SlideShare a Scribd company logo
1 of 131
Download to read offline
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน 2554 Vol. 5 No. 1 January-June 2011 ISSN 1905-159x

                                                       Contents
บทความพิเศษ                                                           u   ฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของน้ำมันรำข้าวต่อเซลล์มะเร็งตับ
u Florence Nightingale        สตรีนักปฏิรูปสังคม                          Antiproliferative Effect of Rice Bran Oil to Liver Cancer Cells
    ศ. ดร สุทัศน์ ยกส้าน                                                  ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ,
                                                                          พรรณนารี ชัยวิชิต
บทความวิชาการ                                                         u   การบริหารความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงานของ
u   การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม                                    พนักงาน กรณีศึกษา : สายการผลิตรถเข็นสแตนเลส
    Industrial Risk Management
                                                                          Safety Risk Management for Production Operators
    จิตลดา ซิ้มเจริญ และนิศากร สมสุข
                                                                          Case Study: Stainless Steel Cart Production Line
u   ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มีผลต่อความแม่นยำ                            จ ิ ต ลดา ซ ิ ้ ม เจร ิ ญ
    ในการระบุพิกัดของระบบ GPS                                         u   การศึกษาผลของค่าความต้านทานดินต่อประสิทธิภาพตัวนำ
    The Ionospheric Effect to Accuracy of GPS System
    สราวุธ นนทะสุด
                                                                          ล่อฟ้า
                                                                          Study on Earth Resistance to Air-termination Efficiency
บทความวิจัย                                                               ธนากร น้ำหอมจันทร์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และพงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ
u   รูปแบบการเลี้ยงดูของมารดาเด็กคลอดก่อนกำหนด อายุ                   u   การศึ ก ษาการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของท่ อ ความร้ อ นโดยการ
    0-1 ปี                                                                ปรับเปลี่ยนสารทำงาน
    Patterns of Mothers Raising Children Born Prematurely                 Thermal Efficiency Enhancement of Heat Pipe by
    Aged 0-1 year.                                                        Change Working Fluids
    ชญานิกา ศรีวิชัย                                                      ธีรพงศ์ บริรักษ์* และ สมบัติ ทีฆทรัพย์**
u   ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศ               u   การวิ จั ย สื่ อ การสอนเรื่ อ งการประกอบคอมพิ ว เตอร์ โ ดยใช้
    องค์การ และประสิทธิผลของหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาล
                                ้ ่           ้                           รูปแบบของ IMMCAI
    ในโรงพยาบาลอุทัยธานี                                                  Researching of Teaching Media: Computer Integration
    Nurses’ Perception of their Head Nurse Transformational               Using Interactive Multimedia Computer Assisted
    Leadership, Organizational Climate and Ward Effectiveness             Instruction
    in Uthaithanee Hospital                                               ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย, ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ
    น้อมจิตต์ จันทร์น้อย                                              u การสร้างระบบการตัดสินใจของปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่ง
u   เจตคติและพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2                         สำหรับผลิตภัณฑ์หลายประเภทและกำหนดเวลาการขนส่ง
    คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย                            Developing Decision Support System of Multi-Product
    หลังการศึกษาวิชาภูมิปัญญาไทยและการดูแลสุขภาพ                          Vehicle Routing Problem with Discrete Shipping Time
    Attitude and Health Behavior of Nursing Students in                   อัญชลี สุพิทักษ์, นัฐมา ชูกลิ่น, ศาริยา ขิระทาน
    the Second Year of School of Nursing, Eastern Asia                u   การศึกษาการวัดโคโรนาดีสชาร์จจากการทดสอบฉนวนแข็ง
    University after Studying in Subject of Thai Traditional              ตามมาตรฐาน IEC 60243-1
    Wisdom and Health Care                                                A Studying Corona Discharge Measurement for Solid
    อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์, กานต์สุดา ปลาทอง, เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น       Insulator Test According to IEC 60243-1 Standard
u   การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของผลิตภัณฑ์น้ำมัน                   อติกร เสรีพัฒนานนท์, พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ และ ธนากร น้ำหอมจันทร์
    รำข้าว                                                            แนะนำหนังสือ
    Cytotoxicity Test on Cancer Cells of Rice Bran and Germ Oil       u   ดีไซน์ + คัลเจอร์ 3
    ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ,           *ผศ.บุษยมาส สินธุประมา
    พรรณนารี ชัยวิชิต
                                                                      u   ชีวิตนี้สำคัญนัก
                                                                          สุภกัญญา ชวนิชย์
เพียงความเคลื่อนไหว

ชั่วเหยี่ยวกระหยับปีกกลางเปลวแดด                       สี่สิบปีเปล่าโล่งตลอดย่าน
ร้อนที่แผดก็ผ่อนเพลาพระเวหา                            สี่สิบล้านไม่เคยเขยื้อนขยับ
พอใบไม้ไหวพลิกรอกริกมา                                 ดินเป็นทรายไม้เป็นหินจนหักพับ
ก็รู้ว่าวันนี้มีลมวก                                   ดับและหลับตลอดถ้วนทั้งตาใจ

เพียงกระเพื่อมเลื่อมรับวับวับไหว                       นกอยู่ฟ้านกหากไม่เห็นฟ้า
ก็รู้ว่าน้ำใสใช่กระจก                                  ปลาอยู่น้ำย่อมปลาเห็นน้ำไม่
เพียงแววตาคู่นั้นหวั่นสะทก                             ไส้เดือนไม่เห็นดินว่าฉันใด
ก็รู้ว่าในหัวอกมีหัวใจ                                 หนอนย่อมไร้ดวงตารู้อาจม

โซ่ประตูตรึงผูกถูถกระชาก                               ฉันนั้นความเปื่อยเน่าเป็นของแน่
เสียงแห่งความทุกข์ยากก็ยิ่งใหญ่                        ย่อมเกิดแก่ความนิ่งทุกสิ่งสม
สว่างแวบแปลบพร่ามาไรไร                                 แต่วันหนึ่งความเน่าในเปือกตม
ก็รู้ได้ว่าทางยังพอมี                                  ก็ผุดพรายให้ชมซึ่งดอกบัว

มือที่กำหมัดชื้นจนชุ่มเหงื่อ                           และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ
ก็ร้อนเลือดเดือดเนื้อถนัดถนี่                          เป็นความงดความงามใช่ความชั่ว
กระหืดหอบฮวบล้มแต่ละที                                 มันอาจขุ่นอาจข้นอาจหม่นมัว
ก็ยังดีที่ได้สู้ได้รู้รส                               แต่ก็เริ่มจะเป็นตัวจะเป็นตน

นิ้วกระดิกกระเดี้ยได้พอให้เห็น                         พอเสียงร่ำรัวกลองประกาศกล้า
เรี่ยวแรงที่แฝงเร้นก็ปรากฏ                             ก็รู้ว่าวันพระมาอีกหน
ยอดหญ้าแยงหินแยกหยัดระชด                               พอปืนเปรี้ยงแปลบไปในมณฑล
เกียรติยศแห่งหญ้าก็ระยับ                               ก็รู้ว่าประชาชนจะชิงชัย.


                                 โดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
บทกวีรางวัล S.E.A. Write Award (วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน ปี 2523)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถนายน 2554 Vol. 5 No. 1 January-June 2011 ISSN 1905-159x
                                       ุ


วัตถุประสงค์	     1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานและทรรศนะทางวิชาการ
	          	      2. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการสืบค้นและอ้างอิงผลงานทางวิชาการ
	          	      3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา
เจ้าของ	 	        มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ที่ปรึกษา 	       อธิการบดี ดร. โชติรัส ชวนิชย์
	          	      รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน อาจารย์สุภกัญญา ชวนิชย์
	          	      รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุษยมาส สินธุประมา
คณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ (Editorial advisory board)
	          	      ศาสตราจารย์ ดร. อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์ ราชบัณฑิต	 	           ศาสตราจารย์จงจิตร์ หิรัญลาภ
	          	      ศาสตราจารย์ พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิ ไลกูล	 	           	       รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต
	         	       รองศาสตราจารย์ ดร. บุญมี เณรยอด	 	                  	       รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี
	         	       รองศาสตราจารย์ เพลินทิพย์ โกเมศโสภา
บรรณาธิการ	       รองศาสตราจารย์ ดร. พิมลพรรณ เรพเพอร์
กองบรรณาธิการ	 รองศาสตราจารย์ ดร. พิมลพรรณ เรพเพอร์ 	                 	       รองศาสตราจารย์ ดร. อัมพร ศรีเสริมโภค
	         	       รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์		             	       รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ทีฆทรัพย์
	         	       รองศาสตราจารย์ ดร. ทองหล่อ เดชไทย	 	                	       รองศาสตราจารย์ ดร. ประกอบ คุณารักษ์
	         	       รองศาสตราจารย์ ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์		              	       รองศาสตราจารย์ ประณต นันทิยะกุล
	         	       ดร. กฤติมา เหมวิภาต
เลขานุการ	        	                นางสาวอรพินท์ ลูกอินทร์
ออกแบบปก/ จัดรูปเล่ม	      อาจารย์วิลาวรรณ สุขมาก		                   	       นางสาวอรพินท์ ลูกอินทร์
กรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ    รองศาสตราจารย์ ดร. ธนาคม สนทรชยนาคแสง	 รองศาสตราจารย์ ดร. ปิติเขต สู้รักษา
                                                               ุ ั
	         	       	               รองศาสตราจารย์ ดร. วีระเชษฐ์ ขันเงิน	       รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ฑีฆทรัพย์
	         	       	               ดร. วรวรรณ กิจผาติ	 	               	       รองศาสตราจารย์ ดร. สุจิตรา ทองประดิษฐ์ โชติ
	         	       	               รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรรณา วรรัตน์	         รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร ชุติมาสกุล
	         	       	               ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรฤดี เนติ โสภาสกุล	 รองศาสตราจารย์ ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร
	         	       	               ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา
พิสูจน์อักษรประจำฉบับ	      รองศาสตราจารย์ ดร. อัมพร ศรีเสริมโภค	 อาจารย์ธนอร อัศวงศ์
	         	       	               อาจารย์สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม		        	       นางสาวทิพย์รัตน์ พานะจิตต์
			                                Associate Professor Dr. Sushama Kasbekar
บทบรรณาธิการ




	          ในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมามีเหตุการณ์ที่น่าสลดใจและน่าดี ใจเกิดขึ้นหลายประการทั้งที่เป็นภัยธรรมชาติ ภัยจาก
มนุ ษ ย์ แ ละจากเหตุ ก ารณ์ ส ำคั ญ ทางการเมื อ งและเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ สำหรั บ นั ก วิ ช าการ
ในมหาวิทยาลัย ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น เราต่างมุ่งทำหน้าที่ที่มีต่อ สถาบันการศึกษาอย่างดีที่สุดตามความสามารถของ
แต่ละคน บรรณาธิการขอเรียนผู้อ่านว่าวารสารวิชาการ EAU Heritage ของมหาวิทยาลัยอิสเทร์นเอเชียได้เติบโต
ย่างก้าวเข้าสู่ ปีที่ 5 แล้ว ทางกองบรรณาธิการมีความตั้งใจที่จะทำให้กระบวนการผลิตวารสารมีความเป็นมาตรฐานมากขึ้น
จึงได้แยกการจัดทำวารสารออกตามเนื้อหาเป็นสองฉบับคือ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและฉบับมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ ทางวารสารได้รับความกรุณาจากผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านร่วมเป็นคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ และ
หลายท่านเป็นกรรมการผู้อ่านบทความ (peer readers) เพื่อช่วยตรวจแก้และแนะนำให้การเขียนมีคุณภาพยิ่งขึ้น
	          วารสารวิชาการ EAU Heritage ฉบับปีที่ 5 เล่มหนึ่งปี 2554 ที่ท่านอ่านอยู่นี้เป็นเล่มที่รวบรวมบทความ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีบทความทางวิชาการหนักไปในทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิศวกรรมศาสตร์
บทความในเล่มประกอบด้วยบทความทางวิชาการ 2 เรื่อง บทความวิจัย 11 เรื่อง นอกจากนั้นยังมีบทแนะนำหนังสือ
ที่น่าสนใจสองเรื่องที่ทางกองบรรณาธิการเห็นว่าน่าจะช่วยให้ท่านได้ผ่อนคลายจากปํญหาต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจำวัน
ได้บ้าง ขอขอบพระคุณท่านศาสตราจารย์ ดร. สุทัศน์ ยกส้านอย่างยิ่งที่ ได้ให้ความกรุณาเขียนบทความเกี่ยวกับ
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกลให้วารสารของเราเป็นการเปิดตัวฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างภาคภูมิ ใจ
	          ขอขอบคุณท่านผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ช่วยวิจารณ์และแนะนำการแก้ไขบทความทุกเรื่องที่ตีพิมพ์ ในฉบับนี้
ท้ายนี้ขอเชิญชวนนักวิชาการที่สนใจส่งบทความวิชาการและบทความวิจัยมาตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิชาการของ
มหาวิทยาลัยอิสเทร์นเอเชียในฉบับต่อไป

	       	        	        	        	       	        	        	        	       	        	             บรรณาธิการ
แนะนำผู้เขียน




ศ. ดร. สุทัศน์ ยกส้าน
	        ศาสตราจารย์ 11 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ (ประสานมิตร)
	        ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
	        ภาคีสมาชิก สาขาฟิสิกส์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน
จิตลดา ซิ้มเจริญ
	        อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
นิศากร สมสุข
	        อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
สราวุธ นนทะสุด
	        อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ชญานิกา ศรีวิชัย
	        อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทร์นเอเชีย
น้อมจิตต์ จันทร์น้อย
	        นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์
	        อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
กานต์สุดา ปลาทอง
	        อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น
	        อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
รศ. ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์
	        คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
รุ้งตะวัน สุภาพผล
	        อาจารย์ประจำ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ
แนะนำผู้เขียน




วรอนงค์ พฤกษากิจ
	       อาจารย์ประจำ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
พรรณนารี ชัยวิชิต
	       อาจารย์ประจำ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ธนากร น้ำหอมจันทร์
	       อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
อติกร เสรีพัฒนานนท์
	       อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ
	       อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ธีรพงศ์ บริรักษ์
	       อาจารย์ประจำ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
รศ.ดร.สมบัติ ทีฆทรัพย์
	       รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา และ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย
	       อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ
	       อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
อัญชลี สุพิทักษ์
	       อาจารย์ประจำ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
นัฐมา ชูกลิ่น
	       นักศึกษา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ศาริยา ขิระทาน
	       นักศึกษา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
แนะนำผู้เขียน




ผศ.บุษยมาส สินธุประมา
	      รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
อาจารย์สุภกัญญา ชวนิชย์
	      รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน และ รักษาการ ผู้อำนวยการสำนักการคลังและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัย
	      อีสเทิร์นเอเชีย
สารบัญ




บทความพิเศษ
u   Florence Nightingale สตรีนักปฏิรูปสังคม	   	     	       	       	      	       	              1
    ศ. ดร สุทัศน์ ยกส้าน
บทความวิชาการ
u การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม	 	       	      	        	     	       	       	              8
  Industrial Risk Management
  จิตลดา ซิ้มเจริญ และนิศากร สมสุข
u ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มีผลต่อความแม่นยำในการระบุพิกัดของระบบ GPS	      	       	            17
  The Ionospheric Effect to Accuracy of GPS System
  สราวุธ นนทะสุด
บทความวิจัย
u รูปแบบการเลี้ยงดูของมารดาเด็กคลอดก่อนกำหนด อายุ 0-1 ปี	 	           	       	      	           26
  Patterns of Mothers Raising Children Born Prematurely Aged 0-1 year.
  ชญานิกา ศรีวิชัย
u ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย	          32
  ตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลอุทัยธานี
  Nurses’ Perception of their Head Hurse Transformational Leadership, Organizational Climate
  and Ward Effectiveness in Uthaithanee Hospital
  น้อมจิตต์ จันทร์น้อย
u เจตคติและพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย	      41

  หลังการศึกษาวิชาภูมิปัญญาไทยและการดูแลสุขภาพ
  Attitude and Health Behavior of Nursing Students in the Second Year of School of
  Nursing, Eastern Asia University after Studying in Subject of Thai Traditional
  Wisdom and Health Care
  อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์, กานต์สุดา ปลาทอง, เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น
สารบัญ




u การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของผลิตภัณฑ์น้ำมันรำข้าว	 	      	          	   	        48
  Cytotoxicity Test on Cancer Cells of Rice Bran and Germ Oil
  ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, พรรณนารี ชัยวิชิต
u ฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของน้ำมันรำข้าวต่อเซลล์มะเร็งตับ 	     	   	          	   	        56
  Antiproliferative Effect of Rice Bran Oil to Liver Cancer Cells
  ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, พรรณนารี ชัยวิชิต
u การบริหารความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน 	 	        	          	   	        68
  กรณีศึกษา: สายการผลิตรถเข็นสแตนเลส
  Safety Risk Management for Production Operators Case Study: Stainless
  Steel Cart Production Line
  จิตลดา ซิ้มเจริญ
u การศึกษาผลของค่าความต้านทานดินต่อประสิทธิภาพตัวนำล่อฟ้า	      	   	          	   	        76
  Study on Earth Resistance to Air-termination Efficiency
  ธนากร น้ำหอมจันทร์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และพงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ
u การศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพของท่อความร้อนโดยการปรับเปลี่ยนสารทำงาน	
                                                                    	          	   	        85
  Thermal Efficiency Enhancement of Heat Pipe by Change Working Fluids
  ธีรพงศ์ บริรักษ์ และ สมบัติ ทีฆทรัพย์
u การวิจัยสื่อการสอนเรื่องการประกอบคอมพิวเตอร์ โดยใช้รูปแบบของ IMMCAI	         	   	        91
  Researching of Teaching Media: Computer Integration Using Interactive
  Multimedia Computer Assisted Instruction
  ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย, ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ
u การสร้างระบบการตัดสินใจของปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งสำหรับผลิตภัณฑ์หลายประเภท	   	        99
  และกำหนดเวลาการขนส่ง
  Developing Decision Support System of Multi-Product Vehicle Routing
  Problem with Discrete Shipping Time
  อัญชลี สุพิทักษ์, นัฐมา ชูกลิ่น, ศาริยา ขิระทาน
สารบัญ




u การศึกษาการวัดโคโรนาดีสชาร์จจากการทดสอบฉนวนแข็งตามมาตรฐาน IEC 60243-1	   	       105
  A Studying Corona Discharge Measurement for Solid Insulator
  Test According to IEC 60243-1  Standard
  อติกร เสรีพัฒนานนท์, พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ และ ธนากร น้ำหอมจันทร์
แนะนำหนังสือ
u ดี ไซน์ + คัลเจอร์ 3	 	   	      	      	      	      	      	      	    	       113
  ผศ.บุษยมาส สินธุประมา
u ชีวิตนี้สำคัญนัก	     	   	      	      	      	      	      	      	    	       116
  สุภกัญญา ชวนิชย์
Florence Nightingale
                                                สตรีนักปฏิรูปสังคม

                                                                                                      *ศ.ดร สุทัศน์ ยกส้าน

                                                                    เมองทีคลอด เธอมพีสาวชือ Parthenope (ตังตามชือเมอง
                                                                      ื ่             ี ่ ่                    ้     ่ ื
                                                                    Parthe) ครอบครัวมีฐานะดี และเป็นคนได้รบการศึกษาสูง
                                                                                                            ั
                                                                    ในวัยเด็กเธอจึงได้รับการเลี้ยงดูในคฤหาสน์ และได้เรียน
                                                                    ดนตรกบภาษาตางประเทศเชน อตาเลยน ละตน กรก รวมถง
                                                                         ีั         ่          ่ ิ ี          ิ ี            ึ
                                                                    ปรัชญาและคณิตศาสตร์ด้วย
                                                                    	        ถงจะไดทกสงทกอยางที่ใจตองการ แตเ่ ธอกรสกวา
                                                                              ึ ้ ุ ิ่ ุ ่             ้              ็ ู้ ึ ่
                                                                    เธอกำลังใช้ชีวิตอย่างไร้จุดหมาย จนกระทั่งอายุ 17 ปี
                                                                    เธอบอกว่า เธอได้ยินเสียงพระเจ้าทรงเรียกให้เธอทำสิ่งที่
                                                                    พระองค์ทรงต้องการ เมื่อได้เดินทางไปพักผ่อนในยุโรป
                                                                    กับครอบครัว ชีวิตเมืองนอกได้เปิดหู เปิดตาเธอมาก
                                                                    และขณะแวะพกที่โรม เธอไดเ้ หนชวตของคนไขทนอนปวย
                                                                                  ั               ็ ีิ           ้ ี่ ่


	         Florence Nightingale คือ ผู้บุกเบิกอาชีพ
พยาบาลด้วยการปฏิรปทังวิชาพยาบาล และโรงพยาบาลด้วย
                     ู ้
แตมอกบทบาทหนึงของเธอทีเ่ ราไมรู้ นันคอ เธอเปนบคคล
   ่ีี            ่               ่ ่ ื            ็ ุ
แรกๆ ที่นำวิชาสถิติมาวิเคราะห์และแก้ปัญหาสังคม
	        Florence Nightingale เกิดที่เมือง Florence
ในอิตาลี เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ.1820 (ตรงกับ
รัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) พ่อแม่จึงตั้งชื่อเธอตามชื่อ

* ศาสตราจารย์ 11 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ (ประสานมิตร)
  ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  ภาคีสมาชิก สาขาฟิสิกส์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน

                                                                                                                         1
ในโรงพยาบาล และเมื่อได้เยี่ยมโรงพยาบาล Deaconess                 คอ เธอตองครองตวโสด จากนัน Nightingale ก็ไดพยายาม
                                                                   ื         ้                ั      ้                  ้
Institute แห่งเมือง Kaiserwerth ในเยอรมนี เธอได้เห็น             หาทางออกให้กับความขัดแย้งระหว่า งเธอกับแม่ โดย
สภาพอเน็จอนาถของสถานพยาบาล ประสบการณ์นี้มีผล                     ทำงานการกุศลมากขึ้น เช่น ช่วยเหลือเด็กยากจนในสลัม
ทำใหเ้ ธอตดสนใจจะเปนนางพยาบาล เพือจะทำใหคนปวย
               ั ิ         ็                  ่          ้ ่     และไปเยี่ยมคนไข้อนาถาในโรงพยาบาล (ในสมัยนั้นคนไข้
ได้รับการพยาบาลที่ดียิ่งขึ้น                                     ทีรำรวยจะมีญาติผหญิงดูแลดีทบาน) แต่กยงตังความหวังว่า
                                                                     ่่                    ู้          ี่ ้     ็ั ้
	             การตัดสินใจของเธอวัย 27 ปี ได้ทำให้พ่อแม่          วันหนึ่งเธอจะต้องเป็นนางพยาบาลให้จงได้ เธอจึงอ่าน
รูสกชอก เพราะในสมยนันสตรดมสองหนาที่ คอ เปนภรรยา
  ้ึ ็                   ั ้ ีีี             ้ ื ็               หนังสือแพทย์และสาธารณสุขในยามว่างเป็นการเตรียมตัว
และคลอดลูก ดังนั้นการมีอาชีพอื่นถือเป็นเรื่องผิดปกติ             	             ปี ค.ศ.1851 Nightingale วัย 31 ปี ได้เดินทาง
ยิ่งถ้าเป็นนางพยาบาลด้วยแล้ว พ่อกับแม่ต้องจับลม มิใช่            ไปทัศนศึกษาในเยอรมนีเป็นเวลา 3 เดือน โดยได้เยี่ยมชม
เพราะโรงพยาบาลในยุคนั้นสกปรก และมีแต่คนพิการกับ                  โรงพยาบาลกบสถานเลยงเดกกำพราแหงเมอง Dusseldorf
                                                                                     ั          ี้ ็        ้ ่ ื
คนป่วยเท่านั้น บรรดานางพยาบาลในสมัยนั้นยังเป็นคนที่              ขากลับอังกฤษเธอเดินทางผ่านฝรั่งเศสและได้สมัครเป็น
ไม่ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษา มี นิ สัย ชอบขโมย พูด จาหยาบคาย         นางพยาบาลฝึกงานที่ โรงพยาบาล Sister of Charity
กินเหล้า และสำส่อนทั้งกับคนไข้และคนไม่ ไข้ ดังนั้น               ในปารีส และนี่คือจุดเริ่มต้นของอาชีพในฝันของเธอ
เมื่อมารดา Fanny ของ Nightingale รู้ว่าลูกสาวต้องการ             	             ลถงปี ค.ศ.1853 Nightingale ไดงานเปนเจาหนาที่
                                                                                ุึ                              ้ ็ ้ ้
จะเป็นนางพยาบาล เธอจึงคิดว่าลูกของเธอคงเสียสติ                   ดูแลนางพยาบาลที่ Institute for the care of sick
ไปแล้ ว และร่ ำ ไห้ พ ร้ อ มกล่ า วตำหนิ ว่ า Nightingale        Gentlewoman ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ ถ นน Upper Harley
ได้ทำให้เธอผิดหวังมาตั้งแต่เกิด เพราะเป็นผู้หญิงจึงไม่           ในลอนดอน โดยมี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ ปรั บ ปรุ ง ระบบ
มีสิทธิ์ ในการสืบทอดวงศ์ตระกูล อย่างไรก็ตาม Fanny                การทำงานในโรงพยาบาล ทั้งๆ ที่ไม่มีเงินเดือนให้ แต่เธอ
ก็ ได้คาดหวังว่าถ้า Nightingale ได้พบชายหนุ่มรูปงาม              ก็ยินดีทำงานในตำแหน่งนี้นาน 1 ปี
เธอก็อาจเปลี่ยนใจ ด้าน William Edward Nightingale                	             เมื่ อ เกิ ด สงคราม Crimea ระหว่ า งกองทั พ
ผูเ้ ป็นบิดานัน เข้าใจลูกสาวของตนดีกว่าแม่ จึงนำความคิด
                ้                                                สัมพันธมิตรซึ่งประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส และตุรกี
“พิเรนทร์” ของ Nightingale ไปปรึกษากับแพทย์ประจำ                 กับกองทัพรัสเซีย การสูรบในวันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1854
                                                                                                  ้
ตระกูลเพื่อขอความเห็นว่า อาชีพพยาบาลจะเหมาะกับ                   ที่แม่น้ำ Alma ทำให้กองทัพสัมพันธมิตรสามารถยึด
ลูกสาวสวยของมหาเศรษฐีที่ดินหรือไม่ และแพทย์ ให้                  ฐานทพเรอของรสเซยทีเ่ มอง Sevastopol ได้ แตประชาชน
                                                                        ั ื             ั ี ื                         ่
ความเห็นว่า Nightingale เป็นคนที่มี ใจเด็ดเดี่ยวและ              อังกฤษกลับรู้สึกดี ใจกับข่าวชัยชนะนี้ ได้ไม่นาน เพราะ
มุ่งมั่น ถ้าเธอไม่แต่งงานเธอคงใช้ชีวิตเป็นนางพยาบาล              William Howard แห่ ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ The Times
ตามที่เธอตั้งใจแน่ๆ ดังนั้น เมื่อมีชายหนุ่มชื่อ Richard          ได้รายงานในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.1854 ว่า ทหารอังกฤษ
Monkton Milnes มาสนใจเธอ บดามารดาของ Nightingale
                                      ิ                          ที่บาดเจ็บได้ถูกทอดทิ้งให้นอนตาย โดยไม่มีแพทย์สักคน
จึงรู้สึกดี ใจและมีความคาดหวังว่า Milnes จะขอเธอ                 เหลียวแล และไม่มีนางพยาบาลอาชีพที่เก่งในโรงพยาบาล
แต่ ง งาน แต่ ห ลั ง จากที่ ไ ด้ ไ ปมาหาสู่ กั น เป็ น เวลานาน   ทหารของอังกฤษที่เมือง Scutari เลย ในขณะที่กองทัพ
Nightingale ได้บอกเลิก Milnes โดยอ้างว่า การแต่งงาน              ฝรั่งเศสมีแม่ชี 50 คน มาเฝ้าดูแลทหารฝรั่งเศสที่บาดเจ็บ
คอการตองทำงานรบใชครอบครวตลอดเวลา ซงในความเหน
  ื         ้          ั ้          ั             ึ่         ็   และข่าวที่นับว่าร้ายที่สุดคือ Howard หาคนที่รับผิดชอบ
ของเธอนี่คือการติดคุก ทั้งๆ ที่ไม่ ได้ทำอะไรผิด และเมื่อ         เรื่องนี้ ไม่ ได้เลยด้วย
พระเจ้าทรงปรารถนาให้เธอทำงานรับใช้สังคม เธอจึง                   	             ทันทีที่ทราบข่าวนี้ Nightingale รู้ว่าโอกาสทอง
คิดว่าหนทางเดียวที่จะทำให้เธอมีชีวิตอยู่เพื่อคนอื่นได้           ของเธอที่จะได้ทำงานรับใช้พระเจ้าและสังคมได้มาถึงแล้ว


   2
ต้องเข้ารับ “การรักษา” หลังจากที่ได้พยุงร่างเดินทางข้าม
                                                                     Black Sea ผ่านช่องแคบ Bosphorus อย่างอ่อนแรง
                                                                     เพราะพิษบาดแผล และถูกความหนาวคุกคาม เหตุการณ์
                                                                     และสภาพแวดล้อมเหล่านี้ทำให้ทหารอังกฤษล้มตายกัน
                                                                     ระนาว สถิติการรอดชีวิตของทหารประจำเดือนกุมภาพันธ์
                                                                     ค.ศ.1854 แสดงใหเ้ หนวา จากทหาร 1,000 คน ทีเ่ ดนทาง
                                                                                              ็ ่                               ิ
                                                                     ถึง Scutari มีทหารตาย 427 คน
                                                                     	           ในความพยายามที่จะทำให้โรงพยาบาลที่ Scutari
เธอจึงเขียนจดหมายถึงเพื่อนชื่อ Sidney Herbert ซึ่ง                   มี คุ ณ ภาพ Nightingale จะต้ อ งแสดงความสามารถ
ขณะนั้นเป็นรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของอังกฤษว่า เธอ                     ในการเป็นผู้บริหาร แต่ ได้รับการต่อต้านขัดขวางจากฝ่าย
ขออาสาเดิ น ทางไปรั ก ษาพยาบาลทหารอั ง กฤษที่ เ มื อ ง               ทหาร ซึ่ ง ยึ ด หลั ก การว่ า เมื่ อ ใดที่ มี ก ารเปลี่ ย นแผน
Scutari เมื่อ Herbert อนุญาต เขาได้ขอให้เธอช่วยฝึก                   ปฏิบัติการ นั่นคือการยอมรับว่า ประเพณีและวิธีปฏิบัติ
นางพยาบาลเพิ่มอีกหลายคน เพื่อจะได้ตามไปช่วยเธอ                       ที่ ผ่ า นมาล้ ว นผิ ด พลาด นอกเหนื อ จากเหตุ ผ ลนี้ แ ล้ ว
ดูแลทหารบาดเจ็บที่นั่น                                               นายพลในกองทัพก็รู้สึกไม่ยินดีที่ Nightingale เป็น
	          Nightingale เดินทางไปตุรกีในวันที่ 31 ตุลาคม              พลเรือน เพราะการไม่เป็นทหารทำให้เธอไม่อยู่ ในความ
ค.ศ.1853 โดยมี “กองทัพนางพยาบาล” ร่วมขบวนด้วย                        ควบคุมของกองทัพ แต่เหตุผลที่สำคัญยิ่งกว่านั้น คือ
38 คน การเดินทางครั้งนั้นได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐบาล                  การที่เธอเป็นผู้หญิง ด้วยเหตุนี้เวลา Nightingale ทำงาน
อังกฤษและจากหนังสือพิมพ์ The Times ส่วนเธอไม่ ได้                    ที่ Scutari เธอจึงรู้สึกมีศัตรูมากมาย และถูกกลั่นแกล้ง
รั บ ทุ น สนั บ สนุ น ใดๆ จากกองทั พ เลย และเธอได้ ตั้ ง             เช่น กองทัพกำหนดให้นำเสื้อทหาร 27,000 ตัวไปให้
ความหวังว่า การทำงานชิ้นนี้จะทำให้ความฝันของเธอ                      กองทั พ ตรวจดู อ ย่ า งละเอี ย ดก่ อ นนำแจกให้ ท หารที่
ที่จะรับใช้สังคมเป็นจริง                                             บาดเจ็บใส่ และเธอถูกห้ามเยี่ยมทหารบาดเจ็บในเวลา
	          เมื่ อ Nightingale กั บ บรรดานางพยาบาล                    กลางคืน แต่เธอได้ทุนสนับสนุนจากองค์การอิสระ ทำให้
เดินทางถึง Scutari ในตุรกี เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน                   ไม่ต้องขออนุญาตทำงานจากทหาร เธอจึงสามารถทำงาน
ค.ศ.1853 ในวั น นั้ น กองทั พ สั ม พั น ธมิ ต รได้ สู้ ร บกั บ       ที่เธอรักต่อไปได้ และก็ได้จัดตั้งโรงซักรีดผ้า โดยหาหม้อ
กองทัพรัสเซียที่ Inkersmam อย่างดุเดือด ทำให้ทหาร                    ต้มน้ำ สร้างโรงครัวใหม่ จัดซื้อถุงเท้า เสื้อ มีด ช้อนไม้
จำนวนมากบาดเจ็ บ ครั้ น เมื่ อ Nightingale ได้ เ ห็ น                อ่างอาบน้ำ โต๊ะ ชุดนอน โต๊ะผ่าตัด ผ้าเช็ดตัว หวี กรรไกร
โรงพยาบาลทหารที่ Scutari ตกอยู่ ในสภาพที่สกปรกสุดๆ                   ภาชนะรองปัสสาวะ รวมถึงการนำปลอกหมอนที่สะอาด
เช่ น ใต้ อ าคารมี น้ ำ ครำที่ ส่ ง กลิ่ น เหม็ น หึ่ ง เวลาลมพั ด   มาใช้ในโรงพยาบาล ในเวลาดึก เธอจะเดินถือตะเกียง
ในอาคารมีหนูวิ่งเพ่นพ่าน และในขณะเดียวกัน ทหาร                       ออกเยี่ยมไข้คืนละหลายครั้ง จนทำให้คนไข้ที่เคยมีแต่
ที่ป่วยและบาดเจ็บต้องนอนปะปนกันอย่างระเนระนาด                        ความทุกข์ ได้เห็นแสงสว่างแห่งความสุข เวลามีสุภาพสตรี
บนเสื่อฟาง ผ้าปูที่นอนก็หยาบและสกปรก การซักผ้า                       ท่านหนึ่งเดินถือตะเกียงมาเยี่ยม และนี่คือ เหตุการณ์ที่
ก็ใช้น้ำเย็น และอุปกรณ์ผ่าตัดต่างๆ ไม่เพียงพอ การแจก                 เหล่าทหารที่บาดเจ็บรู้สึกประทับใจ และซาบซึ้งใจมาก
จ่ายยาให้ผู้ป่วยก็ช้า เพราะต้องผ่านกระบวนการหลาย                     จนใน ค.ศ.1857 กวี William W. Longfellow ไดแตงบทกวี  ้ ่
ขนตอนจนทหารททนพษบาดแผลไม่ไดตองเสยชวตไปกอน
   ั้                 ี่ ิ                   ้้ ี ีิ ่               ที่ทำให้ชื่อของ Nightingale เป็นอมตะนิรันดร์กาลว่า Lo!
นี่คือสภาพของโรงพยาบาลที่ทหารอังกฤษผู้บาดเจ็บทุกคน                   In that house of misery / a lady with a lamp I see.


                                                                                                                             3
ในฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ.1855 ซึ่งเป็นเวลา                          แต่ก็สามารถบอกได้ว่าจะมีฆาตกรรมเกิดขึ้นประมาณ
6 เดือน หลังจากที่ Nightingale เริ่มทำงานที่ Scutari                          กี่ครั้งในปีนั้น เป็นต้น
สถิติการตายของทหารที่บาดเจ็บในสงครามได้ลดลงจาก                                	          แม้ ผ ลงานของ Quetelet จะเป็ น ที่ ย อมรั บ
42.7% เป็น 2.2%                                                               โดยทั่วไป แต่ก็มีปราชญ์หลายคนที่ไม่เห็นด้วย เช่น John
	           หลังจากที่สงคราม Crimea สงบได้ 4 เดือน                            Stewart Mill และนักประพันธ์ชื่อ Charles Dickens
Nightingale ได้เดินทางกลับอังกฤษในเดือนกรกฎาคม                                เพราะคนเหล่านี้คิดว่า จิตใจของมนุษย์มีเสรีภาพมาก
ค.ศ.1856 ขณะนั้ น เธอมี อ ายุ 36 ปี และมี ชื่ อ เสี ย ง                       จนไม่ น่ า จะมี ใ ครทำนายอะไรได้ ดั ง นั้ น ถ้ า สถิ ติ ข อง
โด่งดังไปทั่วโลก แต่เธอก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเกียรติยศใดๆ                          Quetelet ใช้ได้จริง วิทยาการนี้ก็จะทำให้มนุษย์มีสภาพ
เคยบอกว่า ถ้าอังกฤษจะให้เกียรติเธอจริง รัฐบาลอังกฤษ                           ไม่แตกต่างจากสัตว์
จำต้ อ งปฏิ รู ป ระบบการสาธารณสุ ข โดยเฉพาะใน                                 	          แต่ Nightingale ไม่เห็นเช่นนั้น เธอรู้สึกศรัทธา
โรงพยาบาลให้ดีขึ้น เพราะจะช่วยชีวิตคนไข้ได้มาก และ                            ในผลงานของ Quetelet มาก จึงเก็บข้อมูลต่างๆ ที่
ในการทำให้คนอังกฤษเชื่อว่าโรงพยาบาลต้องได้รับการ                              โรงพยาบาล Scutari มาวิเคราะห์ เช่น ได้รวบรวมจำนวน
ปฏิรูปนั้น Nightingale ได้นำวิชาสถิติมาใช้                                    ผู้เสียชีวิตทุกวัน เพราะก่อนนั้น แม้แต่จำนวนคนตาย
	           ทั้ ง ๆ ที่ นั ก คณิ ต ศาสตร์ รู้ จั ก ใช้ ส ถิ ติ ม าตั้ ง แต่   ในแตละวน ก็ไมมีใครรูและสนใจ ดงนัน เมือ Nightingale
                                                                                      ่ ั         ่ ้            ั ้ ่
สมั ย โบราณแต่ ยั ง ไม่ มี ใ ครดำริ น ำสถิ ติ ม าใช้ แ ก้ ปั ญ หา             เดิ น ทางกลั บ ถึ ง อั ง กฤษใน ค.ศ.1856 และได้ พ บกั บ
สังคม ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะข้อมูลที่มี ไม่มากพอ และ                            William Fan ผู้เป็นแพทย์และนักสถิติ การได้เรียนวิชา
เทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ที่ ดี ก็ ไ ม่ มี แต่ เ มื่ อ Nightingale              สถิติกับ Fan ทำให้ Nightingale ตระหนักในความสำคัญ
นำสถิติมาวิเคราะห์ปัญหาสังคม เทคนิคนี้ได้กลายเป็นวิธี                         ของวิชานีวา สามารถนำมาใช้ปรับเปลียนระบบการพยาบาล
                                                                                          ้่                       ่
ที่สังคมยอมรับ                                                                และการสาธารณสุ ข ในโรงพยาบาลของกองทั พ และ
	           ย้อนอดีตไปถึง ปี 1841 Lambert Adolph                              โรงพยาบาลทั่วไปได้ ทั้งนี้ เพราะบันทึกสาเหตุการตาย
Jacques Quetelet ได้จัดตั้งสำนักงานสถิติแห่งเบลเยี่ยม                         ของทหารในโรงพยาบาลระบุชัดว่า เกิดจากความสกปรก
ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกเพื่ อ หาสาเหตุ ที่ ท ำให้ ค นในสั ง คมมี               ในโรงพยาบาลมากกวาเกดจากบาดแผล ที่ไดรบในสงคราม
                                                                                                        ่ ิ                ้ั
พฤติกรรมต่างๆ ความสำเร็จของผลงานนี้ทำให้ Quetelet                             Crimea สถติไดระบอยางชดเจนวา เมือสงครามเกดใหมๆ
                                                                                               ิ ้ ุ ่ ั        ่ ่               ิ ่
ได้ รั บ การยกย่ อ งเป็ น บิ ด าของวิ ช าสถิ ติ สั ง คม จากนั้ น              ทหาร 607 คน ได้ล้มตาย แต่เมื่อ Nightingale จัดระบบ
อีกหลายประเทศทั้งโลกก็ ได้เจริญรอยตาม โดยได้จัดตั้ง                           การรักษา และการสาธารณสุขให้ดีขึ้น จำนวนการตาย
องค์การที่เก็บข้อมูลสถิติของประชากร และนำทฤษฎี                                ของทหารเมื่อสงครามสงบได้ลดลงอย่างฮวบฮาบ ข้อมูล
ความน่าจะเป็นมาวิเคราะห์พฤติกรรมต่างๆ ของสังคมนั้น                            ยังแสดงให้เห็นชัดว่า ในการเปรียบเทียบจำนวนการตาย
โดยใช้หลักของ Quetelet ที่ว่า แม้นักวิทยาศาสตร์จะไม่มี                        ของประชาชนกับทหารอังกฤษในยามประเทศชาติสงบ
กฎที่สามารถทำนายพฤติกรรมของใครคนหนึ่งคนใดได้                                  ทหารที่มีอายุ 20-35 ปี จะเสียชีวิตมากกว่าคนทั่วไป
แต่ถ้าจะให้บอกพฤติกรรมของกลุ่ม เขาสามารถใช้สถิติ                              ประมาณ 2 เทา ทังนี้ เพราะทหารใชชวตอยู่ในสิงแวดลอม
                                                                                                ่ ้               ้ีิ         ่        ้
บอกความนึกคิด และความเห็นต่างๆ ได้ โดยอาศัยข้อมูล                             ที่ ไม่ถูกสุขลักษณะนั่นเอง
เช่น เพศ อายุและการศึกษา เพื่อพยากรณ์ความเป็นไปได้                            	          เมือสมเดจพระราชนี Victoria แหงองกฤษ และ
                                                                                             ่       ็      ิ             ่ ั
ของเหตุการณ์ต่างๆ เช่น จำนวนฆาตกรรมในฝรั่งเศส                                 พระสวามีทรงทราบเรื่องของ Nightingale พระองค์
โดยประมาณในปี 1791 แม้สถิติจะระบุชื่อฆาตกรไม่ ได้                             ทรงเห็นด้วยกับ Nightingale มากว่าสุขภาพของทหาร



   4
ในกองทัพอังกฤษเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นแม้บรรดาแม่ทัพ
นายพลต่ า งๆ จะต่ อ ต้ า น Nightingale แต่ Lord
Palmerston ผดำรงตำแหนงเปนนายกรฐมนตรีในขณะนน
                      ู้           ่ ็             ั                   ั้
ก็ ไ ด้ บั ญ ชาให้ จั ด ตั้ ง สำนั ก งานสุ ข ภาพของกองทั พ ใน
พระบรมราชิ นู ป ถั ม ภ์ ถึ ง Nightingale จะมิ ไ ด้ เ ป็ น
กรรมการบริหารของสำนักงานนี้ (เพราะเธอเป็นผู้หญิง)
แต่แนวคิดของเธอก็มีอิทธิพลมากต่อการตัดสินใจของ
รั ฐ มนตรี ก ระทรวงกลาโหมที่ อ นุ ญ าตให้ เ ธอเดิ น ทางไป
Crimea ในเวลาต่อมาเธอได้เรียบเรียงตำราชื่อ Notes on
Matters Affecting the Health Efficiency and
Hospital Administration of the British Army
ซึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง เทคนิ ค สถิ ติ และมี แ ผนภาพ มากมาย
ประกอบคำบรรยาย หนังสือเล่มนี้ ได้รับการยกย่องโดย
Fan ว่ า เป็ น หนั ง สื อ สถิ ติ ที่ ดี เ ด่ น ที่ สุ ด ที่ เ ขาเคยเห็ น    อินเดียในปี 1858 เพราะข้อมูลระบุว่า อัตราการตายของ
และเคยอ่าน                                                                  ทหารอังกฤษในอินเดียในแต่ละปีสูงกว่าอัตราการตายของ
	            ณ วั น นี้ Nightingale ได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า                พลเมืองอังกฤษถึง 6 เท่า การที่เป็นเช่นนี้ เพราะกองทัพ
เป็นผู้บุกเบิกการใช้สถิติ ในรูปของแผนภาพ และแผนที่                          ที่นั่นไม่มีระบบกำจัดน้ำเสียที่ดี การอยู่อย่างแออัด และ
พื้นที่เชิงขั้ว (polar-area chart) ซึ่งแสดงให้เห็นพื้นที่                   ทหารขาดการออกกำลังกายเหล่านี้ ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญ
ของลิ่ มในแผนภาพวงกลมว่าขึ้นกับจำนวนคนอย่า งไร                              ดังนั้นภายในเวลา 10 ปี หลังจากที่ Nightingale ได้เสนอ
และเมื่ อ ผลงานของเธอได้ รั บ การยกย่ อ งและยอมรั บ                         วิธีปฏิรูปนี้ ทหารอังกฤษในอินเดียที่เสียชีวิตก็ ได้ลดจาก
รั ฐ บาลอั ง กฤษจึ ง ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานต่ า งๆ ตามที่ เ ธอ           6.9% เป็น 1.8% ความสำเร็จนี้ทำให้ผู้สำเร็จราชการ
เสนอ สำหรั บ โรงพยาบาลทหารก็ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง                       อังกฤษทุกคนที่จะถูกส่งไปประจำที่อินเดีย ต้องขอเข้า
เชน มการตดตังระบบถายอากาศ ระบบทำความรอน ระบบ
    ่ ี ิ ้                   ่                                 ้           คารวะเธอกอนไปประจำการ เพือนอมรบความเหนของเธอ
                                                                                              ่                          ่ ้ ั            ็
กำจดสิงปฏกล ระบบประปา อกทังไดปฏรปโรงอาหารใหม่
       ั ่ ิู                         ี ้ ้ ิู                              ทั้งๆ ที่เธอไม่เคยไปอินเดียเลย
ส่ ว นกองทั พ ก็ มี ก ารออกกฎหมายสุ ข ภาพ มี ก ารจั ด ตั้ ง                 	              Nightingale จึ ง ได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น ผู้
โรงเรี ย นแพทย์ท หาร และหน่ว ยงานสถิติของกองทัพ                             รู้ จั ก ใช้ ส ถิ ติ ส ร้ า งองค์ ค วามรู้ ไ ด้ โ ดยอาศั ย ประสบการณ์
เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพราะ Nightingale เป็นคน                           ทั้งนี้ เพราะเธอเชื่อว่าสถิติสามารถจำแนกได้ว่าวิธีการใด
สำคัญของชาติดังนั้นความเห็นของเธอทุกเรื่องสามารถ                            ดีกว่ากัน แต่เมื่อโรงพยาบาลสมัยนั้นไม่เคยคิดจะเก็บ
ทำให้ ค ณะรั ฐ มนตรี ค ลอนแคลนได้ ถ้ า เธอไม่ เ ห็ น ด้ ว ย                 ข้อมูลต่างๆ ของคนไข้เลย เธอกับ Fan จึงออกแบบ
และบรรดานักการเมืองต่างก็ต้องฟังความคิดเห็นของเธอ                           สำรวจให้โรงพยาบาลใช้ และ International Congress
ถ้าเขาต้องการให้สังคมยอมรับ หลังสงคราม Crimea                               of Statistics ก็ ไ ด้ น ำแบบฟอร์ ม นั้ น มาทดลองใช้ ใ น
Nightingale ได้ หั น ไปสนใจปั ญ หาสุ ข ภาพของทหาร                           ปี 1860 เพื่อเก็บข้อมูลคนไข้ตลอดปี ทั้งที่หายไข้ และ
ในอินเดีย โดยได้ส่งแบบฟอร์มสำรวจไปให้ทหารที่นั่น                            ที่ ต ายไป สำหรั บ วิ ธี ก ารใช้ ส ถิ ติ แ ก้ ปั ญ หาสั ง คมนั้ น
เพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล สาธารณสุ ข และเมื่ อ ได้ ข้ อ มู ล มา                Nightingale เชื่อว่า เพราะพระเจ้าได้ทรงวางกฎเกณฑ์
พอสมควร เธอก็ ได้เสนอให้จัดตั้งสำนักงานสถิติขึ้นใน                          ต่างๆ สำหรับสังคมในรูปของสถิติ ดังนั้นคนที่จะเข้ามา


                                                                                                                                           5
บริหารสังคมและการเมืองจึงต้องรู้สถิติบ้าง นอกจากจะใช้     ซึ่งเป็นพี่สาวของ Florence กลับไม่สนใจอ่านหนังสือเลย
สถิติด้วยตนเองแล้ว เธอก็ต้องการให้สถาบันการศึกษา          แต่ Florence มักใช้เวลาอยู่กับพ่อในห้องสมุด และเมื่อ
ชั้นสูงทุกแห่งสอนสถิติด้วย                                Florence ก็รู้สึกว่าแม่ โปรดปราน Parthe มากกว่าตน
	         ในบั้ น ปลายชี วิ ต Nightingale ก็ ยั ง เป็ น   เธอจึ ง รู้ สึ ก โหยหาความรั ก จากแม่ ม าก และเมื่ อ แม่ มี
นางพยาบาลต่อไป เพราะเธอคิดว่า พระเจ้าทรงต้องการ           ความเห็นว่าสามีคือสิ่งที่จะทำให้ผู้หญิงทุกคนสมบูรณ์
ให้เธอทำงานนี้ แต่สุขภาพเธอไม่ดี ทำให้ต้องนอนเตียง        เธอรู้สึกรับความคิดนี้ไม่ ได้ เพราะเธอคิดว่าความสามารถ
ตลอดเวลา เหตุการณ์นี้ทำให้คนหลายคนคิดว่า เพราะเธอ         ในการทำงานเท่านั้นที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนที่สมบูรณ์
คงติดโรคจากสนามรบ แต่หลายคนคิดว่าอาการประสาท              	            ดงนัน เมือ Florence วย 25 ปี บอกแมวา จะไป
                                                                         ั ้ ่                  ั           ่่
อ่อนๆ ทำให้เธอต้อนรับคนที่มาเยี่ยมเฉพาะในห้องนอน          ทำงานที่โรงพยาบาลทหารแห่งมือง Salisbury ในอังกฤษ
และใครจะมาเยี่ยมเธอต้องนัดเธอล่วงหน้านานๆ เป็นต้น         แม่ Fanny ก็ตกใจมากเพราะวิตกว่าลูกสาวของตนคงโดน
	         ในปี ค.ศ.1860 Nightingale ได้จัดตั้งโรงเรียน    หมอลามก หรือคนไข้ทำเสน่ห์ ดังนั้น แม่กับลูกสาวจึง
ฝึกนางพยาบาลชื่อ Nightingale School of Nursing            ทะเลาะกนเสยงลนบาน จนพอตองหนเี ขาหองสมด ในทสด
                                                                      ั ี ั่ ้              ่ ้     ้ ้ ุ ี่ ุ
at St Thomas’s ให้นางพยาบาลมีทั้งคุณธรรม และ              Florence ได้ตัดสินใจไม่ ไป Salisbury ตามใจแม่ แต่เมื่อ
วชาการ และเธอกทำไดสำเรจ เพราะในปี 1861 การสำรวจ
  ิ                ็ ้ ็                                  เธอตัดสินใจไม่แต่งงานกับ Milnes ผู้เป็นหนุ่มที่สาว
ประชากรในอังกฤษระบุว่ามีคนทำงานเป็นผู้ช่วยพยาบาล          อังกฤษในสมัยนั้นใฝ่ฝัน หลังจากที่ ไปมาหาสู่กันถึง 9 ปี
เพียง 27,618 คน แต่อีก 40 ปีต่อมา สถิติระบุว่าอังกฤษ      ครอบครัวก็ลกเป็นไฟอีก เพราะ Fanny กล่าวหาว่า Florence
                                                                            ุ
มีนางพยาบาล 64,214 คน                                     เป็นเด็กอกตัญญูที่ ไม่ยอมแต่งงาน
	         เมือ Nightingale อายุ 63 ปี เธอไดรบเหรยญสดดี
             ่                             ้ั ี ุ         	            ในช่ ว งเวลาที่ Florence เดิ น ทางไปเยื อ น
Royal Red Cross ขององกฤษ และอก 2 ปตอมา เธอเปน
                         ั            ี ี่            ็   โรงพยาบาล Deaconess ที่ Kaiserwerth ในเยอรมนี
สตรีคนแรกที่รับเกียรติยศ Order of Merit (O.M) ซึ่ง        เธอได้ เ ขี ย นจดหมายขอร้ อ งให้ Fanny ยกโทษ และ
เป็นยศสูงสุดที่กษัตริย์อังกฤษทรงประทานให้สามัญชน          ขออนุญาตให้เธอทำสิ่งที่เธอต้องการบ้า ง แต่ Fanny
ชาวอังกฤษ Nightingale เสียชีวิตที่ London เมื่อวันที่     ไม่ยินยอม เพราะเธอต้องการสร้าง Florence ในรูปแบบ
13 สิงหาคม ค.ศ.1810                                       ที่เธอต้องการ Florence จึงรู้สึกหดหู่มาก
	         ในวารสาร History Today ฉบับเดือนเมษายน          	            เมื่ อ ถึ ง ปี ค.ศ.1851 Florence ได้ ตั ด สิ น ใจ
ค.ศ.2003 Liane Aukin นักจิตวิทยาได้วิเคราะห์สาเหตุ        อย่างเด็ดขาดว่าเธอไม่ต้องการความรักและความเห็นชอบ
ที่ทำให้ Florence Nightingale ประสบความสำเร็จ             ในทุกเรื่องจากแม่อีกต่อไปแล้ว ขณะนั้นเธอมีอายุ 31 ปี
ในการเป็นนักบริหาร และนักปฏิรูปที่สังคมยกย่องว่า          เท่ากับอายุพระเยซูขณะออกเทศนา เธอได้ไปหาคนสำคัญ
ความผิดหวังที่เธอได้รับจากแม่ ได้ผลักดันให้เธอทุ่มเท      ที่สุดที่เธอรู้จัก คือ Sidney Herbert ผู้ดำรงตำแหน่ง
ชีวิตในการทำงานจนเป็นสตรีที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง      รั ฐ มนตรี ก ระทรวงกลาโหมในคณะรั ฐ มนตรี ข องนายก
ในโลก Aukin ได้วิเคราะห์ว่า เมื่อแม่ผิดหวังที่มีเธอเป็น   รฐมนตรี Lord Aberdeen และ Herbert ไดบอกบดามารดา
                                                            ั                                          ้ ิ
ผู้หญิง ซึ่งทำให้คฤหาสน์ของตระกูล Nightingale ไม่มี       ของ Nightingale ให้อนุญาตให้เธอไปทำงานที่เธอรัก
คนสืบทอด เธอได้ทำให้แม่ผิดหวังซ้ำอีก เมื่อต้องการเป็น     โลกก็ มี วี ร สตรี ค นใหม่ ทั น ที ตลอดเวลาประจำการที่
นางพยาบาล เพราะการตดสนใจเชนนัน แมจงคดวาเธอคง
                        ั ิ ่ ้ ่ึ ิ ่                    Scutari นางพยาบาล Nightingale มี ค วามรู้ สึ ก ว่ า
เป็นโรคจิตที่ชอบอยู่ ใกล้คนเจ็บ และเมื่อบิดา William      เหล่าทหารคือลูก และเธอคือแม่ เธอทำงานหนักจนภรรยา
ได้จัดการให้ลูกสาวทั้งสองเรียนหนังสือที่บ้าน Parthe       และสมาชิ ก ครอบครั ว ของทหารที่ บ าดเจ็ บ ต่ า งก็ เ ขี ย น


  6
จดหมายมาขอบคุณเธอ และเรียกเธอว่า Darling Mother           แต่ประชาชนอังกฤษทุกคนก็รู้ว่าเธอยังมีชีวิตอยู่ หนังสือ
เธอได้เปรียบเทียบทหารว่าต้องการเธอเหมือนลูกต้องการ        Notes of Nursing ทีเ่ ธอเขยนขายดถงระดบเบสเซลเลอร์
                                                                                      ี        ีึ ั
แม่ และเธอบอกว่า เธอให้ความรักและความสนใจแก่ทหาร          โดยเธอไดเ้ ปรยบเทยบโรงพยาบาลเปนบาน และนางพยาบาล
                                                                          ี ี                 ็ ้
18,000 คน ในเวลา 1 สัปดาห์ มากยิ่งกว่าความรักและ          เป็นแม่ การมีพ่อที่อ่อนแอ และแม่ที่เป็นคนเจ้ากี้เจ้าการ
ความใส่ ใจที่เธอได้รับจากแม่ตลอดอายุ 37 ปีของเธอ          ไปทุ ก เรื่ อ งทำให้ Florence ไม่ ชื่ น ชมความคิ ด ที่ จ ะมี
	        เมื่อกลับจากสงคราม Crimea Nightingale            ครอบครัว ดังนั้น เวลานางพยาบาลในความดูแลของเธอ
ได้ย้ายออกจากคฤหาสน์ของครอบครัวไปพักที่ โรงแรม            ขอลาไปแต่งงาน เธอจะรู้สึกผิดหวัง
Burlington ใกล้ Piccadilly ในลอนดอน และเริ่มปฏิรูป        	           ถึงเธอจะเป็นอสุรกายในสายตาของแม่ แต่เธอก็
การพยาบาล โดยได้ทูลขอสมเด็จพระราชินี Victoria             เป็นเทพธิดาในสายตาของสังคม เพราะทุกวันนี้ โลกรู้ว่า
ให้ ท รงออกกฎหมายสอบสวนพฤติ ก รรมของทหาร                  เธอประสบความสำเรจในการทำอาชพพยาบาลใหเ้ ปนอาชพ
                                                                                ็           ี               ็ ี
ในสงคราม                                                  ที่มีเกียรติ และนี่ก็คือมรดกที่ Florence Nightingale
	        เมื่อมีชื่อเสียง แม่ Fanny กับพี่สาว Parthe      ได้มอบให้แก่ โลก จนทำให้วันที่ 12 พฤษภาคมของทุกปี
ได้ขอเข้ามาใช้ชีวิตใกล้เธอ แต่ Florence ไม่ต้องการ        ซึ่งเป็นวันเกิดของเธอ ได้รับการยอมรับเป็นวันพยาบาล
เพราะเธอกลัวแม่กับพี่สาวจะเข้ามาควบคุมจิตใจเธออีก
ความกลัวทำให้เธอเริ่มมีอาการหายใจไม่ออก เหงื่อตก
และเปนลมบอย ทกครังทีแมกบพีสาวมาเยียม จนในทีสด
       ็ ่ ุ ้ ่ ่ั ่                     ่         ุ่
เธอได้ออกคำสั่งห้ามคนทั้งสองมาเยี่ยมเธออย่างเด็ดขาด
แต่เธอก็ยังเขียนจดหมายถึงแม่ ที่ ไม่ ได้ไปเยี่ยมเลยเป็น
เวลานานถึง 20 ปี จนกระทั่ง Fanny อ่อนแอลงมาก
ตาใกล้บอด และต้องการคนดูแลอย่างใกล้ชิด เธอจึง
เดินทางไปดูใจเป็นครั้งสุดท้าย Fanny เสียชีวิตเมื่ออายุ
92 ปี ขณะนั้น Florence มีอายุ 60 ปี
	        ชีวิตของ Florence คือ ตั้งแต่กลับจากสงคราม
Crimea จนกระทั่ ง ตาย เป็ น ไปอย่ า งโดดเดี่ ย วมาก
เพราะเธอพบแขกครั้ ง ละคน และให้ ค ำแนะนำในการ
พยาบาลคน แต่ไมพยาบาลใคร เวลาเสนอความเหนเกยวกบ
                    ่                          ็ ี่ ั
กฎหมายพยาบาล เธอไม่ ไปฟังการอภิปรายใดๆ แต่เธอ
ให้คนอ่านความเห็นของเธอในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อ
กันนาน 6 ชั่วโมง เธอไม่ชอบปรากฎกายในที่สาธารณะ




                                                                                                                 7
การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม
                                          Industrial Risk Management


                                                                                         จิตลดา ซิ้มเจริญ1 และนิศากร สมสุข1

บทคัดย่อ
	        การทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมทุกวันนี้ต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุและอันตราย
จากการทำงานที่ส่งผลกระทบต่อพนักงานทั้งพิการ สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน และยังส่งผลร้ายแรงต่อความมั่นคงและ
ความอยู่รอดขององค์กรที่ ไม่ ได้วางแผนป้องกันความเสี่ยงไว้ การจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นเทคนิค
สำคัญที่โรงงานอุตสาหกรรมควรนำไปใช้อย่างจริงจัง ซึ่งในบทความนี้ได้นำเสนอวิธีจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
ในการทำงานภาคอตสาหกรรม ซึงมหวใจสำคญอยูทีการคนหาและระบความเสียง การชีบงอนตราย การประเมนความเสียง
                 ุ             ่ ีั     ั ่่ ้                 ุ     ่        ้่ ั                 ิ     ่
และการจัดทำแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงที่โรงงานสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ได้อย่างง่าย ไม่ซับซ้อน และสามารถ
ลด ป้องกัน และจัดการความเสี่ยงให้บรรลุเป้าหมายความเสี่ยงเป็นศูนย์ อุบัติเหตุเป็นศูนย์ ได้อย่างเห็นผล

คำสำคัญ : การชี้บ่งอันตราย, การประเมินความเสี่ยง, แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง

Abstract
	        Nowadays, employees working in industries have to deal with the risk of accidents and emergencies
arising from the hazard. These injuries are the leading cause of death, disability, and economic loss.
They will also affect industry’s stability and survive in the future if they do not have a risk management
plan. The efficient risk management is an important technique by which industries should implement
it seriously. This paper provides risk management in working environments. The main concepts of
risk management is in searching for and identifying risk, identifying hazard, risk assessment, doing a
risk management plan that can be applied easily, and being able to reduce, protect and manage risk in
order to achieve the goal in zero accident and zero risk.

Keywords : Hazard identification, Risk assessment, Risk management plan
1
    อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

      8
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science

More Related Content

What's hot

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 
2010.04.26 ppt seminar-visitingcn
2010.04.26 ppt seminar-visitingcn2010.04.26 ppt seminar-visitingcn
2010.04.26 ppt seminar-visitingcnBallacovski
 
วรพล 6 6
วรพล 6 6วรพล 6 6
วรพล 6 6PhantomLord
 
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์nonnie99
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54Tangmo Momo
 
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ATP It Solutions
 
บาลี 65 80
บาลี 65 80บาลี 65 80
บาลี 65 80Rose Banioki
 

What's hot (16)

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
R2554
R2554R2554
R2554
 
2010.04.26 ppt seminar-visitingcn
2010.04.26 ppt seminar-visitingcn2010.04.26 ppt seminar-visitingcn
2010.04.26 ppt seminar-visitingcn
 
วรพล 6 6
วรพล 6 6วรพล 6 6
วรพล 6 6
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Vdoclip
VdoclipVdoclip
Vdoclip
 
แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54
 
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
 
บาลี 65 80
บาลี 65 80บาลี 65 80
บาลี 65 80
 

Similar to Heritage ok 05-01-54science

Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Amarin Uttama
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14karan boobpahom
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Heritage ok 05-01-54science (20)

Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
Qlf forum may2014
Qlf forum may2014Qlf forum may2014
Qlf forum may2014
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 

Heritage ok 05-01-54science

  • 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน 2554 Vol. 5 No. 1 January-June 2011 ISSN 1905-159x Contents บทความพิเศษ u ฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของน้ำมันรำข้าวต่อเซลล์มะเร็งตับ u Florence Nightingale สตรีนักปฏิรูปสังคม Antiproliferative Effect of Rice Bran Oil to Liver Cancer Cells ศ. ดร สุทัศน์ ยกส้าน ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, พรรณนารี ชัยวิชิต บทความวิชาการ u การบริหารความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงานของ u การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม พนักงาน กรณีศึกษา : สายการผลิตรถเข็นสแตนเลส Industrial Risk Management Safety Risk Management for Production Operators จิตลดา ซิ้มเจริญ และนิศากร สมสุข Case Study: Stainless Steel Cart Production Line u ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มีผลต่อความแม่นยำ จ ิ ต ลดา ซ ิ ้ ม เจร ิ ญ ในการระบุพิกัดของระบบ GPS u การศึกษาผลของค่าความต้านทานดินต่อประสิทธิภาพตัวนำ The Ionospheric Effect to Accuracy of GPS System สราวุธ นนทะสุด ล่อฟ้า Study on Earth Resistance to Air-termination Efficiency บทความวิจัย ธนากร น้ำหอมจันทร์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และพงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ u รูปแบบการเลี้ยงดูของมารดาเด็กคลอดก่อนกำหนด อายุ u การศึ ก ษาการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของท่ อ ความร้ อ นโดยการ 0-1 ปี ปรับเปลี่ยนสารทำงาน Patterns of Mothers Raising Children Born Prematurely Thermal Efficiency Enhancement of Heat Pipe by Aged 0-1 year. Change Working Fluids ชญานิกา ศรีวิชัย ธีรพงศ์ บริรักษ์* และ สมบัติ ทีฆทรัพย์** u ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศ u การวิ จั ย สื่ อ การสอนเรื่ อ งการประกอบคอมพิ ว เตอร์ โ ดยใช้ องค์การ และประสิทธิผลของหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาล ้ ่ ้ รูปแบบของ IMMCAI ในโรงพยาบาลอุทัยธานี Researching of Teaching Media: Computer Integration Nurses’ Perception of their Head Nurse Transformational Using Interactive Multimedia Computer Assisted Leadership, Organizational Climate and Ward Effectiveness Instruction in Uthaithanee Hospital ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย, ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ น้อมจิตต์ จันทร์น้อย u การสร้างระบบการตัดสินใจของปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่ง u เจตคติและพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 สำหรับผลิตภัณฑ์หลายประเภทและกำหนดเวลาการขนส่ง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย Developing Decision Support System of Multi-Product หลังการศึกษาวิชาภูมิปัญญาไทยและการดูแลสุขภาพ Vehicle Routing Problem with Discrete Shipping Time Attitude and Health Behavior of Nursing Students in อัญชลี สุพิทักษ์, นัฐมา ชูกลิ่น, ศาริยา ขิระทาน the Second Year of School of Nursing, Eastern Asia u การศึกษาการวัดโคโรนาดีสชาร์จจากการทดสอบฉนวนแข็ง University after Studying in Subject of Thai Traditional ตามมาตรฐาน IEC 60243-1 Wisdom and Health Care A Studying Corona Discharge Measurement for Solid อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์, กานต์สุดา ปลาทอง, เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น Insulator Test According to IEC 60243-1 Standard u การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของผลิตภัณฑ์น้ำมัน อติกร เสรีพัฒนานนท์, พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ และ ธนากร น้ำหอมจันทร์ รำข้าว แนะนำหนังสือ Cytotoxicity Test on Cancer Cells of Rice Bran and Germ Oil u ดีไซน์ + คัลเจอร์ 3 ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, *ผศ.บุษยมาส สินธุประมา พรรณนารี ชัยวิชิต u ชีวิตนี้สำคัญนัก สุภกัญญา ชวนิชย์
  • 2. เพียงความเคลื่อนไหว ชั่วเหยี่ยวกระหยับปีกกลางเปลวแดด สี่สิบปีเปล่าโล่งตลอดย่าน ร้อนที่แผดก็ผ่อนเพลาพระเวหา สี่สิบล้านไม่เคยเขยื้อนขยับ พอใบไม้ไหวพลิกรอกริกมา ดินเป็นทรายไม้เป็นหินจนหักพับ ก็รู้ว่าวันนี้มีลมวก ดับและหลับตลอดถ้วนทั้งตาใจ เพียงกระเพื่อมเลื่อมรับวับวับไหว นกอยู่ฟ้านกหากไม่เห็นฟ้า ก็รู้ว่าน้ำใสใช่กระจก ปลาอยู่น้ำย่อมปลาเห็นน้ำไม่ เพียงแววตาคู่นั้นหวั่นสะทก ไส้เดือนไม่เห็นดินว่าฉันใด ก็รู้ว่าในหัวอกมีหัวใจ หนอนย่อมไร้ดวงตารู้อาจม โซ่ประตูตรึงผูกถูถกระชาก ฉันนั้นความเปื่อยเน่าเป็นของแน่ เสียงแห่งความทุกข์ยากก็ยิ่งใหญ่ ย่อมเกิดแก่ความนิ่งทุกสิ่งสม สว่างแวบแปลบพร่ามาไรไร แต่วันหนึ่งความเน่าในเปือกตม ก็รู้ได้ว่าทางยังพอมี ก็ผุดพรายให้ชมซึ่งดอกบัว มือที่กำหมัดชื้นจนชุ่มเหงื่อ และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ ก็ร้อนเลือดเดือดเนื้อถนัดถนี่ เป็นความงดความงามใช่ความชั่ว กระหืดหอบฮวบล้มแต่ละที มันอาจขุ่นอาจข้นอาจหม่นมัว ก็ยังดีที่ได้สู้ได้รู้รส แต่ก็เริ่มจะเป็นตัวจะเป็นตน นิ้วกระดิกกระเดี้ยได้พอให้เห็น พอเสียงร่ำรัวกลองประกาศกล้า เรี่ยวแรงที่แฝงเร้นก็ปรากฏ ก็รู้ว่าวันพระมาอีกหน ยอดหญ้าแยงหินแยกหยัดระชด พอปืนเปรี้ยงแปลบไปในมณฑล เกียรติยศแห่งหญ้าก็ระยับ ก็รู้ว่าประชาชนจะชิงชัย. โดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ บทกวีรางวัล S.E.A. Write Award (วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน ปี 2523)
  • 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีท่ี 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถนายน 2554 Vol. 5 No. 1 January-June 2011 ISSN 1905-159x ุ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานและทรรศนะทางวิชาการ 2. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการสืบค้นและอ้างอิงผลงานทางวิชาการ 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา เจ้าของ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ที่ปรึกษา อธิการบดี ดร. โชติรัส ชวนิชย์ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน อาจารย์สุภกัญญา ชวนิชย์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุษยมาส สินธุประมา คณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ (Editorial advisory board) ศาสตราจารย์ ดร. อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์ ราชบัณฑิต ศาสตราจารย์จงจิตร์ หิรัญลาภ ศาสตราจารย์ พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิ ไลกูล รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ดร. บุญมี เณรยอด รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี รองศาสตราจารย์ เพลินทิพย์ โกเมศโสภา บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร. พิมลพรรณ เรพเพอร์ กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร. พิมลพรรณ เรพเพอร์ รองศาสตราจารย์ ดร. อัมพร ศรีเสริมโภค รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ทีฆทรัพย์ รองศาสตราจารย์ ดร. ทองหล่อ เดชไทย รองศาสตราจารย์ ดร. ประกอบ คุณารักษ์ รองศาสตราจารย์ ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์ รองศาสตราจารย์ ประณต นันทิยะกุล ดร. กฤติมา เหมวิภาต เลขานุการ นางสาวอรพินท์ ลูกอินทร์ ออกแบบปก/ จัดรูปเล่ม อาจารย์วิลาวรรณ สุขมาก นางสาวอรพินท์ ลูกอินทร์ กรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ รองศาสตราจารย์ ดร. ธนาคม สนทรชยนาคแสง รองศาสตราจารย์ ดร. ปิติเขต สู้รักษา ุ ั รองศาสตราจารย์ ดร. วีระเชษฐ์ ขันเงิน รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ฑีฆทรัพย์ ดร. วรวรรณ กิจผาติ รองศาสตราจารย์ ดร. สุจิตรา ทองประดิษฐ์ โชติ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวรรณา วรรัตน์ รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร ชุติมาสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรฤดี เนติ โสภาสกุล รองศาสตราจารย์ ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา พิสูจน์อักษรประจำฉบับ รองศาสตราจารย์ ดร. อัมพร ศรีเสริมโภค อาจารย์ธนอร อัศวงศ์ อาจารย์สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม นางสาวทิพย์รัตน์ พานะจิตต์ Associate Professor Dr. Sushama Kasbekar
  • 4. บทบรรณาธิการ ในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมามีเหตุการณ์ที่น่าสลดใจและน่าดี ใจเกิดขึ้นหลายประการทั้งที่เป็นภัยธรรมชาติ ภัยจาก มนุ ษ ย์ แ ละจากเหตุ ก ารณ์ ส ำคั ญ ทางการเมื อ งและเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ สำหรั บ นั ก วิ ช าการ ในมหาวิทยาลัย ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น เราต่างมุ่งทำหน้าที่ที่มีต่อ สถาบันการศึกษาอย่างดีที่สุดตามความสามารถของ แต่ละคน บรรณาธิการขอเรียนผู้อ่านว่าวารสารวิชาการ EAU Heritage ของมหาวิทยาลัยอิสเทร์นเอเชียได้เติบโต ย่างก้าวเข้าสู่ ปีที่ 5 แล้ว ทางกองบรรณาธิการมีความตั้งใจที่จะทำให้กระบวนการผลิตวารสารมีความเป็นมาตรฐานมากขึ้น จึงได้แยกการจัดทำวารสารออกตามเนื้อหาเป็นสองฉบับคือ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและฉบับมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ทางวารสารได้รับความกรุณาจากผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านร่วมเป็นคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ และ หลายท่านเป็นกรรมการผู้อ่านบทความ (peer readers) เพื่อช่วยตรวจแก้และแนะนำให้การเขียนมีคุณภาพยิ่งขึ้น วารสารวิชาการ EAU Heritage ฉบับปีที่ 5 เล่มหนึ่งปี 2554 ที่ท่านอ่านอยู่นี้เป็นเล่มที่รวบรวมบทความ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีบทความทางวิชาการหนักไปในทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิศวกรรมศาสตร์ บทความในเล่มประกอบด้วยบทความทางวิชาการ 2 เรื่อง บทความวิจัย 11 เรื่อง นอกจากนั้นยังมีบทแนะนำหนังสือ ที่น่าสนใจสองเรื่องที่ทางกองบรรณาธิการเห็นว่าน่าจะช่วยให้ท่านได้ผ่อนคลายจากปํญหาต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจำวัน ได้บ้าง ขอขอบพระคุณท่านศาสตราจารย์ ดร. สุทัศน์ ยกส้านอย่างยิ่งที่ ได้ให้ความกรุณาเขียนบทความเกี่ยวกับ ฟลอเรนซ์ ไนติงเกลให้วารสารของเราเป็นการเปิดตัวฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างภาคภูมิ ใจ ขอขอบคุณท่านผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ช่วยวิจารณ์และแนะนำการแก้ไขบทความทุกเรื่องที่ตีพิมพ์ ในฉบับนี้ ท้ายนี้ขอเชิญชวนนักวิชาการที่สนใจส่งบทความวิชาการและบทความวิจัยมาตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิชาการของ มหาวิทยาลัยอิสเทร์นเอเชียในฉบับต่อไป บรรณาธิการ
  • 5. แนะนำผู้เขียน ศ. ดร. สุทัศน์ ยกส้าน ศาสตราจารย์ 11 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ (ประสานมิตร) ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ภาคีสมาชิก สาขาฟิสิกส์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน จิตลดา ซิ้มเจริญ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย นิศากร สมสุข อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย สราวุธ นนทะสุด อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ชญานิกา ศรีวิชัย อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทร์นเอเชีย น้อมจิตต์ จันทร์น้อย นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย กานต์สุดา ปลาทอง อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รศ. ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รุ้งตะวัน สุภาพผล อาจารย์ประจำ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ
  • 6. แนะนำผู้เขียน วรอนงค์ พฤกษากิจ อาจารย์ประจำ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย พรรณนารี ชัยวิชิต อาจารย์ประจำ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ธนากร น้ำหอมจันทร์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย อติกร เสรีพัฒนานนท์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ธีรพงศ์ บริรักษ์ อาจารย์ประจำ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รศ.ดร.สมบัติ ทีฆทรัพย์ รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา และ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย อัญชลี สุพิทักษ์ อาจารย์ประจำ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย นัฐมา ชูกลิ่น นักศึกษา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ศาริยา ขิระทาน นักศึกษา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • 7. แนะนำผู้เขียน ผศ.บุษยมาส สินธุประมา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย อาจารย์สุภกัญญา ชวนิชย์ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน และ รักษาการ ผู้อำนวยการสำนักการคลังและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัย อีสเทิร์นเอเชีย
  • 8. สารบัญ บทความพิเศษ u Florence Nightingale สตรีนักปฏิรูปสังคม 1 ศ. ดร สุทัศน์ ยกส้าน บทความวิชาการ u การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม 8 Industrial Risk Management จิตลดา ซิ้มเจริญ และนิศากร สมสุข u ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มีผลต่อความแม่นยำในการระบุพิกัดของระบบ GPS 17 The Ionospheric Effect to Accuracy of GPS System สราวุธ นนทะสุด บทความวิจัย u รูปแบบการเลี้ยงดูของมารดาเด็กคลอดก่อนกำหนด อายุ 0-1 ปี 26 Patterns of Mothers Raising Children Born Prematurely Aged 0-1 year. ชญานิกา ศรีวิชัย u ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย 32 ตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลอุทัยธานี Nurses’ Perception of their Head Hurse Transformational Leadership, Organizational Climate and Ward Effectiveness in Uthaithanee Hospital น้อมจิตต์ จันทร์น้อย u เจตคติและพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 41 หลังการศึกษาวิชาภูมิปัญญาไทยและการดูแลสุขภาพ Attitude and Health Behavior of Nursing Students in the Second Year of School of Nursing, Eastern Asia University after Studying in Subject of Thai Traditional Wisdom and Health Care อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์, กานต์สุดา ปลาทอง, เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น
  • 9. สารบัญ u การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของผลิตภัณฑ์น้ำมันรำข้าว 48 Cytotoxicity Test on Cancer Cells of Rice Bran and Germ Oil ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, พรรณนารี ชัยวิชิต u ฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของน้ำมันรำข้าวต่อเซลล์มะเร็งตับ 56 Antiproliferative Effect of Rice Bran Oil to Liver Cancer Cells ปภาวดี คล่องพิทยาพงษ์, รุ้งตะวัน สุภาพผล, วรอนงค์ พฤกษากิจ, พรรณนารี ชัยวิชิต u การบริหารความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน 68 กรณีศึกษา: สายการผลิตรถเข็นสแตนเลส Safety Risk Management for Production Operators Case Study: Stainless Steel Cart Production Line จิตลดา ซิ้มเจริญ u การศึกษาผลของค่าความต้านทานดินต่อประสิทธิภาพตัวนำล่อฟ้า 76 Study on Earth Resistance to Air-termination Efficiency ธนากร น้ำหอมจันทร์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และพงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ u การศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพของท่อความร้อนโดยการปรับเปลี่ยนสารทำงาน 85 Thermal Efficiency Enhancement of Heat Pipe by Change Working Fluids ธีรพงศ์ บริรักษ์ และ สมบัติ ทีฆทรัพย์ u การวิจัยสื่อการสอนเรื่องการประกอบคอมพิวเตอร์ โดยใช้รูปแบบของ IMMCAI 91 Researching of Teaching Media: Computer Integration Using Interactive Multimedia Computer Assisted Instruction ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย, ธัชกร อ่อนบุญเอื้อ u การสร้างระบบการตัดสินใจของปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งสำหรับผลิตภัณฑ์หลายประเภท 99 และกำหนดเวลาการขนส่ง Developing Decision Support System of Multi-Product Vehicle Routing Problem with Discrete Shipping Time อัญชลี สุพิทักษ์, นัฐมา ชูกลิ่น, ศาริยา ขิระทาน
  • 10. สารบัญ u การศึกษาการวัดโคโรนาดีสชาร์จจากการทดสอบฉนวนแข็งตามมาตรฐาน IEC 60243-1 105 A Studying Corona Discharge Measurement for Solid Insulator Test According to IEC 60243-1 Standard อติกร เสรีพัฒนานนท์, พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ และ ธนากร น้ำหอมจันทร์ แนะนำหนังสือ u ดี ไซน์ + คัลเจอร์ 3 113 ผศ.บุษยมาส สินธุประมา u ชีวิตนี้สำคัญนัก 116 สุภกัญญา ชวนิชย์
  • 11. Florence Nightingale สตรีนักปฏิรูปสังคม *ศ.ดร สุทัศน์ ยกส้าน เมองทีคลอด เธอมพีสาวชือ Parthenope (ตังตามชือเมอง ื ่ ี ่ ่ ้ ่ ื Parthe) ครอบครัวมีฐานะดี และเป็นคนได้รบการศึกษาสูง ั ในวัยเด็กเธอจึงได้รับการเลี้ยงดูในคฤหาสน์ และได้เรียน ดนตรกบภาษาตางประเทศเชน อตาเลยน ละตน กรก รวมถง ีั ่ ่ ิ ี ิ ี ึ ปรัชญาและคณิตศาสตร์ด้วย ถงจะไดทกสงทกอยางที่ใจตองการ แตเ่ ธอกรสกวา ึ ้ ุ ิ่ ุ ่ ้ ็ ู้ ึ ่ เธอกำลังใช้ชีวิตอย่างไร้จุดหมาย จนกระทั่งอายุ 17 ปี เธอบอกว่า เธอได้ยินเสียงพระเจ้าทรงเรียกให้เธอทำสิ่งที่ พระองค์ทรงต้องการ เมื่อได้เดินทางไปพักผ่อนในยุโรป กับครอบครัว ชีวิตเมืองนอกได้เปิดหู เปิดตาเธอมาก และขณะแวะพกที่โรม เธอไดเ้ หนชวตของคนไขทนอนปวย ั ็ ีิ ้ ี่ ่ Florence Nightingale คือ ผู้บุกเบิกอาชีพ พยาบาลด้วยการปฏิรปทังวิชาพยาบาล และโรงพยาบาลด้วย ู ้ แตมอกบทบาทหนึงของเธอทีเ่ ราไมรู้ นันคอ เธอเปนบคคล ่ีี ่ ่ ่ ื ็ ุ แรกๆ ที่นำวิชาสถิติมาวิเคราะห์และแก้ปัญหาสังคม Florence Nightingale เกิดที่เมือง Florence ในอิตาลี เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ.1820 (ตรงกับ รัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) พ่อแม่จึงตั้งชื่อเธอตามชื่อ * ศาสตราจารย์ 11 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ (ประสานมิตร) ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ภาคีสมาชิก สาขาฟิสิกส์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน 1
  • 12. ในโรงพยาบาล และเมื่อได้เยี่ยมโรงพยาบาล Deaconess คอ เธอตองครองตวโสด จากนัน Nightingale ก็ไดพยายาม ื ้ ั ้ ้ Institute แห่งเมือง Kaiserwerth ในเยอรมนี เธอได้เห็น หาทางออกให้กับความขัดแย้งระหว่า งเธอกับแม่ โดย สภาพอเน็จอนาถของสถานพยาบาล ประสบการณ์นี้มีผล ทำงานการกุศลมากขึ้น เช่น ช่วยเหลือเด็กยากจนในสลัม ทำใหเ้ ธอตดสนใจจะเปนนางพยาบาล เพือจะทำใหคนปวย ั ิ ็ ่ ้ ่ และไปเยี่ยมคนไข้อนาถาในโรงพยาบาล (ในสมัยนั้นคนไข้ ได้รับการพยาบาลที่ดียิ่งขึ้น ทีรำรวยจะมีญาติผหญิงดูแลดีทบาน) แต่กยงตังความหวังว่า ่่ ู้ ี่ ้ ็ั ้ การตัดสินใจของเธอวัย 27 ปี ได้ทำให้พ่อแม่ วันหนึ่งเธอจะต้องเป็นนางพยาบาลให้จงได้ เธอจึงอ่าน รูสกชอก เพราะในสมยนันสตรดมสองหนาที่ คอ เปนภรรยา ้ึ ็ ั ้ ีีี ้ ื ็ หนังสือแพทย์และสาธารณสุขในยามว่างเป็นการเตรียมตัว และคลอดลูก ดังนั้นการมีอาชีพอื่นถือเป็นเรื่องผิดปกติ ปี ค.ศ.1851 Nightingale วัย 31 ปี ได้เดินทาง ยิ่งถ้าเป็นนางพยาบาลด้วยแล้ว พ่อกับแม่ต้องจับลม มิใช่ ไปทัศนศึกษาในเยอรมนีเป็นเวลา 3 เดือน โดยได้เยี่ยมชม เพราะโรงพยาบาลในยุคนั้นสกปรก และมีแต่คนพิการกับ โรงพยาบาลกบสถานเลยงเดกกำพราแหงเมอง Dusseldorf ั ี้ ็ ้ ่ ื คนป่วยเท่านั้น บรรดานางพยาบาลในสมัยนั้นยังเป็นคนที่ ขากลับอังกฤษเธอเดินทางผ่านฝรั่งเศสและได้สมัครเป็น ไม่ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษา มี นิ สัย ชอบขโมย พูด จาหยาบคาย นางพยาบาลฝึกงานที่ โรงพยาบาล Sister of Charity กินเหล้า และสำส่อนทั้งกับคนไข้และคนไม่ ไข้ ดังนั้น ในปารีส และนี่คือจุดเริ่มต้นของอาชีพในฝันของเธอ เมื่อมารดา Fanny ของ Nightingale รู้ว่าลูกสาวต้องการ ลถงปี ค.ศ.1853 Nightingale ไดงานเปนเจาหนาที่ ุึ ้ ็ ้ ้ จะเป็นนางพยาบาล เธอจึงคิดว่าลูกของเธอคงเสียสติ ดูแลนางพยาบาลที่ Institute for the care of sick ไปแล้ ว และร่ ำ ไห้ พ ร้ อ มกล่ า วตำหนิ ว่ า Nightingale Gentlewoman ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ ถ นน Upper Harley ได้ทำให้เธอผิดหวังมาตั้งแต่เกิด เพราะเป็นผู้หญิงจึงไม่ ในลอนดอน โดยมี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ ปรั บ ปรุ ง ระบบ มีสิทธิ์ ในการสืบทอดวงศ์ตระกูล อย่างไรก็ตาม Fanny การทำงานในโรงพยาบาล ทั้งๆ ที่ไม่มีเงินเดือนให้ แต่เธอ ก็ ได้คาดหวังว่าถ้า Nightingale ได้พบชายหนุ่มรูปงาม ก็ยินดีทำงานในตำแหน่งนี้นาน 1 ปี เธอก็อาจเปลี่ยนใจ ด้าน William Edward Nightingale เมื่ อ เกิ ด สงคราม Crimea ระหว่ า งกองทั พ ผูเ้ ป็นบิดานัน เข้าใจลูกสาวของตนดีกว่าแม่ จึงนำความคิด ้ สัมพันธมิตรซึ่งประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส และตุรกี “พิเรนทร์” ของ Nightingale ไปปรึกษากับแพทย์ประจำ กับกองทัพรัสเซีย การสูรบในวันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1854 ้ ตระกูลเพื่อขอความเห็นว่า อาชีพพยาบาลจะเหมาะกับ ที่แม่น้ำ Alma ทำให้กองทัพสัมพันธมิตรสามารถยึด ลูกสาวสวยของมหาเศรษฐีที่ดินหรือไม่ และแพทย์ ให้ ฐานทพเรอของรสเซยทีเ่ มอง Sevastopol ได้ แตประชาชน ั ื ั ี ื ่ ความเห็นว่า Nightingale เป็นคนที่มี ใจเด็ดเดี่ยวและ อังกฤษกลับรู้สึกดี ใจกับข่าวชัยชนะนี้ ได้ไม่นาน เพราะ มุ่งมั่น ถ้าเธอไม่แต่งงานเธอคงใช้ชีวิตเป็นนางพยาบาล William Howard แห่ ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ The Times ตามที่เธอตั้งใจแน่ๆ ดังนั้น เมื่อมีชายหนุ่มชื่อ Richard ได้รายงานในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.1854 ว่า ทหารอังกฤษ Monkton Milnes มาสนใจเธอ บดามารดาของ Nightingale ิ ที่บาดเจ็บได้ถูกทอดทิ้งให้นอนตาย โดยไม่มีแพทย์สักคน จึงรู้สึกดี ใจและมีความคาดหวังว่า Milnes จะขอเธอ เหลียวแล และไม่มีนางพยาบาลอาชีพที่เก่งในโรงพยาบาล แต่ ง งาน แต่ ห ลั ง จากที่ ไ ด้ ไ ปมาหาสู่ กั น เป็ น เวลานาน ทหารของอังกฤษที่เมือง Scutari เลย ในขณะที่กองทัพ Nightingale ได้บอกเลิก Milnes โดยอ้างว่า การแต่งงาน ฝรั่งเศสมีแม่ชี 50 คน มาเฝ้าดูแลทหารฝรั่งเศสที่บาดเจ็บ คอการตองทำงานรบใชครอบครวตลอดเวลา ซงในความเหน ื ้ ั ้ ั ึ่ ็ และข่าวที่นับว่าร้ายที่สุดคือ Howard หาคนที่รับผิดชอบ ของเธอนี่คือการติดคุก ทั้งๆ ที่ไม่ ได้ทำอะไรผิด และเมื่อ เรื่องนี้ ไม่ ได้เลยด้วย พระเจ้าทรงปรารถนาให้เธอทำงานรับใช้สังคม เธอจึง ทันทีที่ทราบข่าวนี้ Nightingale รู้ว่าโอกาสทอง คิดว่าหนทางเดียวที่จะทำให้เธอมีชีวิตอยู่เพื่อคนอื่นได้ ของเธอที่จะได้ทำงานรับใช้พระเจ้าและสังคมได้มาถึงแล้ว 2
  • 13. ต้องเข้ารับ “การรักษา” หลังจากที่ได้พยุงร่างเดินทางข้าม Black Sea ผ่านช่องแคบ Bosphorus อย่างอ่อนแรง เพราะพิษบาดแผล และถูกความหนาวคุกคาม เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมเหล่านี้ทำให้ทหารอังกฤษล้มตายกัน ระนาว สถิติการรอดชีวิตของทหารประจำเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1854 แสดงใหเ้ หนวา จากทหาร 1,000 คน ทีเ่ ดนทาง ็ ่ ิ ถึง Scutari มีทหารตาย 427 คน ในความพยายามที่จะทำให้โรงพยาบาลที่ Scutari เธอจึงเขียนจดหมายถึงเพื่อนชื่อ Sidney Herbert ซึ่ง มี คุ ณ ภาพ Nightingale จะต้ อ งแสดงความสามารถ ขณะนั้นเป็นรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของอังกฤษว่า เธอ ในการเป็นผู้บริหาร แต่ ได้รับการต่อต้านขัดขวางจากฝ่าย ขออาสาเดิ น ทางไปรั ก ษาพยาบาลทหารอั ง กฤษที่ เ มื อ ง ทหาร ซึ่ ง ยึ ด หลั ก การว่ า เมื่ อ ใดที่ มี ก ารเปลี่ ย นแผน Scutari เมื่อ Herbert อนุญาต เขาได้ขอให้เธอช่วยฝึก ปฏิบัติการ นั่นคือการยอมรับว่า ประเพณีและวิธีปฏิบัติ นางพยาบาลเพิ่มอีกหลายคน เพื่อจะได้ตามไปช่วยเธอ ที่ ผ่ า นมาล้ ว นผิ ด พลาด นอกเหนื อ จากเหตุ ผ ลนี้ แ ล้ ว ดูแลทหารบาดเจ็บที่นั่น นายพลในกองทัพก็รู้สึกไม่ยินดีที่ Nightingale เป็น Nightingale เดินทางไปตุรกีในวันที่ 31 ตุลาคม พลเรือน เพราะการไม่เป็นทหารทำให้เธอไม่อยู่ ในความ ค.ศ.1853 โดยมี “กองทัพนางพยาบาล” ร่วมขบวนด้วย ควบคุมของกองทัพ แต่เหตุผลที่สำคัญยิ่งกว่านั้น คือ 38 คน การเดินทางครั้งนั้นได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐบาล การที่เธอเป็นผู้หญิง ด้วยเหตุนี้เวลา Nightingale ทำงาน อังกฤษและจากหนังสือพิมพ์ The Times ส่วนเธอไม่ ได้ ที่ Scutari เธอจึงรู้สึกมีศัตรูมากมาย และถูกกลั่นแกล้ง รั บ ทุ น สนั บ สนุ น ใดๆ จากกองทั พ เลย และเธอได้ ตั้ ง เช่น กองทัพกำหนดให้นำเสื้อทหาร 27,000 ตัวไปให้ ความหวังว่า การทำงานชิ้นนี้จะทำให้ความฝันของเธอ กองทั พ ตรวจดู อ ย่ า งละเอี ย ดก่ อ นนำแจกให้ ท หารที่ ที่จะรับใช้สังคมเป็นจริง บาดเจ็บใส่ และเธอถูกห้ามเยี่ยมทหารบาดเจ็บในเวลา เมื่ อ Nightingale กั บ บรรดานางพยาบาล กลางคืน แต่เธอได้ทุนสนับสนุนจากองค์การอิสระ ทำให้ เดินทางถึง Scutari ในตุรกี เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ไม่ต้องขออนุญาตทำงานจากทหาร เธอจึงสามารถทำงาน ค.ศ.1853 ในวั น นั้ น กองทั พ สั ม พั น ธมิ ต รได้ สู้ ร บกั บ ที่เธอรักต่อไปได้ และก็ได้จัดตั้งโรงซักรีดผ้า โดยหาหม้อ กองทัพรัสเซียที่ Inkersmam อย่างดุเดือด ทำให้ทหาร ต้มน้ำ สร้างโรงครัวใหม่ จัดซื้อถุงเท้า เสื้อ มีด ช้อนไม้ จำนวนมากบาดเจ็ บ ครั้ น เมื่ อ Nightingale ได้ เ ห็ น อ่างอาบน้ำ โต๊ะ ชุดนอน โต๊ะผ่าตัด ผ้าเช็ดตัว หวี กรรไกร โรงพยาบาลทหารที่ Scutari ตกอยู่ ในสภาพที่สกปรกสุดๆ ภาชนะรองปัสสาวะ รวมถึงการนำปลอกหมอนที่สะอาด เช่ น ใต้ อ าคารมี น้ ำ ครำที่ ส่ ง กลิ่ น เหม็ น หึ่ ง เวลาลมพั ด มาใช้ในโรงพยาบาล ในเวลาดึก เธอจะเดินถือตะเกียง ในอาคารมีหนูวิ่งเพ่นพ่าน และในขณะเดียวกัน ทหาร ออกเยี่ยมไข้คืนละหลายครั้ง จนทำให้คนไข้ที่เคยมีแต่ ที่ป่วยและบาดเจ็บต้องนอนปะปนกันอย่างระเนระนาด ความทุกข์ ได้เห็นแสงสว่างแห่งความสุข เวลามีสุภาพสตรี บนเสื่อฟาง ผ้าปูที่นอนก็หยาบและสกปรก การซักผ้า ท่านหนึ่งเดินถือตะเกียงมาเยี่ยม และนี่คือ เหตุการณ์ที่ ก็ใช้น้ำเย็น และอุปกรณ์ผ่าตัดต่างๆ ไม่เพียงพอ การแจก เหล่าทหารที่บาดเจ็บรู้สึกประทับใจ และซาบซึ้งใจมาก จ่ายยาให้ผู้ป่วยก็ช้า เพราะต้องผ่านกระบวนการหลาย จนใน ค.ศ.1857 กวี William W. Longfellow ไดแตงบทกวี ้ ่ ขนตอนจนทหารททนพษบาดแผลไม่ไดตองเสยชวตไปกอน ั้ ี่ ิ ้้ ี ีิ ่ ที่ทำให้ชื่อของ Nightingale เป็นอมตะนิรันดร์กาลว่า Lo! นี่คือสภาพของโรงพยาบาลที่ทหารอังกฤษผู้บาดเจ็บทุกคน In that house of misery / a lady with a lamp I see. 3
  • 14. ในฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ.1855 ซึ่งเป็นเวลา แต่ก็สามารถบอกได้ว่าจะมีฆาตกรรมเกิดขึ้นประมาณ 6 เดือน หลังจากที่ Nightingale เริ่มทำงานที่ Scutari กี่ครั้งในปีนั้น เป็นต้น สถิติการตายของทหารที่บาดเจ็บในสงครามได้ลดลงจาก แม้ ผ ลงานของ Quetelet จะเป็ น ที่ ย อมรั บ 42.7% เป็น 2.2% โดยทั่วไป แต่ก็มีปราชญ์หลายคนที่ไม่เห็นด้วย เช่น John หลังจากที่สงคราม Crimea สงบได้ 4 เดือน Stewart Mill และนักประพันธ์ชื่อ Charles Dickens Nightingale ได้เดินทางกลับอังกฤษในเดือนกรกฎาคม เพราะคนเหล่านี้คิดว่า จิตใจของมนุษย์มีเสรีภาพมาก ค.ศ.1856 ขณะนั้ น เธอมี อ ายุ 36 ปี และมี ชื่ อ เสี ย ง จนไม่ น่ า จะมี ใ ครทำนายอะไรได้ ดั ง นั้ น ถ้ า สถิ ติ ข อง โด่งดังไปทั่วโลก แต่เธอก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเกียรติยศใดๆ Quetelet ใช้ได้จริง วิทยาการนี้ก็จะทำให้มนุษย์มีสภาพ เคยบอกว่า ถ้าอังกฤษจะให้เกียรติเธอจริง รัฐบาลอังกฤษ ไม่แตกต่างจากสัตว์ จำต้ อ งปฏิ รู ป ระบบการสาธารณสุ ข โดยเฉพาะใน แต่ Nightingale ไม่เห็นเช่นนั้น เธอรู้สึกศรัทธา โรงพยาบาลให้ดีขึ้น เพราะจะช่วยชีวิตคนไข้ได้มาก และ ในผลงานของ Quetelet มาก จึงเก็บข้อมูลต่างๆ ที่ ในการทำให้คนอังกฤษเชื่อว่าโรงพยาบาลต้องได้รับการ โรงพยาบาล Scutari มาวิเคราะห์ เช่น ได้รวบรวมจำนวน ปฏิรูปนั้น Nightingale ได้นำวิชาสถิติมาใช้ ผู้เสียชีวิตทุกวัน เพราะก่อนนั้น แม้แต่จำนวนคนตาย ทั้ ง ๆ ที่ นั ก คณิ ต ศาสตร์ รู้ จั ก ใช้ ส ถิ ติ ม าตั้ ง แต่ ในแตละวน ก็ไมมีใครรูและสนใจ ดงนัน เมือ Nightingale ่ ั ่ ้ ั ้ ่ สมั ย โบราณแต่ ยั ง ไม่ มี ใ ครดำริ น ำสถิ ติ ม าใช้ แ ก้ ปั ญ หา เดิ น ทางกลั บ ถึ ง อั ง กฤษใน ค.ศ.1856 และได้ พ บกั บ สังคม ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะข้อมูลที่มี ไม่มากพอ และ William Fan ผู้เป็นแพทย์และนักสถิติ การได้เรียนวิชา เทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ที่ ดี ก็ ไ ม่ มี แต่ เ มื่ อ Nightingale สถิติกับ Fan ทำให้ Nightingale ตระหนักในความสำคัญ นำสถิติมาวิเคราะห์ปัญหาสังคม เทคนิคนี้ได้กลายเป็นวิธี ของวิชานีวา สามารถนำมาใช้ปรับเปลียนระบบการพยาบาล ้่ ่ ที่สังคมยอมรับ และการสาธารณสุ ข ในโรงพยาบาลของกองทั พ และ ย้อนอดีตไปถึง ปี 1841 Lambert Adolph โรงพยาบาลทั่วไปได้ ทั้งนี้ เพราะบันทึกสาเหตุการตาย Jacques Quetelet ได้จัดตั้งสำนักงานสถิติแห่งเบลเยี่ยม ของทหารในโรงพยาบาลระบุชัดว่า เกิดจากความสกปรก ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกเพื่ อ หาสาเหตุ ที่ ท ำให้ ค นในสั ง คมมี ในโรงพยาบาลมากกวาเกดจากบาดแผล ที่ไดรบในสงคราม ่ ิ ้ั พฤติกรรมต่างๆ ความสำเร็จของผลงานนี้ทำให้ Quetelet Crimea สถติไดระบอยางชดเจนวา เมือสงครามเกดใหมๆ ิ ้ ุ ่ ั ่ ่ ิ ่ ได้ รั บ การยกย่ อ งเป็ น บิ ด าของวิ ช าสถิ ติ สั ง คม จากนั้ น ทหาร 607 คน ได้ล้มตาย แต่เมื่อ Nightingale จัดระบบ อีกหลายประเทศทั้งโลกก็ ได้เจริญรอยตาม โดยได้จัดตั้ง การรักษา และการสาธารณสุขให้ดีขึ้น จำนวนการตาย องค์การที่เก็บข้อมูลสถิติของประชากร และนำทฤษฎี ของทหารเมื่อสงครามสงบได้ลดลงอย่างฮวบฮาบ ข้อมูล ความน่าจะเป็นมาวิเคราะห์พฤติกรรมต่างๆ ของสังคมนั้น ยังแสดงให้เห็นชัดว่า ในการเปรียบเทียบจำนวนการตาย โดยใช้หลักของ Quetelet ที่ว่า แม้นักวิทยาศาสตร์จะไม่มี ของประชาชนกับทหารอังกฤษในยามประเทศชาติสงบ กฎที่สามารถทำนายพฤติกรรมของใครคนหนึ่งคนใดได้ ทหารที่มีอายุ 20-35 ปี จะเสียชีวิตมากกว่าคนทั่วไป แต่ถ้าจะให้บอกพฤติกรรมของกลุ่ม เขาสามารถใช้สถิติ ประมาณ 2 เทา ทังนี้ เพราะทหารใชชวตอยู่ในสิงแวดลอม ่ ้ ้ีิ ่ ้ บอกความนึกคิด และความเห็นต่างๆ ได้ โดยอาศัยข้อมูล ที่ ไม่ถูกสุขลักษณะนั่นเอง เช่น เพศ อายุและการศึกษา เพื่อพยากรณ์ความเป็นไปได้ เมือสมเดจพระราชนี Victoria แหงองกฤษ และ ่ ็ ิ ่ ั ของเหตุการณ์ต่างๆ เช่น จำนวนฆาตกรรมในฝรั่งเศส พระสวามีทรงทราบเรื่องของ Nightingale พระองค์ โดยประมาณในปี 1791 แม้สถิติจะระบุชื่อฆาตกรไม่ ได้ ทรงเห็นด้วยกับ Nightingale มากว่าสุขภาพของทหาร 4
  • 15. ในกองทัพอังกฤษเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นแม้บรรดาแม่ทัพ นายพลต่ า งๆ จะต่ อ ต้ า น Nightingale แต่ Lord Palmerston ผดำรงตำแหนงเปนนายกรฐมนตรีในขณะนน ู้ ่ ็ ั ั้ ก็ ไ ด้ บั ญ ชาให้ จั ด ตั้ ง สำนั ก งานสุ ข ภาพของกองทั พ ใน พระบรมราชิ นู ป ถั ม ภ์ ถึ ง Nightingale จะมิ ไ ด้ เ ป็ น กรรมการบริหารของสำนักงานนี้ (เพราะเธอเป็นผู้หญิง) แต่แนวคิดของเธอก็มีอิทธิพลมากต่อการตัดสินใจของ รั ฐ มนตรี ก ระทรวงกลาโหมที่ อ นุ ญ าตให้ เ ธอเดิ น ทางไป Crimea ในเวลาต่อมาเธอได้เรียบเรียงตำราชื่อ Notes on Matters Affecting the Health Efficiency and Hospital Administration of the British Army ซึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง เทคนิ ค สถิ ติ และมี แ ผนภาพ มากมาย ประกอบคำบรรยาย หนังสือเล่มนี้ ได้รับการยกย่องโดย Fan ว่ า เป็ น หนั ง สื อ สถิ ติ ที่ ดี เ ด่ น ที่ สุ ด ที่ เ ขาเคยเห็ น อินเดียในปี 1858 เพราะข้อมูลระบุว่า อัตราการตายของ และเคยอ่าน ทหารอังกฤษในอินเดียในแต่ละปีสูงกว่าอัตราการตายของ ณ วั น นี้ Nightingale ได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า พลเมืองอังกฤษถึง 6 เท่า การที่เป็นเช่นนี้ เพราะกองทัพ เป็นผู้บุกเบิกการใช้สถิติ ในรูปของแผนภาพ และแผนที่ ที่นั่นไม่มีระบบกำจัดน้ำเสียที่ดี การอยู่อย่างแออัด และ พื้นที่เชิงขั้ว (polar-area chart) ซึ่งแสดงให้เห็นพื้นที่ ทหารขาดการออกกำลังกายเหล่านี้ ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญ ของลิ่ มในแผนภาพวงกลมว่าขึ้นกับจำนวนคนอย่า งไร ดังนั้นภายในเวลา 10 ปี หลังจากที่ Nightingale ได้เสนอ และเมื่ อ ผลงานของเธอได้ รั บ การยกย่ อ งและยอมรั บ วิธีปฏิรูปนี้ ทหารอังกฤษในอินเดียที่เสียชีวิตก็ ได้ลดจาก รั ฐ บาลอั ง กฤษจึ ง ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานต่ า งๆ ตามที่ เ ธอ 6.9% เป็น 1.8% ความสำเร็จนี้ทำให้ผู้สำเร็จราชการ เสนอ สำหรั บ โรงพยาบาลทหารก็ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง อังกฤษทุกคนที่จะถูกส่งไปประจำที่อินเดีย ต้องขอเข้า เชน มการตดตังระบบถายอากาศ ระบบทำความรอน ระบบ ่ ี ิ ้ ่ ้ คารวะเธอกอนไปประจำการ เพือนอมรบความเหนของเธอ ่ ่ ้ ั ็ กำจดสิงปฏกล ระบบประปา อกทังไดปฏรปโรงอาหารใหม่ ั ่ ิู ี ้ ้ ิู ทั้งๆ ที่เธอไม่เคยไปอินเดียเลย ส่ ว นกองทั พ ก็ มี ก ารออกกฎหมายสุ ข ภาพ มี ก ารจั ด ตั้ ง Nightingale จึ ง ได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น ผู้ โรงเรี ย นแพทย์ท หาร และหน่ว ยงานสถิติของกองทัพ รู้ จั ก ใช้ ส ถิ ติ ส ร้ า งองค์ ค วามรู้ ไ ด้ โ ดยอาศั ย ประสบการณ์ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพราะ Nightingale เป็นคน ทั้งนี้ เพราะเธอเชื่อว่าสถิติสามารถจำแนกได้ว่าวิธีการใด สำคัญของชาติดังนั้นความเห็นของเธอทุกเรื่องสามารถ ดีกว่ากัน แต่เมื่อโรงพยาบาลสมัยนั้นไม่เคยคิดจะเก็บ ทำให้ ค ณะรั ฐ มนตรี ค ลอนแคลนได้ ถ้ า เธอไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ข้อมูลต่างๆ ของคนไข้เลย เธอกับ Fan จึงออกแบบ และบรรดานักการเมืองต่างก็ต้องฟังความคิดเห็นของเธอ สำรวจให้โรงพยาบาลใช้ และ International Congress ถ้าเขาต้องการให้สังคมยอมรับ หลังสงคราม Crimea of Statistics ก็ ไ ด้ น ำแบบฟอร์ ม นั้ น มาทดลองใช้ ใ น Nightingale ได้ หั น ไปสนใจปั ญ หาสุ ข ภาพของทหาร ปี 1860 เพื่อเก็บข้อมูลคนไข้ตลอดปี ทั้งที่หายไข้ และ ในอินเดีย โดยได้ส่งแบบฟอร์มสำรวจไปให้ทหารที่นั่น ที่ ต ายไป สำหรั บ วิ ธี ก ารใช้ ส ถิ ติ แ ก้ ปั ญ หาสั ง คมนั้ น เพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล สาธารณสุ ข และเมื่ อ ได้ ข้ อ มู ล มา Nightingale เชื่อว่า เพราะพระเจ้าได้ทรงวางกฎเกณฑ์ พอสมควร เธอก็ ได้เสนอให้จัดตั้งสำนักงานสถิติขึ้นใน ต่างๆ สำหรับสังคมในรูปของสถิติ ดังนั้นคนที่จะเข้ามา 5
  • 16. บริหารสังคมและการเมืองจึงต้องรู้สถิติบ้าง นอกจากจะใช้ ซึ่งเป็นพี่สาวของ Florence กลับไม่สนใจอ่านหนังสือเลย สถิติด้วยตนเองแล้ว เธอก็ต้องการให้สถาบันการศึกษา แต่ Florence มักใช้เวลาอยู่กับพ่อในห้องสมุด และเมื่อ ชั้นสูงทุกแห่งสอนสถิติด้วย Florence ก็รู้สึกว่าแม่ โปรดปราน Parthe มากกว่าตน ในบั้ น ปลายชี วิ ต Nightingale ก็ ยั ง เป็ น เธอจึ ง รู้ สึ ก โหยหาความรั ก จากแม่ ม าก และเมื่ อ แม่ มี นางพยาบาลต่อไป เพราะเธอคิดว่า พระเจ้าทรงต้องการ ความเห็นว่าสามีคือสิ่งที่จะทำให้ผู้หญิงทุกคนสมบูรณ์ ให้เธอทำงานนี้ แต่สุขภาพเธอไม่ดี ทำให้ต้องนอนเตียง เธอรู้สึกรับความคิดนี้ไม่ ได้ เพราะเธอคิดว่าความสามารถ ตลอดเวลา เหตุการณ์นี้ทำให้คนหลายคนคิดว่า เพราะเธอ ในการทำงานเท่านั้นที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนที่สมบูรณ์ คงติดโรคจากสนามรบ แต่หลายคนคิดว่าอาการประสาท ดงนัน เมือ Florence วย 25 ปี บอกแมวา จะไป ั ้ ่ ั ่่ อ่อนๆ ทำให้เธอต้อนรับคนที่มาเยี่ยมเฉพาะในห้องนอน ทำงานที่โรงพยาบาลทหารแห่งมือง Salisbury ในอังกฤษ และใครจะมาเยี่ยมเธอต้องนัดเธอล่วงหน้านานๆ เป็นต้น แม่ Fanny ก็ตกใจมากเพราะวิตกว่าลูกสาวของตนคงโดน ในปี ค.ศ.1860 Nightingale ได้จัดตั้งโรงเรียน หมอลามก หรือคนไข้ทำเสน่ห์ ดังนั้น แม่กับลูกสาวจึง ฝึกนางพยาบาลชื่อ Nightingale School of Nursing ทะเลาะกนเสยงลนบาน จนพอตองหนเี ขาหองสมด ในทสด ั ี ั่ ้ ่ ้ ้ ้ ุ ี่ ุ at St Thomas’s ให้นางพยาบาลมีทั้งคุณธรรม และ Florence ได้ตัดสินใจไม่ ไป Salisbury ตามใจแม่ แต่เมื่อ วชาการ และเธอกทำไดสำเรจ เพราะในปี 1861 การสำรวจ ิ ็ ้ ็ เธอตัดสินใจไม่แต่งงานกับ Milnes ผู้เป็นหนุ่มที่สาว ประชากรในอังกฤษระบุว่ามีคนทำงานเป็นผู้ช่วยพยาบาล อังกฤษในสมัยนั้นใฝ่ฝัน หลังจากที่ ไปมาหาสู่กันถึง 9 ปี เพียง 27,618 คน แต่อีก 40 ปีต่อมา สถิติระบุว่าอังกฤษ ครอบครัวก็ลกเป็นไฟอีก เพราะ Fanny กล่าวหาว่า Florence ุ มีนางพยาบาล 64,214 คน เป็นเด็กอกตัญญูที่ ไม่ยอมแต่งงาน เมือ Nightingale อายุ 63 ปี เธอไดรบเหรยญสดดี ่ ้ั ี ุ ในช่ ว งเวลาที่ Florence เดิ น ทางไปเยื อ น Royal Red Cross ขององกฤษ และอก 2 ปตอมา เธอเปน ั ี ี่ ็ โรงพยาบาล Deaconess ที่ Kaiserwerth ในเยอรมนี สตรีคนแรกที่รับเกียรติยศ Order of Merit (O.M) ซึ่ง เธอได้ เ ขี ย นจดหมายขอร้ อ งให้ Fanny ยกโทษ และ เป็นยศสูงสุดที่กษัตริย์อังกฤษทรงประทานให้สามัญชน ขออนุญาตให้เธอทำสิ่งที่เธอต้องการบ้า ง แต่ Fanny ชาวอังกฤษ Nightingale เสียชีวิตที่ London เมื่อวันที่ ไม่ยินยอม เพราะเธอต้องการสร้าง Florence ในรูปแบบ 13 สิงหาคม ค.ศ.1810 ที่เธอต้องการ Florence จึงรู้สึกหดหู่มาก ในวารสาร History Today ฉบับเดือนเมษายน เมื่ อ ถึ ง ปี ค.ศ.1851 Florence ได้ ตั ด สิ น ใจ ค.ศ.2003 Liane Aukin นักจิตวิทยาได้วิเคราะห์สาเหตุ อย่างเด็ดขาดว่าเธอไม่ต้องการความรักและความเห็นชอบ ที่ทำให้ Florence Nightingale ประสบความสำเร็จ ในทุกเรื่องจากแม่อีกต่อไปแล้ว ขณะนั้นเธอมีอายุ 31 ปี ในการเป็นนักบริหาร และนักปฏิรูปที่สังคมยกย่องว่า เท่ากับอายุพระเยซูขณะออกเทศนา เธอได้ไปหาคนสำคัญ ความผิดหวังที่เธอได้รับจากแม่ ได้ผลักดันให้เธอทุ่มเท ที่สุดที่เธอรู้จัก คือ Sidney Herbert ผู้ดำรงตำแหน่ง ชีวิตในการทำงานจนเป็นสตรีที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง รั ฐ มนตรี ก ระทรวงกลาโหมในคณะรั ฐ มนตรี ข องนายก ในโลก Aukin ได้วิเคราะห์ว่า เมื่อแม่ผิดหวังที่มีเธอเป็น รฐมนตรี Lord Aberdeen และ Herbert ไดบอกบดามารดา ั ้ ิ ผู้หญิง ซึ่งทำให้คฤหาสน์ของตระกูล Nightingale ไม่มี ของ Nightingale ให้อนุญาตให้เธอไปทำงานที่เธอรัก คนสืบทอด เธอได้ทำให้แม่ผิดหวังซ้ำอีก เมื่อต้องการเป็น โลกก็ มี วี ร สตรี ค นใหม่ ทั น ที ตลอดเวลาประจำการที่ นางพยาบาล เพราะการตดสนใจเชนนัน แมจงคดวาเธอคง ั ิ ่ ้ ่ึ ิ ่ Scutari นางพยาบาล Nightingale มี ค วามรู้ สึ ก ว่ า เป็นโรคจิตที่ชอบอยู่ ใกล้คนเจ็บ และเมื่อบิดา William เหล่าทหารคือลูก และเธอคือแม่ เธอทำงานหนักจนภรรยา ได้จัดการให้ลูกสาวทั้งสองเรียนหนังสือที่บ้าน Parthe และสมาชิ ก ครอบครั ว ของทหารที่ บ าดเจ็ บ ต่ า งก็ เ ขี ย น 6
  • 17. จดหมายมาขอบคุณเธอ และเรียกเธอว่า Darling Mother แต่ประชาชนอังกฤษทุกคนก็รู้ว่าเธอยังมีชีวิตอยู่ หนังสือ เธอได้เปรียบเทียบทหารว่าต้องการเธอเหมือนลูกต้องการ Notes of Nursing ทีเ่ ธอเขยนขายดถงระดบเบสเซลเลอร์ ี ีึ ั แม่ และเธอบอกว่า เธอให้ความรักและความสนใจแก่ทหาร โดยเธอไดเ้ ปรยบเทยบโรงพยาบาลเปนบาน และนางพยาบาล ี ี ็ ้ 18,000 คน ในเวลา 1 สัปดาห์ มากยิ่งกว่าความรักและ เป็นแม่ การมีพ่อที่อ่อนแอ และแม่ที่เป็นคนเจ้ากี้เจ้าการ ความใส่ ใจที่เธอได้รับจากแม่ตลอดอายุ 37 ปีของเธอ ไปทุ ก เรื่ อ งทำให้ Florence ไม่ ชื่ น ชมความคิ ด ที่ จ ะมี เมื่อกลับจากสงคราม Crimea Nightingale ครอบครัว ดังนั้น เวลานางพยาบาลในความดูแลของเธอ ได้ย้ายออกจากคฤหาสน์ของครอบครัวไปพักที่ โรงแรม ขอลาไปแต่งงาน เธอจะรู้สึกผิดหวัง Burlington ใกล้ Piccadilly ในลอนดอน และเริ่มปฏิรูป ถึงเธอจะเป็นอสุรกายในสายตาของแม่ แต่เธอก็ การพยาบาล โดยได้ทูลขอสมเด็จพระราชินี Victoria เป็นเทพธิดาในสายตาของสังคม เพราะทุกวันนี้ โลกรู้ว่า ให้ ท รงออกกฎหมายสอบสวนพฤติ ก รรมของทหาร เธอประสบความสำเรจในการทำอาชพพยาบาลใหเ้ ปนอาชพ ็ ี ็ ี ในสงคราม ที่มีเกียรติ และนี่ก็คือมรดกที่ Florence Nightingale เมื่อมีชื่อเสียง แม่ Fanny กับพี่สาว Parthe ได้มอบให้แก่ โลก จนทำให้วันที่ 12 พฤษภาคมของทุกปี ได้ขอเข้ามาใช้ชีวิตใกล้เธอ แต่ Florence ไม่ต้องการ ซึ่งเป็นวันเกิดของเธอ ได้รับการยอมรับเป็นวันพยาบาล เพราะเธอกลัวแม่กับพี่สาวจะเข้ามาควบคุมจิตใจเธออีก ความกลัวทำให้เธอเริ่มมีอาการหายใจไม่ออก เหงื่อตก และเปนลมบอย ทกครังทีแมกบพีสาวมาเยียม จนในทีสด ็ ่ ุ ้ ่ ่ั ่ ่ ุ่ เธอได้ออกคำสั่งห้ามคนทั้งสองมาเยี่ยมเธออย่างเด็ดขาด แต่เธอก็ยังเขียนจดหมายถึงแม่ ที่ ไม่ ได้ไปเยี่ยมเลยเป็น เวลานานถึง 20 ปี จนกระทั่ง Fanny อ่อนแอลงมาก ตาใกล้บอด และต้องการคนดูแลอย่างใกล้ชิด เธอจึง เดินทางไปดูใจเป็นครั้งสุดท้าย Fanny เสียชีวิตเมื่ออายุ 92 ปี ขณะนั้น Florence มีอายุ 60 ปี ชีวิตของ Florence คือ ตั้งแต่กลับจากสงคราม Crimea จนกระทั่ ง ตาย เป็ น ไปอย่ า งโดดเดี่ ย วมาก เพราะเธอพบแขกครั้ ง ละคน และให้ ค ำแนะนำในการ พยาบาลคน แต่ไมพยาบาลใคร เวลาเสนอความเหนเกยวกบ ่ ็ ี่ ั กฎหมายพยาบาล เธอไม่ ไปฟังการอภิปรายใดๆ แต่เธอ ให้คนอ่านความเห็นของเธอในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อ กันนาน 6 ชั่วโมง เธอไม่ชอบปรากฎกายในที่สาธารณะ 7
  • 18. การจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม Industrial Risk Management จิตลดา ซิ้มเจริญ1 และนิศากร สมสุข1 บทคัดย่อ การทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมทุกวันนี้ต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุและอันตราย จากการทำงานที่ส่งผลกระทบต่อพนักงานทั้งพิการ สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน และยังส่งผลร้ายแรงต่อความมั่นคงและ ความอยู่รอดขององค์กรที่ ไม่ ได้วางแผนป้องกันความเสี่ยงไว้ การจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นเทคนิค สำคัญที่โรงงานอุตสาหกรรมควรนำไปใช้อย่างจริงจัง ซึ่งในบทความนี้ได้นำเสนอวิธีจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ในการทำงานภาคอตสาหกรรม ซึงมหวใจสำคญอยูทีการคนหาและระบความเสียง การชีบงอนตราย การประเมนความเสียง ุ ่ ีั ั ่่ ้ ุ ่ ้่ ั ิ ่ และการจัดทำแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงที่โรงงานสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ได้อย่างง่าย ไม่ซับซ้อน และสามารถ ลด ป้องกัน และจัดการความเสี่ยงให้บรรลุเป้าหมายความเสี่ยงเป็นศูนย์ อุบัติเหตุเป็นศูนย์ ได้อย่างเห็นผล คำสำคัญ : การชี้บ่งอันตราย, การประเมินความเสี่ยง, แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง Abstract Nowadays, employees working in industries have to deal with the risk of accidents and emergencies arising from the hazard. These injuries are the leading cause of death, disability, and economic loss. They will also affect industry’s stability and survive in the future if they do not have a risk management plan. The efficient risk management is an important technique by which industries should implement it seriously. This paper provides risk management in working environments. The main concepts of risk management is in searching for and identifying risk, identifying hazard, risk assessment, doing a risk management plan that can be applied easily, and being able to reduce, protect and manage risk in order to achieve the goal in zero accident and zero risk. Keywords : Hazard identification, Risk assessment, Risk management plan 1 อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 8