัก ใบมีสีเขียวเมื่อขยี้ใบดูจะมีกลิ่นฉุน ลักษณะของใบและขนาด ขึ้นอยู่กับชนิด พันธุ์
  • 5. การขยายพันธุ์ โดยการตอนกิ่ง การปักชา วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การปักชา การกระจายพันธุ์ เจริญได้ดีในดินร่วนซุยมีการระบายน้าได้ดี ขึ้นได้ดีในที่ที่มีแสงแดดราไร ประโยชน์ คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นเล็บครุฑไว้ประจาบ้านจะช่วยคุ้มครองและป้องกันภัย เพราะ ครุฑ หรือ คุตติ คือการคุ้มครองรักษาให้เกดความสงบสุขและปลอดภัย นอกจากนี้ ลักษณะของใบ เล็บครุฑ ยังมีลักษณะคล้ายเล็บของพญาครุฑ ซึ่งโบราณเชื่อว่าสามารถช่วยป้องกันภัยอันตราย ใบเล็บครุฑ นอกจากนาไปประกอบในการจัดดอกไม้แล้วยังสามารถนามาทาอาหารกินได้เช่นชุบแป้งทอด หรือใช้ยอดใบที่ ไม่อ่อนไม่แก่เกินไปรองห่อหมกแทนหรือร่วมกับผักชนิดอื่น เล็บครุฑจะให้กลิ่นและรสชาติที่เป็นกลิ่น เฉพาะตัว ผู้รับประทานจะจาได้นานทีเดียว ปลูกใส่กระถางหรือลงดินก็ได้ เล็บครุฑมีใบหลายลักษณะ แล้วแต่ คนชอบที่จะเลือกหามาปลูก ปักชาออกรากง่ายมาก วิธีที่ผมชอบทาคือเอากระถางขนาด 6 นิ้ว ใส่ดินปลูกให้เต็ม กระถาง กดดินให้แน่น ๆ แล้วไปเลือกกิ่งที่มองดูว่าปักลงกระถางแล้วสวยเลย ใช้มีดคม ๆ ตัดมาแล้วเอาใบส่วน โคนกิ่งออก แล้วปักลงกระถาง รดน้าทุกวัน วางกระถางอย่าให้ถูกแดด ไม่เกิน5 วัน เล็บครุฑจะฟื้นตั้งตัวได้อย่าง สวยงามในกระถาง สามารถเคลื่อนย้ายไปวางตรงที่เหมาะสมได้เลย
  • 6. รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนออกซิน สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth regulating chemicals : PGRC) ที่จัดอยู่ในกลุ่ม ออกซิน มีอยู่หลายชนิดและเป็นที่รู้จักกันดีสาหรับเกษตรกรในประเทศไทย สารออกซินชนิดแรกที่ค้นพบคือ IAA (indol-3-acetic acid) ซึ่งเป็นสารที่พืชสร้างขึ้นเอง โดยมีคุณสมบัติเป็นสารเร่งการเจริญเติบโต มีผล กระตุ้นการขยายขนาดของเซลล์ การยืดตัวของเซลล์ และยังมีผลกระตุ้นการเกิดราก รวมถึงมีคุณสมบัติในการ ส่งเสริมการเจริญเติบโตในส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้หลายวิธีกับพืชทั้งต้น (intact plant) รวมทั้งวิธีที่ตัดอวัยวะเฉพาะส่วนมาทดสอบ (excised part) สรุปได้ว่ากระบวนการต่าง ๆ หลายอย่างที่เกิดขึ้น ในพืชนั้น ออกซินมีส่วนในการควบคุมกระบวนการนั้น ๆ ด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทาให้มีการสังเคราะห์สารต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติคล้ายออกซินเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร สารสังเคราะห์เหล่านี้มีอยู่หลายชนิด แต่ที่ นิยมใช้กันทั่วไปมีอยู่เพียงไม่กี่ชนิด ได้แก่ NAA (1-naphthylacetic acid) IBA (4-(indol-3-yl)butyric acid) 2,4-D (2,4-dichlorophenoxyacetic acid) และ 4-CPA (4-chlorophenoxyacetic acid) การสังเคราะห์ออกซินในเนื้อเยื่อพืช (Biosynyhesis of Auxins) Auxin
  • 7. กลไกในการสังเคราะห์สารออกซินที่เป็นไปได้มีสองทางโดยเริ่มจากการตัด amino group และ carboxyl group จาก side-chain ของ amino acid ชนิดหนึ่งคือ tryptophan pathway ที่เกิดขึ้นในพืช ส่วนใหญ่จะเริ่มจากการตัด amino group ให้กับ α-keto acid ตัวหนึ่งโดยผ่านปฎิกิริยาที่เรียกว่า transaminayion กลายเป็น indolepyruvic acid จากนั้นจะเกิดปฎิกิริยา decarboxylation กับ indolepyruvic acid กลายเป็น IAA (indole acetic acid) enzymes ที่จาเป็นสาหรับการเปลี่ยน tryptophan ไปเป็น IAA จะมีประสิทธิภาพ (active) มากที่สุดในเนื้อเยื่อที่มีอายุน้อย เช่น shoot meristems ใบที่กาลังเจริญเติบโต และในผล ในเนื้อเยื่อเหล่านี้ยังจะมีออกซิน ในปริมาณมากที่สุดอีกด้วย จึงทาให้สรุปว่าเป็นแหล่งสังเคราะห์ออกซินซึ่งจะอยู่บริเวณที่มีการเจริญเติบโตทั่วไปทั้งต้น ธาตุสังกะสีมีความ จาเป็นต่อการสังเคราะห์ทริบโตเฟนจึงมีความสาคัญต่อการสังเคราะห์ออกซินด้วย ดังนั้นเมื่อขาดธาตุสังกะสีก็ ทาให้พืชสร้างออกซินได้น้อยด้วยออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลาต้น ตา ใบ และรากใน ระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน ออกซินในระดับความเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช ออกซินในระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมจะกระตุ้นการเจริญของลาต้น แต่จะมีผลในการยับยั้งการเจริญเติบโต ของตาและใบ ซึ่งต้องการความเข้มข้นต่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ดังนั้นลาต้น จึงต้องการออกซินสูงกว่า ตา และใบ ในขณะที่ตาและใบก็ต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้น ของออกซินที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้
  • 8. ผลของออกซินที่มีต่อการเจริญเติบโตของพืช 1.ช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ของเยื่อเจริญ (cambium) ทาให้พืชมีเนื้อไม้มากขึ้น เกิดการเจริญเติบโต ด้านข้างเพิ่มขึ้น 2.ออกซินช่วยให้เซลล์ในส่วนต่าง ๆ ของพืชยืดยาวขึ้นโดยการกระตุ้นให้เซลล์สร้างผนังเซลล์มากขึ้น 3.ควบคุมการเจริญของตาข้าง (lateral bud) โดยตายอด (apical bud) ซึ่งเรียกว่า การข่มของตา ยอด (apical dominant) โดยตายอดสร้างออกซินขึ้นมาในปริมาณที่สูงแล้วลาเลียงลงสู่ด้านล่าง ความเข้มข้น ระดับนี้จะยับยั้งการเจริญเติบโตของตาและใบด้านข้างไม่ให้เจริญเติบโต พืชจึงสูงขึ้นมากแต่ไม่เป็นพุ่ม แต่เมื่อ เราตัดยอดออกความเข้มข้นของออกซินจะลดลง ทาให้ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของตาด้านข้างและใบ ได้ พืชจึงแตกตาด้านข้างได้ และทาให้ต้นพืชมีลักษณะเป็นพุ่ม 4.ออกซินในปริมาณที่พอเหมาะสามารถใช้การกระตุ้นการเกิดรากสาหรับการตอนและการปักชากิ่งได้ 5.ควบคุมการตอบสนองของพืชโดยการแบบมีแสงเป็นสิ่งเร้า (phototropism) หรือมีแรงโน้มถ่วง ของโลกเป็นสิ่งเร้า (gravitropism) 6.ควบคุมการออกดอกของพืชปกติ โดยทั่วไปถ้าพ่นออกซินให้แก่พืชที่ใกล้จะออกดอก จะทาให้พืช นั้นออกดอกช้าลง แต่ในสับปะรด มะม่วง ลิ้นจี่ เมื่อให้ออกซินจะทาให้ออกดอกเร็วขึ้น และออกดอกพร้อม ๆ กัน 7. เปลี่ยนเพศดอก พืชหลายชนิดที่มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ต่างดอก หรือต่างต้นกัน เช่น ต้นเงาะ ซึ่งมี 2 ชนิด คือ ต้นตัวผู้ซึ่งมีแต่ดอกตัวผู้ที่ไม่สามารถให้ผลผลิต จึงถูกตัดทิ้งเนื่องจากไม่สามารถให้ผลผลิตได้ และต้นตัวเมียซึ่งมีดอกตัวเมีย จากการที่ต้นตัวผู้ถูกตัดทิ้ง ทาให้มีเกสรตัวผู้ไม่เพียงพอในการผสมกับดอกตัวเมีย ผลผลิตจึงลดลงเพราะดอกตัวเมียไม่สามารถพัฒนาเป็นผลได้ การพ่นออกซิน ความเข้มข้น 100 มก/ล แก่ช่อ ดอกเงาะต้นตัวเมีย ในระยะดอกตูม สามารถชักนาให้เกิดการเปลี่ยนเพศดอกจากดอกตัวตัวเมียเป็นดอกตัวผู้ได้
  • 9. 8.เพิ่มขนาดของผล และป้องกันผลร่วง มีรายงานว่าออกซินอาจช่วยขยายขนาดของผลไม้บางชนิดได้ เช่น การใช้4-CPA หรือ NAA กับสับปะรด ผลไม้บางชนิดสามารถใช้ออกซินเพื่อป้องกันผลร่วงก่อนการเก็บ เกี่ยวได้ เช่น มะม่วง ส้ม องุ่น และลางสาด สารที่นิยมใช้คือ NAA และ 2,4-D 9.ควบคุมการเจริญเติบโตของผล เช่น แตงโม องุ่น มะเขือเทศ บวบ มะเดื่อ สตรอเบอรี่ เมื่อพ่น ด้วยในปริมาณที่พอเหมาะก็จะทาให้รังไข่เจริญไปเป็นผลได้โดยไม่มีเมล็ด ซึ่งเรียกผลไม้ประเภทนี้ว่า ผลไม่มี เมล็ด หรือ ผลกระเทย (parthenocarpic fruit) ออกซินอาจช่วยขยายขนาดของผลไม้บางชนิดได้ เช่น การใช้ 4-CPA หรือ NAA กับสับปะรด ผลไม้บางชนิดสามารถใช้ออกซินเพื่อป้องกันผลร่วงก่อนการเก็บเกี่ยวได้ เช่น มะม่วง ส้ม องุ่น และลางสาด สารที่นิยมใช้คือ NAA และ 2,4-D 10.ควบคุมการหลุดร่วงของใบ ดอก และผล เมื่ออวัยวะดังกล่าวแก่ตัวลง การสร้างออกซิเจนจะ น้อยลงกว่าส่วนอ่อนและลาต้นจึงทาให้ร่วงได้ ดังนั้นการพ่นออกซินให้ในปริมาณที่พอเหมาะส่วนต่าง ๆ เหล่านั้นก็จะไม่หลุดร่วงง่าย 11.สารประกอบต่าง ๆ ที่สังเคราะห์ขึ้นมาและนิยมใช้แทนออกซินธรรมชาติได้แก่ กรดแนพทาลีนแอ ซิติก (naphthalene acetic acid, NAA) กรดอินโดลบิวทิริก (Indolebutyric acid, IBA) กรดอินโดล โพรพิออกนิก (Indolepropionic acid) กรดแนพทอซีแอซิติก (Naphthoxyacetic acid, NOA) สาร เหล่านี้มีผลเช่นเดียวกับออกซินในธรรมชาติ นอกจากนี้ยังใช้ออกซินสังเคระห์สารบางชนิดในการปราบพืช ประเภทใบกว้าง หรือพืชใบเลี้ยงคู่คือ กรด2,4-ไดคลอโรฟีนอแอซีติก (2,4-Dichlorophenoxyacetic acid 2,4-D) และใช้กรด 2,2 Dichlopropionic acid) ใช้ในการปราบวัชพืชใบแคบคือ พวกหญ้าและใบเลี้ยง เดี่ยวต่าง ๆ สาหรับสารที่ทาลายฤทธิ์หรือผลของออกซินหรือที่เรียกว่า แอนติออกซิน (antiauxin) ได้แก่ กรด 2,6-ไดคลอโรฟีนอแอซีติก (2,6-Dichlorophenoxyacetic acid 2,6-D) กรดทรานส์ซินเนมิก (transcinamic acid) เมื่อใช้ร่วมกับออกซินแล้วจะไม่มีผลของออกซินให้เห็น
  • 10. 12. ออกซินมีคุณสมบัติเป็นสารกาจัดวัชพืช (herbicides) ออกซินทุกชนิดถ้าใช้ความเข้มข้นสูงจะ สามารถฆ่าพืชได้ ดังนั้นจึงมีการนาสารออกซินมาใช้เป็นยากาจัดวัชพืชอย่างกว้างขวาง ออกซินที่ใช้สารกาจัด วัชพืช อย่างกว้างขวางได้แก่ 2,4-D, 2,4,5-T , MCPA สารที่นิยมใช้คือ 2,4-D รองลงมาคือ 4-CPA สาร ทั้งสองชนิดนี้มีฤทธิ์ของออกซินสูงมากจึงใช้ฆ่าวัชพืชได้ แม้จะใช้ความเข้มข้นไม่สูงมากนักก็ตาม อนุพันธ์ของ picolinic acid เช่น picloram ชื่อการค้า Tordon มีคุณสมบัติที่ทาให้เป็นที่นิยมกว้างขวางเนื่องจากความ เป็นพิษต่อพืช มีราคาถูกและการเลือกทาลายพืชใบเลี้ยงคู่มากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2,4,5-T ถูกห้ามใช้ใน สหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีสารพิษที่ร้ายแรงคือ dioxin ปนเปื้อนอยู่ สารกาจัดวัชพืชเหล่านี้อาจอยู่ในรูปเกลือของด่างอ่อน เช่น ammonia (amines), กรด emulsifiable, ester และผสมกับน้ามันหรือ detergent เพื่อให้มีการกระจายตัวและจับใบสามารถดูดซึมเข้าสู่ใบพืชได้ดีขึ้น และเมื่อดูดซึมเข้าไปแล้วจะถูกลาเลียงส่วนใหญ่ทาง phloem ไปกับสารที่เกิดจากการสังเคราะห์แสง ดังนั้น เวลาฉีดพ่นให้ได้ผลดีที่สุด คือตอนเช้ามืดของวันที่มีแดด กลไกที่แท้จริงของสารเหล่านี้ยังไม่กระจ่างเพียงแต่ สันนิษฐานว่าออกซินเหล่านี้เข้าไปรบกวนการสร้าง DNA และการแปล RNA ดังนั้นจึงทาให้การสร้าง เอนไซม์ต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตเหล่านี้ได้รับการสร้างอย่างผิดปกติ การเกิดอวัยวะของพืช เมื่อออกซินนาไปสู่การสร้างอวัยวะออกซินจะมีบทบาทสาคัญในการควบคุมพัฒนาการของพืชหากไม่ มีการควบคุมด้วยฮอร์โมน พืชจะเป็นเพียงกลุ่มของเซลล์ที่คล้ายกัน การทางานออกซินเริ่มขึ้นในตัวอ่อนของพืช ที่ทิศทางการกระจายของออกซิน เกี่ยวข้องกับการกาหนดขั้วของเจริญเติบโตและการพัฒนา ซึ่งจะไปเป็นยอด และรากแรกเกิด ออกซินช่วยให้พืชรักษาขั้วของการเจริญเติบโตและการแตกกิ่งก้านได้ตลอดชีวิตของการ เติบโต
  • 11. หลักการสาคัญของการเกิดอวัยวะในพืชขึ้นอยู่กับการกระจายของออกซิที่ปลายยอด ซึ่งหมายความว่า ออกซินผลิตมากที่ตายอด แพร่กระจายลงมาและลดการพัฒนาของตาข้างที่จะแข่งขันกับตายอดเพื่อแย่งแสงและ สารอาหารที่เรียกการข่มของตายอดต่อตาข้าง (Apical dominance) โดยทั่วไปในพืช เมื่อมีตายอดอยู่ จะข่มการ เจริญของตาข้างทาให้ตาข้างเติบโตช้า ถ้าตัดปลายยอดออก ตาข้างจะเติบโตได้ทันที การข่มของตายอดอาจมา จากส่วนยอดบดบังแสงไว้ทาให้ตาข้างได้รับแสงไม่เต็มที่ การกระจายของออกซินที่ไม่สม่าเสมอ : ในการทาให้มีการเจริญเติบโตในส่วนที่ต้องการนั้น มันเป็น สิ่งจาเป็นที่ออกซินจะต้องทางานในบริเวณนั้นมาก แม้ว่าจะไม่มีการสังเคราะห์ออกซินในทุกเซลล์ แต่แต่ละ เซลล์ยังคงมีความสามารถในการสังเคราะห์ออกซินได้และจะถูกกระตุ้นให้สร้างภายใต้เงื่อนไขที่เฉพาะ และยัง มีการขนส่งออกซินเข้าสู่บริเวณที่ต้องการใช้ด้วย ในการขนส่งระยะทางไกล จะมีระบบเฉพาะที่มีทิศทาง แน่นอนในการขนส่งระหว่างเซลล์ที่มีการควบคุม มันขึ้นอยู่ในการกระจายไม่สม่าเสมอของตัวพาออกซินในเยื่อ หุ้มเซลล์ซึ่งกาหนดให้ขนส่งออกซินในทิศทางที่ถูกต้อง การศึกษาในปี พ.ศ. 2549 พบโปรตีน PIN มี ความสาคัญในการลาเลียงออกซิน . การควบคุมการสร้างโปรตีน PIN ในเซลล์จะเป็นตัวกาหนดทิศทางของการขนส่งออกซินในการเพิ่ม ปริมาณออกซินในบริเวณนั้นให้ถึงจุดสูงสุด จุดสูงสุดของออกซินช่วยในการพัฒนาของยอดและราก เซลล์ที่อยู่ รอบๆบริเวณนั้นเป็นเซลล์ที่มีออกซินต่า ใน Arabidopsisการมีออกซินปริมาณต่าในผลจะมีความสาคัญต่อการ พัฒนาของเนื้อเยื่อในการสร้างดอกและผล การให้ออกซินแก่พืชที่มีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกกันตั้งแต่ ระยะแรกของการเจริญจะทาให้เกิดดอกเพศเมียมากขึ้น ละอองเรณูเป็นส่วนที่มีออกซินสูง สารสกัดจากละออง เรณูจะกระตุ้นการติดผลโดยไม่ต้องมีการถ่ายละอองเกสรที่เรียกว่าการเกิดผลลม (Parthenocarpy) ซึ่งเป็นผลที่ ไม่มีเมล็ด และมีประโยชน์ทางการค้า
  • 12. สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น 0.4% v/v มีผลทาให้คต้นเล็บครุฑมีความสูงมากขึ้น ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้น 0.4% v/v จะทาให้ต้นเล็บครุฑสูงมากที่สุด จุดประสงค์การทดลอง 1.เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินว่ามีผลต่อการแตกกิ่งของต้นโมกอย่างไร 2.เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนออกซินระหว่างน้าที่มีความเข้มข้น 0 % v/v สารละลายออกซินที่มีความเข้ม 0.3 %v/v และสารละลายออกซินที่มีความเข้มข้น 0.5 %v/v กับจานวนกิ่งของโมกว่าแตกต่างกันอย่างไร ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น คือ ฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นต่างๆได้แก่  0.4% v/v (ชุด High dose)  0.1% v/v (ชุด Low dose)  0% v/v (ชุดควบคุม) ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของต้นเล็บครุฑ ตัวแปรควบคุม คือ ต้นเล็บครุฑ, ดิน , แสง ,น้าที่ใช้รด
  • 13. อุปกรณ์การทดลอง 1. ต้นเล็บครุฑขนาดเท่ากันจานวน 9 ต้น 2. ถุงรองต้นเล็บครุฑจานวน 3 ใบ 3. กระบอกฉีดน้าจานวน 3 อัน (บรรจุออร์โมนออกชินความเข้มข้น 0.4% v/v , 0.1% v/v และ 0% v/v) 4. ฮอร์โมนออกซิน 1 ขวด 5. ป้ายประจาต้นไม้จานวน 9 ใบ 6. ดินชนิดเดียวกันปริมาณเท่ากัน ระยะเวลาในการทดลอง ทาการทดลองและจดบันทึกข้อมูลตั้งแต่ วันที่ 10มิถุนายนถึง 31กรกฎาคม พ.ศ.2560 เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ 2 วัน วิธีการเก็บข้อมูล 1. วัดความสูงต้นเล็บครุฑแต่ละต้นก่อนฉีดฮอร์โมนออกซิน 2. จดบันทึกความสูงของต้นเล็บครุฑโดยแบ่งตามกลุ่มการทดลอง 3. ฉีดฮอร์โมนออกซินเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์อย่างสม่าเสมอ 4. วัดความสูงและจดบันทึกความสูงต้นเล็บครุฑแต่ละต้นเป็นประจา และนามาเปรียบเทียบความ แตกต่างของแต่ละกลุ่มการทดลอง
  • 14.
  • 15. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 1. จัดหาต้นเล็บครุฑมาเป็นจานวน 9 ต้น วางไว้บริเวณหน้าตึก 2 2. แบ่งกลุ่มต้นเล็บครุฑออกเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น ได้แก่ ชุดHigh Dose ชุดLow Dose และชุด ควบคุม 3. ผสมฮอร์โมนออกซินลงกระบอกฉีด โดยแบ่งออกเป็นชุดHigh Dose ชุดLow Dose และชุด ควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้นเป็น 0.4% 0.1%และ 0%โดยปริมาตรตามลาดับ 4. ดูแลรดน้า และฉีดฮอร์โมนตามชุดการทดลองอย่างสม่าเสมอ 5. สังเกตและบันทึกความสูงของต้นเล็บครุฑทุกสัปดาห์
  • 16. ผลการทดลอง วันที่ บันทึกผล ความสูงของลาต้นเล็บครุฑ (นิ้ว) ชุด High dose ชุด Low dose ชุดควบคุม ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 10 มิ.ย. 60 2.3 2.5 0 2.4 2.2 2.3 3 2.7 2.5 12 มิ.ย. 60 2.3 2.6 0 2.4 2.3 2.3 3 2.7 2.5 19 มิ.ย. 60 2.7 3 0 2.7 2.5 2.5 3 2.8 2.5 26 มิ.ย. 60 3.3 3.5 0 3.1 2.7 0 0 2.9 2.7 3 ก.ค. 60 3.6 3.7 0 3.3 2.9 0 0 3 2.8 11 ก.ค. 60 4 4.1 0 3.4 3 0 0 3.1 2.8 17 ก.ค. 60 4.6 4.4 0 3.4 3.1 0 0 3.2 3 24 ก.ค. 60 5.1 4.9 0 3.7 3.3 0 0 3.2 3.1 31 ก.ค. 60 5.5 5.4 0 4 3.5 0 0 3.3 3.2
  • 17. อัตราการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย อัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงเฉลี่ยทุกชุดการทดลอง (นิ้ว) ชุดควบคุม ชุด Low dose ชุด High dose 0.516 1.45 3.05 ดังนั้นอัตราเพิ่มขึ้นของความสูงชุด High dose มากที่สุด วันที่บันทึก ความสูงต้นเล็บครุฑ
  • 18. ข้อสรุปและเสนอแนะ ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ ถ้าฮอร์โมนออกซินมีความเข้มข้นมาก ต้นเล็ฐครุฑก็ จะสูงมากขึ้น แต่ถ้าฮอร์โมนออกซินมีความเข้มข้นน้อย ต้นเล็บครุฑก็สูงขึ้นช้ากว่าต้นที่ฉีดฮอร์โมนออกซิน แต่ ในทางกลับกันการฉีดฮอร์โมนออกซินในปริมาณมากเกินไป จะส่งผลให้ความสูงของต้นเล็บครุฑลดลงและอาจ ทาให้ต้นเล็บครุฑตายได้ จึงไม่ควรใช้ความเข้มข้นสูงไปหรือฉีดบ่อยเกินไป 0 1 2 3 4 5 6 10 มิ.ย. 60 12 มิ.ย. 60 19 มิ.ย. 60 26 มิ.ย. 60 3 ก.ค. 60 11 ก.ค. 60 17 ก.ค. 60 24 ก.ค. 60 31 ก.ค. 60 ความสูงชุด High dose ต้นที่ 1 ความสูงชุด High dose ต้นที่ 2 ความสูงชุด High dose ต้นที่ 3 ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 1 ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 2 ความสูงชุด Low dose ต้นที่ 3 ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 1 ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 2 ความสูงชุดควบคุม ต้นที่ 3 วันที่บันทึก ความสูงต้นเล็บครุฑ