SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อดอกของต้นพุดพิชญา
นำาเสนอครผผผสสอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตำาแหนงงครผ คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุงมสาระการเรียนรผสวิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. ธนพล ลำาไพ เลขที่ 29
2.พัชรพล อมฤตธานนท์ เลขที่32
3.ภผมิภัทร วัฒนกุลจรัส เลขที่35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หสอง 78
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นสงวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทคัดยงอ
การปลูกพืชในปัจจุบันนั้นนิยมฉีด ฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืช ในส่วนที่เรา
ต้องการ
จากการสังเกต ฮอร์โมนต่างๆหลายชนิด พวกเรารุ้สึกสนใจใน ฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิด
ดอกของต้นไม้ และต้นไม้ที่ผมนำามาใช้ในการทดลองคืือต้นพุดพิชญา ทำาการทดลองโดยแบ่งการทดลอง
เป็น 3 กลุ่ม ตามปริมาณของฮอร์โมนที่ใช้ โดยแบ่งเป็น High dose(0.15%) low dose(0.1%) control(0%)
พวกเราจะฉีดฮอร์โมน 2 วันคืรั้ง และรดนำ้าทุกวัน จากนั้นดูการเกิดดอกทุกๆ 2 วัน และจดบันทึกผลการ
ทดลอง
จากการทดลองพบว่า ไม่ว่าจะใช้ฮอร์โมนที่คืวามเข้มข้นเท่าไหร่ ก็ให้ผลไม่ต่างกัน พวกเราจึงสรุป
ว่าฮอร์โมนออกซินไม่มีผลต่อการเกิดดอก
กิตติกรรมประกาศ
โคืรงงานออกซินกับจำานวนดอกของต้นพุดพิชญาจะสำาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก
คืรูวิชัย คืรูประจำาวิชา ที่ช่วยให้คืำาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโคืรงงาน ตลอดจนเอื้อเฟื้ื้อสถ้าานที่
และออกแบบผลงานนายสมบูรณ์ อมฤตธานนท์ ที่ช่วยอนุเคืราะห์อุปกรณ์เคืรื่องมือต่างๆ ในการทดลอง
ขอขอบคืุณผู้ปกคืรอง คืรูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้คืวามช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กำาลังใจ
ตลอดมา
คืณะผู้จัดทำาโคืรงงานขอขอบคืุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คืณะผู้จัดทำา
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนำา 5
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7
บทที่ 3 การดำาเนินงาน 11
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคืราะห์ผลการทดลอง 12
บทที่ 5 14
บรรณานุกรม 15
ภาคืผนวก 16
บทที่ 1 บทนำา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อดอกของต้นพุดพิชญา
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1.ธนพล อำาไพ เลขที่29
2.พัชรพล อมฤตธานนท์ เลขที่32
3.ภผมิภัทร วัฒนกุลจรัส เลขที่35
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คืณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผผสสอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์คืรู คืศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสำาคัญ
เนื่องจาก พุดพิชญานั้นมีคืวามสัญกับเรามากคืรับ คืนเรานิยมนำาพุดพิชญามาเป็นพืชตกแต่งเพื่อ
คืวามสวยงามและยังนำามาเป็นสมุนไพรรักษาโรคืได้ด้วยคืรับ นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินนั้นกระตุ้นการ
เจริญเติบโต ทำาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ ส่วนของพืชที่พวกเราศึกษาคืือดอก พวกเราอยากรู้ว่า
ฮอร์โมนออกซินนั้นช่วยเร่งการออกดอกได้ด้วยหรือไม่
คืณะผู้รับผิดชอบโคืรงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีคืวามสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิ
นที่มีต่อดอกของพุดพิชญา โดยมีวัตถ้าุประสงคื์เพื่อเพิ่มคืวามรู้ในเรื่องการออกดอกของต้นไม้ คืณะผู้รับผิด
ชอบโคืรงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีคืวามมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อการศึกษาใน
อนาคืตต่อไป
คำาถามการทำาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนออกซินที่คืวามเข้มข้นใดจะส่งผลให้พุดพิชญามีดอกมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้า้าฮอร์โมนออกซินที่คืวามเข้มข้น high dose มีผลต่อดอกให้เจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน
ออกซินที่คืวามเข้มข้น 0.15%จะทำาให้ดอกจำานวนดอกมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาอิทธิพลของออกซินต่อจำานวนดอกที่ออกมาของพุดพิชญา
2. เพื่อเปรียบเทียบคืวามเข้มข้นของฮอร์โมนไหนที่ทำาให้ดอกเจริญได้ดีที่สุด
ประโยชน์ที่คาดวงาจะไดสรับ
1. ได้รับคืวามรู้คืวามเข้าใจเรื่องอิทธิพลของออกซินต่อดอก
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบคืวามเข้มข้นที่เหมาะสมต่อการใช้
3. เป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้มีประโยชน์
ขอบเขตของโครงงาน
การทำาโคืรงงานคืรั้งนี้คืณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะส่วนดอกของพุดพิชญา
ตัวแปรที่เกี่ยวขสอง
ตัวแปรต้น คืือ คืวามเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตาม คืือ จำานวนดอกที่ออกมา
ตัวแปรคืวบคืุม คืือ ปริมาณนำ้า ปริมาณฮอร์โมน
ชงวงระยะเวลาในการทำาโครงงาน
1 กรกฎาคืม-14 กรกฎาคืม
วิธีการเก็บขสอมผล
การนับจำานวนดอกที่ขึ้นมาใหม่ของแต่ละต้น แล้วจดบันทึกลงในตารางที่ได้ออกแบบไว้
วิธีการวิเคราะห์ผลขสอมผล
การหาคืวามสัมพันธ์ระหว่าง เวลา กับจำานวนดอกที่เพิ่มขึ้น ในรูปแบบกราฟื้เส้น
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขสอง
1. เนื้อหาที่เกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใชส
พุดพิชญา เป็นพืชในสกุลโมก ในประเทศไทยนำาเข้าจากประเทศศรีลังกา มีชื่อทองถ้าิ่นว่า "อิดด้า"
(Inda) มีคืวามหมายว่าดอกไม้สีขาวบริสุทธิ์ ผู้นำาเข้าคืือ คืุณปราณี คืงพิชญานนท์ ลักษณะของดอกสีขาว
เหมือนกลุ่มดอกพุดในบ้านเรา เธอจึงนำาชื่อ ดอกพุด มา สมาส เข้ากับวลีนามสกุล ออกมาเป็นชื่อใหม่ว่า
"พุดพิชญา"
พุดพิชญาเป็นไม้หลายขนาด ทั้งต้นเตี้ย ต้นสูง และต้นใหญ่ ลำาต้นสีนำ้าตาล ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสี
เขียวอ่อน ไม่ผลัดใบ ออกดอกตลอดทั้งปี ให้ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ดอกบานทนตั้งแต่แรก
แย้มไปจนสู่บานเต็มที่ ใช้เวลา 4 - 5 วัน ดอกตูมในช่อดอกอื่นๆก็คื่อยทยอยโต และทยอยกันบานไป
เรื่อยๆ ลักษณะดอกเป็นกลีบแยก 5 กลีบ เกสรตรงกลางสีเหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบ เมื่อดอกบาน
เต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว ก้านดอกยาวประมาณ 1 นิ้ว.
ปลูกเป็นไม้กระถ้าางก็ได้หรีอปลูกลงดินก็ได้ เลี้ยงง่าย ปรับตัวได้ในเกือบทุกสิ่งแวดล้อม ใช้ปุ๋ยคือก
หรือปุ๋ยใบจามจุรีหมัก เพราะมีไนโตรเจนสูง ถ้า้าต้องการเร่งและบำารุงดอกใช้ปุ๋ยขี้ไก่ เพราะมีฟื้อสฟื้อรัสสูง
ขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง และการปักชำา
2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใชส
การสังเคราะห์ออกซิน
ออกซินเป็นฮอร์โมนที่แพร่กระจายทั่วไปในพืช มีเข้มข้นสูงที่เนื้อเยื่อเจริญ ตำาแหน่งที่มีการสังเคืราะห์ออก
ซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่กำาลังเจริญ เมล็ดที่กำาลังงอก
เอ็มบริโอและผลที่กำาลังเจริญ การสังเคืราะห์ออกซินเกิดในเนื้อเยื่อที่มีอายุมากน้อยหรือไม่มีเลย สารตั้งต้น
ของการสังเคืราะห์ออกซินในพืช คืือกรดอะมิโนทริปโตแฟื้น (Trytophan) ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบ
คืือแบบอิสระ สามารถ้าเคืลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่กับสารอื่นๆ ทำาให้เคืลื่อนที่ได้น้อยห
รือไม่ออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์ของฮอรืโมนออกซิน
 การชักนำาการยืดขยายเซลล์ลำาต้น และเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด ถ้า้าออกซินสูงเกินไปจะยับยั้งการ
เติบโตเพราะออกซินที่สูงเกินจะกระตุ้นให้พืชสร้างเอทิลีนออกมา และไปกดการยืดขยายตัวของ
เซลล์
 การเพิ่มคืวามยืดหยุ่นของผนังเซลล์ โดยเฉพาะในต้นอ่อนและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด การเพิ่มคืวาม
ยืดหยุ่นของผนังเซลล์จะช่วยให้เซลล์ยืดขยายตัวได้
 กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการยืดขยายตัวของเซลล์ เกิดจากการเพิ่มคืวามยืดหยุ่นที่ผนังเซลล์ เพิ่ม
คืวามดันออสโมติกและลดคืวามกดดันที่ผนังเซลล์ ทำาให้เซลล์ขยายขนาดได้ง่าย และอาจจะส่งเสริม
การสังเคืราะห์โปรตีนที่จำาเป็นต่อการเติบโต
 เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้ว ส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อ
ปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ลำาต้นต้องการออกซินสูงกว่าในราก ถ้า้าสูงเกินไปจะยับยั้งการเติบโต
 ส่งเสริมการเจริญของไซเลม ซึ่งจากการศึกษาในแคืลลัส เมื่อเติมออกซินลงไป ออกซินจะช่วย
ให้การเชื่อมต่อของเนื้เยื่อลำาเลียงในแคืลลัส ทำาให้แคืลลัสเกิดเป็นตา การเพิ่มนำ้าตาลและออกซินลง
ในอาหารเลี้ยง ทำาให้แคืลลัสเจริญเป็นลำาต้นและกลายเป็นพืชต้นใหม่
 การเพิ่มกิจกรรมของกรดนิวคืลีอิก โดยออกซินเช่น IAA มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มีการสังเคืราะห์
RNA โดยออกซินอาจจะมีบทบาทช่วยในการเข้าถ้าึงยีน เช่นช่วยให้ฮิสโตนหลุดออก
จาก DNA ทำาให้ RNA polymerase II โดยเฉพาะการสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการยืดขยายของ
ผนังเซลล์
 การยับยั้งการร่วงของใบ การร่วงของใบเกิดจากการเกิดชั้นก่อการร่วงที่ผนังเซลล์ของเซลล์ในแนว
ดังกล่าวจะเกิดการแยกออกจากกิ่งหรือต้น ในเนื้อเยื่ออ่อนที่มีออกซินสูง การเกิดชั้นก่อการร่วงจะไม่
เกิดขึ้น ถ้า้าตัดแผ่นใบทิ้งเหลือแต่ก้านใบ แล้วนำาออกซินมาทาที่ก้านใบ ก้านใบที่ได้รับออกซินจะร่วง
ช้ากว่า ถ้า้าให้ออกซินแก่ใบตั้งแต่ระยะแรกๆก่อนโตเต็มที่ จะทำาให้ใบร่วงช้ากว่าใบพืชที่ไม่ได้รับออก
ซิน
 การยืดขยายคืวามยาวของราก รากจะไวต่อคืวามเข้มข้นของออกซินมาก IAA ปริมาณตำ่าจะกระตุ้น
การขยายตัวของรากได้ดี โดยที่ไม่มีผลต่อลำาต้น ส่วนคืวามเข้มข้นที่กระตุ้นการเจริญของลำาต้นจะสูง
เกินไปสำาหรับราก จนกลายเป็นการยับยั้ง
 การเกิดรากแขนง ออกซินมีผลต่อการกระตุ้นให้เกิดรากแขนง การตัดใบหรือตาอ่อนที่สร้างออกซิ
นออกไปทำาให้การแตกรากแขนงน้อยลง แสดงว่าการเกิดรากแขนงถ้าูกคืวบคืุมโดยออกซินที่สร้าง
จากลำาต้น นอกจากนั้น ออกซินยังส่งเสริมการเกิดรากแขนงในกิ่งปักชำา โดยรากแขนงเกิดได้ดีจาก
โฟื้ลเอมส่วนใกล้ๆข้อ
 คืวามเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช โดยทำาให้อวัยวะ
ของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่นแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยวเสีย
รูปทรง การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด
บทที่ 3 การดำาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ฮอร์โมนออกซิน
2. ฟื้อกกี้
3. ต้นพุดพิชญา
4. หนังสือพิมพ์
5. สมุดบันทึก
ขั้นตอนการทำาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนแบ่งงานกันทำา
2. ศึกษาและคื้นคืว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโคืรงงานดังนี้
2.1. โคืรงสร้างของต้นพุดพิชญา
2.2. ฮอร์โมนออกซิน
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง
4. หาสถ้าานที่ที่ใช้ในการทำาทดลอง
5. จัดทำาเคื้าโคืรงโคืรงงาน เพื่อนำาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนำาไปปรับปรุงและแก้ไข
6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำาการทดลอง
-ฮอร์โมนออกซิน
-ฟื้อกกี้
-ต้นพุดพิชญา
-หนังสือพิมพ์
-สมุดบันทึก
7. ขั้นตอนกระบวนการทำาการทดลอง
-จัดต้นไม้เป็น 3 กลุ่มการทดลอง แยกเป็น high dose(0.15%) low dose(0.1%) และ control(0%)
-ทำาการรดนำ้าโดยการผสมฮอร์โมนออกซินลงในนำ้า
-สังเกตการเปลี่ยนแปลงของจำานวนดอกและบันทึก
8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
9. จัดทำาเอกสารเป็นรูปเล่มโคืรงงานให้สมบูรณ์
10. จัดทำาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
11. นำาเสนอโคืรงงาน
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
High dose Low dose Control
จำานวนดอก จำานวนดอก จำานวนดอก
1 กรกฎาคม 2560 1 1 1
2 กรกฎาคม 2560 2 1 1
4 กรกฎาคม 2560 4 2 3
6 กรกฎาคม 2560 4 3 3
8 กรกฎาคม 2560 0* 3 4
10 กรกฎาคม 2560 0* 2 3
12 กรกฎาคม 2560 2 2 1
14 กรกฎาคม 2560 2 2 2
*หมายเหตุ:ดอกไมสหายไปเนื่องจากปัจจัยตงางๆเชงน ฝนตก ฝีมือมนุษย์
กราฟแทงงแสดงผลการทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลอง
คืวามเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจำานวนดอก อาจจะให้ผลไม่ต่างกันเลย อาจจะเป็นเพราะว่า
ออกซินไม่มีผลต่อการเร่งดอก เพราะว่าจากที่พวกผมเก็บข้อมูลการเพิ่มของจำานวนดอกนั้น จะใช้คืวามเข้ม
ข้นระดับไหนก็ไม่ได้มีตัวไหนมีดอกออกเยอะเป็นพิเศษ และในระหว่างการทำาการทดลองนั้นอาจจะมี
จำานวนดอกลดลงได้ด้วย เนื่องด้วยจากหลายๆปัจจัยอย่างเช่น มีคืนมาเด็ดเล่น มีฝนตกหนักทำาให้ดอกหลุด
ออก การผลัดดอกของตัวต้นไม้เอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขสอเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
การเรงงการเกิดดอก เกษตรกรหลายท่านเข้าใจว่าสารในกลุ่มออกซินนี้เร่งการเกิดดอกของพืชได้ แต่แท้จริง
แล้ว ผลของออกซินในข้อนี้ยังคื่อนข้างเลื่อนลอย เท่าที่มีงานทดลองสรุปได้แน่ชัดว่าออกซินเร่งการเกิดดอก
ได้เฉพาะในสับปะรดเท่านั้น การใช้ NAA หรือ IBA สามารถ้าเร่งการเกิดดอกของสับปะรดได้ แต่มี
ประสิทธิภาพตำ่ากว่าการใช้ถ้า่านกาาซ (calcium carbide) และ ethephon อย่างไรก็ตามเชื่อว่าการเกิดดอกของ
สับปะรดไม่ได้เป็นผลของ NAA หรือ IBA โดยตรง แต่เป็นผลทางอ้อมที่สารดังกล่าวไปกระตุ้นให้ต้น
สับปะรดสร้างเอทิลีนขึ้นมา
และเอทิลีนเป็นตัวกระตุ้นให้สับปะรดเกิดดอก สำาหรับในประเทศไทยเคืยมีการแนะนำาให้ใช้ NAA ผสมกับ
โพแทสเซียมไนเตรท (KNO3) เพื่อฉีดเร่งดอกมะม่วง แต่ยังไม่มีข้อมูลใดๆ ยืนยันว่าวิธีการดังกล่าวใช้ได้ผล
ดังนั้นจากที่พวกเราสืบคื้นจะเน็ตจนได้ ข้อสรุปอย่างข้างบนที่ยกมา
แต่จากที่พวกเราได้ไปศึกษาเรื่องคืวามแตกต่างของ High dose Lowdose และ control นั้นจะเกิดจากการที่
พืชชนิดนั้นๆอาจจะต้องการฮอร์โมนในการเร่งที่ต่างกันบางทีมากไปก็อาจจะเป็นผลเสีย หรือน้อยไปก็อาจ
จะเป็นผลดีได้หรือบางที่ ชุด control อาจจะดีที่สุดก็ได้
ขสอเสนอแนะเพิ่มเติม
ปัญหาที่เป็นหลักๆเลยคืือ ต้นไม้อาจจะตายได้ อาจจะเป็นเพราะ การรดนำ้าที่ไม่เพียงพอ หรืออาจจะ
เป็นจากการที่มีคืนหรือสิ่งต่างๆมาชนต้นไม้ ทำาให้ต้นไม้เราตายก็ได้ การต่อยอดสำาหรับการทำาโคืรงงาน
คืรั้งต่อไปก็ คืวรลองใช้ออกซินกับการออกดอกของสับปะรดเพราะมีงานวิจัยออกมาว่า ออกซินมีผลกับแคื่
การออกดอกของสับปะรด
บรรณานุกรม
พุดพิชญา. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, https://sites.google.com/a/takongwit.ac.th/botanic/khxmul-phrrn-
mi/057-phud-phichya
พุดพิชญา. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, จาก http://www.maipradabonline.com/weekly/pudpich1.htm
พุดพิชญา ไม้ดอกสีขาว ที่บ้านริมคืลอง. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, from
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=mambyrose&month=03-
2013&date=10&group=25&gblog=269
ภาคผนวก
รูปแสดง ต้นไม้ที่ใช้ทดลอง
รูปแสดง การตรวจงานคืรั้งแรก
รูปแสดง ต้นไม้ที่ใช้ในการทดลอง
รูปภาพ รดนำ้าต้นไม้

More Related Content

What's hot (20)

M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 

Similar to M6 78 60_10 (20)

M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 78 60_10

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อดอกของต้นพุดพิชญา นำาเสนอครผผผสสอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตำาแหนงงครผ คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุงมสาระการเรียนรผสวิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. ธนพล ลำาไพ เลขที่ 29 2.พัชรพล อมฤตธานนท์ เลขที่32 3.ภผมิภัทร วัฒนกุลจรัส เลขที่35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หสอง 78 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นสงวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทคัดยงอ การปลูกพืชในปัจจุบันนั้นนิยมฉีด ฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืช ในส่วนที่เรา ต้องการ จากการสังเกต ฮอร์โมนต่างๆหลายชนิด พวกเรารุ้สึกสนใจใน ฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิด ดอกของต้นไม้ และต้นไม้ที่ผมนำามาใช้ในการทดลองคืือต้นพุดพิชญา ทำาการทดลองโดยแบ่งการทดลอง เป็น 3 กลุ่ม ตามปริมาณของฮอร์โมนที่ใช้ โดยแบ่งเป็น High dose(0.15%) low dose(0.1%) control(0%) พวกเราจะฉีดฮอร์โมน 2 วันคืรั้ง และรดนำ้าทุกวัน จากนั้นดูการเกิดดอกทุกๆ 2 วัน และจดบันทึกผลการ ทดลอง จากการทดลองพบว่า ไม่ว่าจะใช้ฮอร์โมนที่คืวามเข้มข้นเท่าไหร่ ก็ให้ผลไม่ต่างกัน พวกเราจึงสรุป ว่าฮอร์โมนออกซินไม่มีผลต่อการเกิดดอก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โคืรงงานออกซินกับจำานวนดอกของต้นพุดพิชญาจะสำาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก คืรูวิชัย คืรูประจำาวิชา ที่ช่วยให้คืำาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโคืรงงาน ตลอดจนเอื้อเฟื้ื้อสถ้าานที่ และออกแบบผลงานนายสมบูรณ์ อมฤตธานนท์ ที่ช่วยอนุเคืราะห์อุปกรณ์เคืรื่องมือต่างๆ ในการทดลอง ขอขอบคืุณผู้ปกคืรอง คืรูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้คืวามช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กำาลังใจ ตลอดมา คืณะผู้จัดทำาโคืรงงานขอขอบคืุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คืณะผู้จัดทำา
  • 4. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนำา 5 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7 บทที่ 3 การดำาเนินงาน 11 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคืราะห์ผลการทดลอง 12 บทที่ 5 14 บรรณานุกรม 15 ภาคืผนวก 16
  • 5. บทที่ 1 บทนำา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อดอกของต้นพุดพิชญา สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1.ธนพล อำาไพ เลขที่29 2.พัชรพล อมฤตธานนท์ เลขที่32 3.ภผมิภัทร วัฒนกุลจรัส เลขที่35 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คืณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผผสสอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์คืรู คืศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสำาคัญ เนื่องจาก พุดพิชญานั้นมีคืวามสัญกับเรามากคืรับ คืนเรานิยมนำาพุดพิชญามาเป็นพืชตกแต่งเพื่อ คืวามสวยงามและยังนำามาเป็นสมุนไพรรักษาโรคืได้ด้วยคืรับ นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินนั้นกระตุ้นการ เจริญเติบโต ทำาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ ส่วนของพืชที่พวกเราศึกษาคืือดอก พวกเราอยากรู้ว่า ฮอร์โมนออกซินนั้นช่วยเร่งการออกดอกได้ด้วยหรือไม่ คืณะผู้รับผิดชอบโคืรงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีคืวามสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิ นที่มีต่อดอกของพุดพิชญา โดยมีวัตถ้าุประสงคื์เพื่อเพิ่มคืวามรู้ในเรื่องการออกดอกของต้นไม้ คืณะผู้รับผิด ชอบโคืรงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีคืวามมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อการศึกษาใน อนาคืตต่อไป คำาถามการทำาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนออกซินที่คืวามเข้มข้นใดจะส่งผลให้พุดพิชญามีดอกมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้า้าฮอร์โมนออกซินที่คืวามเข้มข้น high dose มีผลต่อดอกให้เจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน ออกซินที่คืวามเข้มข้น 0.15%จะทำาให้ดอกจำานวนดอกมากที่สุด
  • 6. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาอิทธิพลของออกซินต่อจำานวนดอกที่ออกมาของพุดพิชญา 2. เพื่อเปรียบเทียบคืวามเข้มข้นของฮอร์โมนไหนที่ทำาให้ดอกเจริญได้ดีที่สุด ประโยชน์ที่คาดวงาจะไดสรับ 1. ได้รับคืวามรู้คืวามเข้าใจเรื่องอิทธิพลของออกซินต่อดอก 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบคืวามเข้มข้นที่เหมาะสมต่อการใช้ 3. เป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้มีประโยชน์ ขอบเขตของโครงงาน การทำาโคืรงงานคืรั้งนี้คืณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะส่วนดอกของพุดพิชญา ตัวแปรที่เกี่ยวขสอง ตัวแปรต้น คืือ คืวามเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตาม คืือ จำานวนดอกที่ออกมา ตัวแปรคืวบคืุม คืือ ปริมาณนำ้า ปริมาณฮอร์โมน ชงวงระยะเวลาในการทำาโครงงาน 1 กรกฎาคืม-14 กรกฎาคืม วิธีการเก็บขสอมผล การนับจำานวนดอกที่ขึ้นมาใหม่ของแต่ละต้น แล้วจดบันทึกลงในตารางที่ได้ออกแบบไว้ วิธีการวิเคราะห์ผลขสอมผล การหาคืวามสัมพันธ์ระหว่าง เวลา กับจำานวนดอกที่เพิ่มขึ้น ในรูปแบบกราฟื้เส้น
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขสอง 1. เนื้อหาที่เกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใชส พุดพิชญา เป็นพืชในสกุลโมก ในประเทศไทยนำาเข้าจากประเทศศรีลังกา มีชื่อทองถ้าิ่นว่า "อิดด้า" (Inda) มีคืวามหมายว่าดอกไม้สีขาวบริสุทธิ์ ผู้นำาเข้าคืือ คืุณปราณี คืงพิชญานนท์ ลักษณะของดอกสีขาว เหมือนกลุ่มดอกพุดในบ้านเรา เธอจึงนำาชื่อ ดอกพุด มา สมาส เข้ากับวลีนามสกุล ออกมาเป็นชื่อใหม่ว่า "พุดพิชญา" พุดพิชญาเป็นไม้หลายขนาด ทั้งต้นเตี้ย ต้นสูง และต้นใหญ่ ลำาต้นสีนำ้าตาล ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสี เขียวอ่อน ไม่ผลัดใบ ออกดอกตลอดทั้งปี ให้ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ดอกบานทนตั้งแต่แรก แย้มไปจนสู่บานเต็มที่ ใช้เวลา 4 - 5 วัน ดอกตูมในช่อดอกอื่นๆก็คื่อยทยอยโต และทยอยกันบานไป เรื่อยๆ ลักษณะดอกเป็นกลีบแยก 5 กลีบ เกสรตรงกลางสีเหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบ เมื่อดอกบาน เต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว ก้านดอกยาวประมาณ 1 นิ้ว. ปลูกเป็นไม้กระถ้าางก็ได้หรีอปลูกลงดินก็ได้ เลี้ยงง่าย ปรับตัวได้ในเกือบทุกสิ่งแวดล้อม ใช้ปุ๋ยคือก หรือปุ๋ยใบจามจุรีหมัก เพราะมีไนโตรเจนสูง ถ้า้าต้องการเร่งและบำารุงดอกใช้ปุ๋ยขี้ไก่ เพราะมีฟื้อสฟื้อรัสสูง ขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง และการปักชำา 2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใชส การสังเคราะห์ออกซิน ออกซินเป็นฮอร์โมนที่แพร่กระจายทั่วไปในพืช มีเข้มข้นสูงที่เนื้อเยื่อเจริญ ตำาแหน่งที่มีการสังเคืราะห์ออก ซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่กำาลังเจริญ เมล็ดที่กำาลังงอก เอ็มบริโอและผลที่กำาลังเจริญ การสังเคืราะห์ออกซินเกิดในเนื้อเยื่อที่มีอายุมากน้อยหรือไม่มีเลย สารตั้งต้น ของการสังเคืราะห์ออกซินในพืช คืือกรดอะมิโนทริปโตแฟื้น (Trytophan) ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบ คืือแบบอิสระ สามารถ้าเคืลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่กับสารอื่นๆ ทำาให้เคืลื่อนที่ได้น้อยห รือไม่ออกฤทธิ์ การออกฤทธิ์ของฮอรืโมนออกซิน
  • 8.  การชักนำาการยืดขยายเซลล์ลำาต้น และเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด ถ้า้าออกซินสูงเกินไปจะยับยั้งการ เติบโตเพราะออกซินที่สูงเกินจะกระตุ้นให้พืชสร้างเอทิลีนออกมา และไปกดการยืดขยายตัวของ เซลล์  การเพิ่มคืวามยืดหยุ่นของผนังเซลล์ โดยเฉพาะในต้นอ่อนและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด การเพิ่มคืวาม ยืดหยุ่นของผนังเซลล์จะช่วยให้เซลล์ยืดขยายตัวได้  กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการยืดขยายตัวของเซลล์ เกิดจากการเพิ่มคืวามยืดหยุ่นที่ผนังเซลล์ เพิ่ม คืวามดันออสโมติกและลดคืวามกดดันที่ผนังเซลล์ ทำาให้เซลล์ขยายขนาดได้ง่าย และอาจจะส่งเสริม การสังเคืราะห์โปรตีนที่จำาเป็นต่อการเติบโต  เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้ว ส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อ ปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ลำาต้นต้องการออกซินสูงกว่าในราก ถ้า้าสูงเกินไปจะยับยั้งการเติบโต  ส่งเสริมการเจริญของไซเลม ซึ่งจากการศึกษาในแคืลลัส เมื่อเติมออกซินลงไป ออกซินจะช่วย ให้การเชื่อมต่อของเนื้เยื่อลำาเลียงในแคืลลัส ทำาให้แคืลลัสเกิดเป็นตา การเพิ่มนำ้าตาลและออกซินลง ในอาหารเลี้ยง ทำาให้แคืลลัสเจริญเป็นลำาต้นและกลายเป็นพืชต้นใหม่  การเพิ่มกิจกรรมของกรดนิวคืลีอิก โดยออกซินเช่น IAA มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มีการสังเคืราะห์ RNA โดยออกซินอาจจะมีบทบาทช่วยในการเข้าถ้าึงยีน เช่นช่วยให้ฮิสโตนหลุดออก จาก DNA ทำาให้ RNA polymerase II โดยเฉพาะการสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการยืดขยายของ ผนังเซลล์  การยับยั้งการร่วงของใบ การร่วงของใบเกิดจากการเกิดชั้นก่อการร่วงที่ผนังเซลล์ของเซลล์ในแนว ดังกล่าวจะเกิดการแยกออกจากกิ่งหรือต้น ในเนื้อเยื่ออ่อนที่มีออกซินสูง การเกิดชั้นก่อการร่วงจะไม่ เกิดขึ้น ถ้า้าตัดแผ่นใบทิ้งเหลือแต่ก้านใบ แล้วนำาออกซินมาทาที่ก้านใบ ก้านใบที่ได้รับออกซินจะร่วง ช้ากว่า ถ้า้าให้ออกซินแก่ใบตั้งแต่ระยะแรกๆก่อนโตเต็มที่ จะทำาให้ใบร่วงช้ากว่าใบพืชที่ไม่ได้รับออก ซิน  การยืดขยายคืวามยาวของราก รากจะไวต่อคืวามเข้มข้นของออกซินมาก IAA ปริมาณตำ่าจะกระตุ้น การขยายตัวของรากได้ดี โดยที่ไม่มีผลต่อลำาต้น ส่วนคืวามเข้มข้นที่กระตุ้นการเจริญของลำาต้นจะสูง เกินไปสำาหรับราก จนกลายเป็นการยับยั้ง  การเกิดรากแขนง ออกซินมีผลต่อการกระตุ้นให้เกิดรากแขนง การตัดใบหรือตาอ่อนที่สร้างออกซิ นออกไปทำาให้การแตกรากแขนงน้อยลง แสดงว่าการเกิดรากแขนงถ้าูกคืวบคืุมโดยออกซินที่สร้าง จากลำาต้น นอกจากนั้น ออกซินยังส่งเสริมการเกิดรากแขนงในกิ่งปักชำา โดยรากแขนงเกิดได้ดีจาก โฟื้ลเอมส่วนใกล้ๆข้อ
  • 9.  คืวามเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช โดยทำาให้อวัยวะ ของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่นแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยวเสีย รูปทรง การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด
  • 10. บทที่ 3 การดำาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ฮอร์โมนออกซิน 2. ฟื้อกกี้ 3. ต้นพุดพิชญา 4. หนังสือพิมพ์ 5. สมุดบันทึก ขั้นตอนการทำาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนแบ่งงานกันทำา 2. ศึกษาและคื้นคืว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโคืรงงานดังนี้ 2.1. โคืรงสร้างของต้นพุดพิชญา 2.2. ฮอร์โมนออกซิน 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง 4. หาสถ้าานที่ที่ใช้ในการทำาทดลอง 5. จัดทำาเคื้าโคืรงโคืรงงาน เพื่อนำาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนำาไปปรับปรุงและแก้ไข 6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำาการทดลอง -ฮอร์โมนออกซิน -ฟื้อกกี้ -ต้นพุดพิชญา -หนังสือพิมพ์ -สมุดบันทึก 7. ขั้นตอนกระบวนการทำาการทดลอง -จัดต้นไม้เป็น 3 กลุ่มการทดลอง แยกเป็น high dose(0.15%) low dose(0.1%) และ control(0%) -ทำาการรดนำ้าโดยการผสมฮอร์โมนออกซินลงในนำ้า -สังเกตการเปลี่ยนแปลงของจำานวนดอกและบันทึก 8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 9. จัดทำาเอกสารเป็นรูปเล่มโคืรงงานให้สมบูรณ์ 10. จัดทำาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 11. นำาเสนอโคืรงงาน
  • 11. บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง High dose Low dose Control จำานวนดอก จำานวนดอก จำานวนดอก 1 กรกฎาคม 2560 1 1 1 2 กรกฎาคม 2560 2 1 1 4 กรกฎาคม 2560 4 2 3 6 กรกฎาคม 2560 4 3 3 8 กรกฎาคม 2560 0* 3 4 10 กรกฎาคม 2560 0* 2 3 12 กรกฎาคม 2560 2 2 1 14 กรกฎาคม 2560 2 2 2 *หมายเหตุ:ดอกไมสหายไปเนื่องจากปัจจัยตงางๆเชงน ฝนตก ฝีมือมนุษย์ กราฟแทงงแสดงผลการทดลอง
  • 12. วิเคราะห์ผลการทดลอง คืวามเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจำานวนดอก อาจจะให้ผลไม่ต่างกันเลย อาจจะเป็นเพราะว่า ออกซินไม่มีผลต่อการเร่งดอก เพราะว่าจากที่พวกผมเก็บข้อมูลการเพิ่มของจำานวนดอกนั้น จะใช้คืวามเข้ม ข้นระดับไหนก็ไม่ได้มีตัวไหนมีดอกออกเยอะเป็นพิเศษ และในระหว่างการทำาการทดลองนั้นอาจจะมี จำานวนดอกลดลงได้ด้วย เนื่องด้วยจากหลายๆปัจจัยอย่างเช่น มีคืนมาเด็ดเล่น มีฝนตกหนักทำาให้ดอกหลุด ออก การผลัดดอกของตัวต้นไม้เอง
  • 13. บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขสอเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง การเรงงการเกิดดอก เกษตรกรหลายท่านเข้าใจว่าสารในกลุ่มออกซินนี้เร่งการเกิดดอกของพืชได้ แต่แท้จริง แล้ว ผลของออกซินในข้อนี้ยังคื่อนข้างเลื่อนลอย เท่าที่มีงานทดลองสรุปได้แน่ชัดว่าออกซินเร่งการเกิดดอก ได้เฉพาะในสับปะรดเท่านั้น การใช้ NAA หรือ IBA สามารถ้าเร่งการเกิดดอกของสับปะรดได้ แต่มี ประสิทธิภาพตำ่ากว่าการใช้ถ้า่านกาาซ (calcium carbide) และ ethephon อย่างไรก็ตามเชื่อว่าการเกิดดอกของ สับปะรดไม่ได้เป็นผลของ NAA หรือ IBA โดยตรง แต่เป็นผลทางอ้อมที่สารดังกล่าวไปกระตุ้นให้ต้น สับปะรดสร้างเอทิลีนขึ้นมา และเอทิลีนเป็นตัวกระตุ้นให้สับปะรดเกิดดอก สำาหรับในประเทศไทยเคืยมีการแนะนำาให้ใช้ NAA ผสมกับ โพแทสเซียมไนเตรท (KNO3) เพื่อฉีดเร่งดอกมะม่วง แต่ยังไม่มีข้อมูลใดๆ ยืนยันว่าวิธีการดังกล่าวใช้ได้ผล ดังนั้นจากที่พวกเราสืบคื้นจะเน็ตจนได้ ข้อสรุปอย่างข้างบนที่ยกมา แต่จากที่พวกเราได้ไปศึกษาเรื่องคืวามแตกต่างของ High dose Lowdose และ control นั้นจะเกิดจากการที่ พืชชนิดนั้นๆอาจจะต้องการฮอร์โมนในการเร่งที่ต่างกันบางทีมากไปก็อาจจะเป็นผลเสีย หรือน้อยไปก็อาจ จะเป็นผลดีได้หรือบางที่ ชุด control อาจจะดีที่สุดก็ได้ ขสอเสนอแนะเพิ่มเติม ปัญหาที่เป็นหลักๆเลยคืือ ต้นไม้อาจจะตายได้ อาจจะเป็นเพราะ การรดนำ้าที่ไม่เพียงพอ หรืออาจจะ เป็นจากการที่มีคืนหรือสิ่งต่างๆมาชนต้นไม้ ทำาให้ต้นไม้เราตายก็ได้ การต่อยอดสำาหรับการทำาโคืรงงาน คืรั้งต่อไปก็ คืวรลองใช้ออกซินกับการออกดอกของสับปะรดเพราะมีงานวิจัยออกมาว่า ออกซินมีผลกับแคื่ การออกดอกของสับปะรด
  • 14. บรรณานุกรม พุดพิชญา. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, https://sites.google.com/a/takongwit.ac.th/botanic/khxmul-phrrn- mi/057-phud-phichya พุดพิชญา. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, จาก http://www.maipradabonline.com/weekly/pudpich1.htm พุดพิชญา ไม้ดอกสีขาว ที่บ้านริมคืลอง. สืบคื้นเมื่อ 1 สิงหาคืม 2560, from http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=mambyrose&month=03- 2013&date=10&group=25&gblog=269