SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อความสูงของต้นแก้ว
นาเสนอ
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิก
1. นางสาวชลลดา แก้วประดิษฐ์ เลขที่5
2. นางสาวพัทธนันท์ ลีลาธีระกุล เลขที่15
3. นางสาวแพรพลอย พิทักษ์กุลธร เลขที่17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 144
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
คานา
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 รหัสวิชา ว30245 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าได้ศึกษาทดลอง เพื่อเป็นการเผยแพร่การทดลองเรื่องฮอร์โมนพืช และเป็น
การฝึกทักษะการพิมพ์รายงานให้มีคุณภาพ มีรูปแบบที่ถูกต้องสวยงาม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้ จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้สนใจบ้าง ไม่มากก็น้อย
ท้ายที่สุดนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ได้ให้ความรู้ตลอดจนคาปรึกษา แนะนา ใน
การศึกษารายวิชานี้อย่างดียิ่ง ข้าพเจ้าขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ผู้จัดทา
2 สิงหาคม 2560
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 1
ข้อมูลรายละเอียดของต้นแก้ว 1
ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนไซโตไคนิน 2
สมมติฐานการทดลอง 3
จุดประสงค์การทดลอง 3
ตัวแปรการทดลอง 3
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 3
ระยะเวลาในการทดลอง 4
วิธีการเก็บข้อมูล 4
ขั้นตอนการทดลอง 4
ผลการทดลอง 5
สรุปและข้อเสนอแนะ 7
บรรณานุกรม 8
ภาคผนวก 9
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
ระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้ว
หรือไม่ อย่างไร
เนื่องจาก ในปัจจุบันต้นแก้วเป็นพืชที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การใช้ตกแต่ง
บ้านเรือน และการใช้สอยในชีวิตประจาวัน นอกจากนี้ ฮอร์โมนไซโตไคนินก็ยังเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการแบ่ง
เซลล์ การแตกกิ่งและการเจริญของลาต้นและราก เป้ าหมายในการศึกษาคือความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไค
นินมีผลต่อความการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้วหรือไม่ และศึกษาเกี่ยวกับลาต้นซึ่งได้รับอิทธิพล
จากฮอร์โมนนี้
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไค
นินที่มีต่อความสูงของต้นแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาคาตอบว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินมี
ผลต่อความการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้วหรือไม่ อย่างไร คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลอง
ฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อทุกท่านในอนาคตต่อไป
ข้อมูลรายละเอียดของต้นแก้ว
1.แก้วเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลาต้นมีความสูงประมาณ5-10 เมตรเปลือกลาต้นสี
ขาวปนเทาลาต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องตามยาวการแตกกิ่งก้านของทรงพุ่มไม่ค่อยเป็นระเบียบใบออกเป็นช่อ
เป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบใบเป็นมันสีเขียวเข้มขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุน
แรงขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อยขนาดของใบกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ3-6 เซนติเมตรออก
ดอกเป็นช่อใหญ่ช่อสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดช่อหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต่ละดอกมีกลีบดอก 5
กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข่ รีปลายทู่ มีสีส้ม ภายในมี
เมล็ด 1 - 2 เมล็ด
2.การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช้กระถางทรงสูงขนาด 12 - 16 นิ้ว ใช้ปุ๋ ยคอก
หรือปุ๋ ยหมัก : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ปี/ ครั้ง หรือตามความเหมาะสม
ของการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม เพราะการขยายตัวของรากแน่นเกินไปและเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดิน
ปลูกเดิมที่เสื่อมสภาพไป
ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนไซโตไคนิน
เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการ
เปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการชราของใบ การออกฤทธิ์ของ
สารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่ University of Wisconsin–
Madison
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของไซโตไคนินได้แก่
1.สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้าเข้าไปภายในเซลล์ เพราะไม่ทาให้น้าหนัก
แห้งเพิ่มขึ้น
2.สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข้าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างที่ถูกยับยั้งด้วยตายอด
เจริญออกมาได้ สิ่งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากอัตราส่วนระหว่างไซโตไคนินต่อออกซิน ออกซินจากตายอด จะถูกขนส่ง
ลงไปยังตาข้างเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโต ทาให้ยอดยาวขึ้น แต่ไม่แตกกิ่งใหม่ ในขณะที่ไซโตไคนินจะเคลื่อนที่
จากรากขึ้นมายังยอด และจะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญของตาข้าง ถ้าตัดตายอดออกไป ตาข้างจะไม่ถูกยับยั้งและ
จะเจริญออกมาได้พืชจึงเจริญออกทางด้านข้างมากขึ้น ถ้าให้ออกซินที่รอยตัด การเจริญของตาข้างยังคงถูกยับยั้ง
ต่อไป
3.การชะลอการชรา ความชราของพืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของเซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟิลล์ RNA
โปรตีน และไขมัน การชะลอความชราของออกซินเกิดขึ้นโดยการป้ องกันการสลายตัวของโปรตีน กระตุ้นการ
สังเคราะห์โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายังเนื้อเยื่อ ไซโตไคนินสนับสนุนการเกิดคลอโรฟิลล์และการเปลี่ยน
อีทิโอพลาสต์ไปเป็นคลอโรพลาสต์
4.ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลต่อการเจริญของลาต้นและราก การตัดรากออกไปจะทาให้การ
เจริญเติบโตของลาต้นหยุดชะงัก
5.การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไม่กระทบต่ออัตราการ
ขยายตัวของเซลล์ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แต่ไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจาเป็นในการรักษากิจกรรมของ
เนื้อเยื่อเจริญที่ปลายยอด
6.ทาลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได้ เช่น ผักกาดหอม
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้นน้อยที่สุด(low dose) มีผลต่อลาต้นเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย
ฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้นน้อยที่สุด(low dose) จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด
จุดประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนไซโทไคนินมีผลต่อการเจริญเติบโต(ความสูง)ของต้นแก้วหรือไม่อย่างไร
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมน
ตัวแปรตาม : ความสูงของต้นแก้ว
ตัวแปรควบคุม : จานวนครั้งในการฉีดฮอร์โมน ปริมาณน้าที่รด ปริมาณแสงที่ได้รับ
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง
1. ต้นแก้ว 9 ต้น แบ่งเป็นกลุ่มละ 3 ต้น
2. ฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 10% และ 70%
3. น้าเปล่า
4. หลอดฉีดขนาด 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5. กระบอกฉีดฮอร์โมน 3 กระบอก
6. ไม้บรรทัด
7. ขวดน้าสาหรับรดน้าต้นไม้
ระยะเวลาในการทดลอง
วันที่ 8 มิ.ย. 2560 – 2 ส.ค. 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
เก็บข้อมูลโดยการวัดความสูงของต้นแก้วทั้ง 9 ต้นโดยใช้ไม้บรรทัดและสายวัด แล้วบันทึกผลลงใน
ตารางบันทึกผล โดยเริ่มจากวันที่ 8 มิ.ย. 60 ถึง 2 ส.ค. 60
ขั้นตอนการทดลอง
1.ใช้หลอดฉีดยา ฉีดฮอร์โมนลงในกระบอกฉีดที่มีน้าอยู่แล้วในปริมาณที่เหมาะสม ในความเข้มข้น 0% 70%
และ 10% ตามลาดับ
2.รดน้าต้นไม้ด้วยน้า
3.ฉีดสารละลายฮอร์โมนในกลุ่มการทดลองที่ได้แบ่งไว้
4.วัดความสูงของต้นไม้ด้วยไม้บรรทัด
5.จดบันทึก
ผลการทดลอง
*หมายเหตุ ความสูงที่ลดลงเกิดจากต้นไม้เกิดการหักเพราะพายุฝน
**หมายเหตุ วันที่8มิ.ย.60 ยังไม่มีการฉีดฮอร์โมน
วันที่ทา
การ
ทดลอง
ความสูง(cm)
ชุดควบคุมความเข้มข้น(0%) ชุดhigh dose(70%) ชุด low dose (30%)
ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย
8มิ.ย.60 34 58 45 45 33 30 24 29 48 44 37 43
18มิ.ย.60 36 58 48 47.33 37 37 25 33 24* 44 45 37.67
20มิ.ย.60 38 60 60 52.67 50 38 25* 37.67 27 37 50 38
27มิ.ย.60 38.5 59 60 52.5 30 44 40 38 30 60 25* 38.33
4ก.ค.60 33* 56.5 70 53.17 30 47 43 40 37 70 25 44
2ส.ค.60 30* 60 39.5* 53.17 34 50 48 44 41 80 25* 48.67
ค่าเฉลี่ย 34.9 58.25 53.75 43.17 38 41 34.17 48.67 34.5 56 34.5 48.67
ค่าเฉลี่ย
ส่วนต่าง
ความสูง
-2.83 19.67 5.67
กราฟแสดงความสัมพันธ์ค่าเฉลี่ยส่วนต่างความสูงและระดับความเข้มข้นฮอร์โมน
0
10
20
30
40
50
60
กราฟแสดงความสูงเฉลี่ยในกลุ่มความเข้มข้นฮอร์โมนแตกต่างกัยของ
ต้นไม้และวันที่วัด
0% 70% 30%
-5
0
5
10
15
20
25
ส่วนต่างความสูงเฉลี่ย
0% high dose low dose
สรุปและข้อเสนอแนะ
ระดับความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อความสูงของต้นแก้วที่สุดคือ ระดับhigh dose
โดยีความสูงเฉลี่ยคือ48.67 และความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง 19.67 cm
ข้อเสนอแนะ มีดังนี้
1.ตาแหน่งที่จัดวางต้นไม้ควรมีความเหมาะสม ไม่ให้เกิดการโค่นลงได้ง่ายๆ
2.ระมัดระวังเรื่องการฉีดฮอร์โมนให้ต้นได้รับ
บรรณานุกรม
http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11187
http://www.thaigoodview.com/node/214761
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%8
4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99
8
ภาคผนวก
M6 144 60_7
M6 144 60_7
M6 144 60_7
M6 144 60_7

More Related Content

What's hot (20)

M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 

Similar to M6 144 60_7

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 

Similar to M6 144 60_7 (20)

M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 144 60_7

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อความสูงของต้นแก้ว นาเสนอ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ สมาชิก 1. นางสาวชลลดา แก้วประดิษฐ์ เลขที่5 2. นางสาวพัทธนันท์ ลีลาธีระกุล เลขที่15 3. นางสาวแพรพลอย พิทักษ์กุลธร เลขที่17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 144 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  • 2. คานา โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 รหัสวิชา ว30245 กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าได้ศึกษาทดลอง เพื่อเป็นการเผยแพร่การทดลองเรื่องฮอร์โมนพืช และเป็น การฝึกทักษะการพิมพ์รายงานให้มีคุณภาพ มีรูปแบบที่ถูกต้องสวยงาม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้ จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้สนใจบ้าง ไม่มากก็น้อย ท้ายที่สุดนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ได้ให้ความรู้ตลอดจนคาปรึกษา แนะนา ใน การศึกษารายวิชานี้อย่างดียิ่ง ข้าพเจ้าขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทา 2 สิงหาคม 2560
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 1 ข้อมูลรายละเอียดของต้นแก้ว 1 ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนไซโตไคนิน 2 สมมติฐานการทดลอง 3 จุดประสงค์การทดลอง 3 ตัวแปรการทดลอง 3 รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 3 ระยะเวลาในการทดลอง 4 วิธีการเก็บข้อมูล 4 ขั้นตอนการทดลอง 4 ผลการทดลอง 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 7 บรรณานุกรม 8 ภาคผนวก 9
  • 4. ปัญหา ที่มาและความสาคัญ ระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้ว หรือไม่ อย่างไร เนื่องจาก ในปัจจุบันต้นแก้วเป็นพืชที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การใช้ตกแต่ง บ้านเรือน และการใช้สอยในชีวิตประจาวัน นอกจากนี้ ฮอร์โมนไซโตไคนินก็ยังเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการแบ่ง เซลล์ การแตกกิ่งและการเจริญของลาต้นและราก เป้ าหมายในการศึกษาคือความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไค นินมีผลต่อความการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้วหรือไม่ และศึกษาเกี่ยวกับลาต้นซึ่งได้รับอิทธิพล จากฮอร์โมนนี้ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไค นินที่มีต่อความสูงของต้นแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาคาตอบว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโตไคนินมี ผลต่อความการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นแก้วหรือไม่ อย่างไร คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลอง ฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อทุกท่านในอนาคตต่อไป ข้อมูลรายละเอียดของต้นแก้ว 1.แก้วเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลาต้นมีความสูงประมาณ5-10 เมตรเปลือกลาต้นสี ขาวปนเทาลาต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องตามยาวการแตกกิ่งก้านของทรงพุ่มไม่ค่อยเป็นระเบียบใบออกเป็นช่อ เป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบใบเป็นมันสีเขียวเข้มขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุน แรงขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อยขนาดของใบกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ3-6 เซนติเมตรออก ดอกเป็นช่อใหญ่ช่อสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดช่อหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต่ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข่ รีปลายทู่ มีสีส้ม ภายในมี เมล็ด 1 - 2 เมล็ด
  • 5. 2.การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช้กระถางทรงสูงขนาด 12 - 16 นิ้ว ใช้ปุ๋ ยคอก หรือปุ๋ ยหมัก : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ปี/ ครั้ง หรือตามความเหมาะสม ของการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม เพราะการขยายตัวของรากแน่นเกินไปและเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดิน ปลูกเดิมที่เสื่อมสภาพไป ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนไซโตไคนิน เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการ เปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการชราของใบ การออกฤทธิ์ของ สารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่ University of Wisconsin– Madison การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของไซโตไคนินได้แก่ 1.สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้าเข้าไปภายในเซลล์ เพราะไม่ทาให้น้าหนัก แห้งเพิ่มขึ้น 2.สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข้าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างที่ถูกยับยั้งด้วยตายอด เจริญออกมาได้ สิ่งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากอัตราส่วนระหว่างไซโตไคนินต่อออกซิน ออกซินจากตายอด จะถูกขนส่ง ลงไปยังตาข้างเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโต ทาให้ยอดยาวขึ้น แต่ไม่แตกกิ่งใหม่ ในขณะที่ไซโตไคนินจะเคลื่อนที่ จากรากขึ้นมายังยอด และจะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญของตาข้าง ถ้าตัดตายอดออกไป ตาข้างจะไม่ถูกยับยั้งและ จะเจริญออกมาได้พืชจึงเจริญออกทางด้านข้างมากขึ้น ถ้าให้ออกซินที่รอยตัด การเจริญของตาข้างยังคงถูกยับยั้ง ต่อไป 3.การชะลอการชรา ความชราของพืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของเซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟิลล์ RNA โปรตีน และไขมัน การชะลอความชราของออกซินเกิดขึ้นโดยการป้ องกันการสลายตัวของโปรตีน กระตุ้นการ
  • 6. สังเคราะห์โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายังเนื้อเยื่อ ไซโตไคนินสนับสนุนการเกิดคลอโรฟิลล์และการเปลี่ยน อีทิโอพลาสต์ไปเป็นคลอโรพลาสต์ 4.ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลต่อการเจริญของลาต้นและราก การตัดรากออกไปจะทาให้การ เจริญเติบโตของลาต้นหยุดชะงัก 5.การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไม่กระทบต่ออัตราการ ขยายตัวของเซลล์ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แต่ไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจาเป็นในการรักษากิจกรรมของ เนื้อเยื่อเจริญที่ปลายยอด 6.ทาลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได้ เช่น ผักกาดหอม สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้นน้อยที่สุด(low dose) มีผลต่อลาต้นเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย ฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้นน้อยที่สุด(low dose) จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนไซโทไคนินมีผลต่อการเจริญเติบโต(ความสูง)ของต้นแก้วหรือไม่อย่างไร ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมน ตัวแปรตาม : ความสูงของต้นแก้ว ตัวแปรควบคุม : จานวนครั้งในการฉีดฮอร์โมน ปริมาณน้าที่รด ปริมาณแสงที่ได้รับ รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 1. ต้นแก้ว 9 ต้น แบ่งเป็นกลุ่มละ 3 ต้น 2. ฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 10% และ 70% 3. น้าเปล่า
  • 7. 4. หลอดฉีดขนาด 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร 5. กระบอกฉีดฮอร์โมน 3 กระบอก 6. ไม้บรรทัด 7. ขวดน้าสาหรับรดน้าต้นไม้ ระยะเวลาในการทดลอง วันที่ 8 มิ.ย. 2560 – 2 ส.ค. 2560 วิธีการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลโดยการวัดความสูงของต้นแก้วทั้ง 9 ต้นโดยใช้ไม้บรรทัดและสายวัด แล้วบันทึกผลลงใน ตารางบันทึกผล โดยเริ่มจากวันที่ 8 มิ.ย. 60 ถึง 2 ส.ค. 60 ขั้นตอนการทดลอง 1.ใช้หลอดฉีดยา ฉีดฮอร์โมนลงในกระบอกฉีดที่มีน้าอยู่แล้วในปริมาณที่เหมาะสม ในความเข้มข้น 0% 70% และ 10% ตามลาดับ 2.รดน้าต้นไม้ด้วยน้า 3.ฉีดสารละลายฮอร์โมนในกลุ่มการทดลองที่ได้แบ่งไว้ 4.วัดความสูงของต้นไม้ด้วยไม้บรรทัด 5.จดบันทึก
  • 8. ผลการทดลอง *หมายเหตุ ความสูงที่ลดลงเกิดจากต้นไม้เกิดการหักเพราะพายุฝน **หมายเหตุ วันที่8มิ.ย.60 ยังไม่มีการฉีดฮอร์โมน วันที่ทา การ ทดลอง ความสูง(cm) ชุดควบคุมความเข้มข้น(0%) ชุดhigh dose(70%) ชุด low dose (30%) ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 เฉลี่ย 8มิ.ย.60 34 58 45 45 33 30 24 29 48 44 37 43 18มิ.ย.60 36 58 48 47.33 37 37 25 33 24* 44 45 37.67 20มิ.ย.60 38 60 60 52.67 50 38 25* 37.67 27 37 50 38 27มิ.ย.60 38.5 59 60 52.5 30 44 40 38 30 60 25* 38.33 4ก.ค.60 33* 56.5 70 53.17 30 47 43 40 37 70 25 44 2ส.ค.60 30* 60 39.5* 53.17 34 50 48 44 41 80 25* 48.67 ค่าเฉลี่ย 34.9 58.25 53.75 43.17 38 41 34.17 48.67 34.5 56 34.5 48.67 ค่าเฉลี่ย ส่วนต่าง ความสูง -2.83 19.67 5.67
  • 10. สรุปและข้อเสนอแนะ ระดับความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อความสูงของต้นแก้วที่สุดคือ ระดับhigh dose โดยีความสูงเฉลี่ยคือ48.67 และความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง 19.67 cm ข้อเสนอแนะ มีดังนี้ 1.ตาแหน่งที่จัดวางต้นไม้ควรมีความเหมาะสม ไม่ให้เกิดการโค่นลงได้ง่ายๆ 2.ระมัดระวังเรื่องการฉีดฮอร์โมนให้ต้นได้รับ