SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
0
โครงงาน
การแตกกิ่งข้างของต้นหม่อน
นาเสนอครูผู้สอนโดย
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รายชื่อสมาชิก
นาย ชญานิน กษิดิ์เดชพงศ์ เลขที่ 24
นาย ชลัช สุวรรณคีรี เลขที่ 27
นาย ณัฐวรรธน์ จุลพันธ์ เลขที่ 28
นาย สุชาญ ท้วมรุ่งโรจน์ เลขที่ 39
1
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาโดยมีจุดประสงค์เพื่อรายงานผลและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแตกกิ่งข้างของต้น
หม่อน โดยใช้ฮอร์โมน ไซโตไคนินซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาของต้นหม่อนและขั้นตอนการ
ทดลองต่างๆ ทาให้คณะผู้จัดทาได้เห็นถึงพัฒนาการการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนที่เป็นส่วนที่เรา
ต้องการศึกษาและปัจจัยต่างๆที่ใช้ในการเจริญเติบโตของดอกเข็มโดยทางคณะผู้จัดทาได้จัดเก็บ
ข้อมูลในการทดลองได้อย่างครบถ้วนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป
ในการจัดทารายงานครั้งนี้ ขอขอบคุณอาจารย์ประจาวิชาชีววิทยาห้องเรียน144ที่ได้ให้
ความรู้ข้อแนะนาในขั้นตอนการทดลองตลอดการที่ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองสุดท้ายนี้
คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจจะมาศึกษาต่อ
หรือผู้อ่านทุกๆท่านในการทดลองนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัย
มา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา 1
สารบัญ 2
ปัญหาที่มาและความสาคัญ 3
ข้อมูลรายละเอียดพืชที่ใช้ทดลอง 3
ข้อมูลรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 5
สมมุติฐานการทดลอง 7
จุดประสงค์การทดลอง 7
ตัวแปรการทดลอง 7
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 7
ระยะเวลาที่ใช้ทดลอง 8
วิธีการเก็บข้อมูล 8
ขั้นตอนการทดลอง 8
ผลการทดลอง 9
สรุปและข้อเสนอแนะ 11
ภาคผนวก 12
บรรณานุกรม 14
3
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
เนื่องด้วยฮอร์โมนไซโตไคนินเป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทต่อการแตกกิ่งข้าง
ของต้นไม้ ทาให้ทางคณะผู้จัดทามีความสงสัยเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ได้รับฮอร์โมนจึงได้เลือกที่
จะศึกษาการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนเมื่อได้รับฮอร์โมนไซโตไคนิในความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยทางคณะ
ผู้จัดทาก็ได้ทาการศึกษาผ่านการบันทึกข้อมูลเป็นความยาวแนวตั้งและความยาวแนวนอนของต้นไม้ซึ่งความยาว
แนวนอนของต้นไม้ก็จะสะท้อนถึงการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนได้ และทางคณะผู้จัดทายังได้ได้นาอัตราส่วน
ของความยาวแนวตั้งและความยาวแนวนอนของต้นไม้มาศึกษาเพื่อที่จะรู้ได้ถึงการแตกของกิ่งข้างของต้นไม้ที่
ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มข้นที่แตกต่างกันว่าจะเจริญเติบโตแตกต่างกันอย่างไร
ข้อมูลรายละเอียดของต้นหม่อน
หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L. ) เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของ
หนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรัง
ไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100ปี ถ้าไม่ได้รับความ
กระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่
เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อน
สามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์กาจัดอนุมูล
อิสระ
4
ลักษณะทางพฤกศาสตร์
หม่อนเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้าตาลแดง ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านไม่มากนัก ใบ
เดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่หรือรูปไข่กว้าง ขอบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู ขึ้นกับพันธุ์ กว้าง 8-14 เซนติเมตร
ยาว 12-16 เซนติเมตร ผิวใบสากคาย ปลายเรียวแหลมยาว ฐานใบกลม หรือรูปหัวใจ หรือค่อนข้างตัด
ใบอ่อนขอบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน เส้นใบมี 3เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลาง
ใบ และเส้นใบออกจากเส้นกลางใบ 4 คู่เส้นร่างแหเห็นชัดด้านล่าง ใบสีเขียวเข้ม ผิวใบสากคาย ก้านใบ
เล็กเรียว ยาว 1.0-1.5 เซนติเมตร หูใบรูปแถบแคบปลายแหลม ยาว 0.2-0.5 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อ
รูปทรงกระบอกออกที่ซอกใบ และปลายยอด แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศ
เมียอยู่ต่างช่อกัน วงกลีบรวมสีขาวหม่น หรือสีขาวแกมเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวประมาณ 2
เซนติเมตร ดอกเพศผู้ วงกลีบรวมมี 4 แฉก เกลี้ยง เกสรเพศเมีย วงกลีบรวมมี 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน
เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน ผลเป็นผลรวม รูปทรงกระบอก มีสีเขียว เมื่อ
สุกสีม่วงแดงเข้ม เกือบดา ฉ่าน้ามีรสหวานอมเปรี้ยว
ประโยชน์
1. ฤทธิ์ต้านอนุมูลอินสระ น้าคั้นและสารสกัดจากใบมีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด และมีสารสาคัญ
ที่ยับยั้ง oxidation ของ LDL ได้
2. ฤทธิ์ยับยั้งการสร้างเมลานิน (melanin) สาร 2-oxyresveratrol จากกิ่งหม่อน และสาร mulberroside F
จากใบและสารสกัดจากเปลือกราก มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ tyrosinase ซึ่งเกี่ยวข้องในขบวนการสร้างเม็ดสี
ที่ผิวหนัง จึงมีการนาสารสกัดรากหม่อนมาใช้เป็น whitening agent ในเครื่องสาอาง
3. ฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือด สารสกัดด้วยน้าและสาร 2-O-D-galactopyranosyl-1-deoxynojirimycin
(GAL-DNJ) จากใบหม่อน มีฤทธิ์ลดน้าตาลในสัตว์ทดลองที่เป็นเบาหวาน และสาร 1-
deoxynojirimycin ,ฤทธิ์แรงในการยับยั้งเอนไซม์ glucosidase ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จึงช่วยยับยั้งการ
ย่อยแป้งในอาหารช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด ทาให้ใบหม่อนมีศักยภาพในการนามาใช้ในผู้ป่วย
เบาหวาน หรือใช้ควบคุมน้าหนัก
4. ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัดเอธานอลจากใบและบิวทานอลจากเปลือกราก มีสารฟลาโวนอยด์ที่
มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตในหนู
5. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่น ๆ เมื่อศึกษาในหลอดทดลองสารสกัดและสารสาคัญจากเปลือกรากหม่อนมี
ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ของเชื้อเอชไอวี ฤทธิ์ต้านเชื้อรา และต้านเชื้อไวรัสที่ก่อโรคเริมที่อวัยวะเพศ ส่วน
การศึกษาในสัตว์ทดลอง พบฤทธิ์แก้ไอ ขับปัสสาวะ ลดอาการบวม และฤทธิ์สงบประสาท
5
รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนไซโตไคนิน
ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม การ
แบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการ
ชราของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่
University of Wisconsin–Madison
ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนโดยมีโซ่ข้างมาเชื่อมต่อกับเบสที่
ตาแหน่ง N6ไซโตไคนินแบ่งได้เป็นสองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอโซพรีนอยด์ไซโตไคนิน (Isoprenoid
cytokinin) มีโซ่ข้างเป็นสารกลุ่มไอโซพรีนกับอะโรมาติกไซโตไคนิน เช่นไคนีติน ซีเอติน และ 6-
benzylaminopurine อีกกลุ่มหนึ่งคือไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของไดฟีนิลยูเรีย และ ไทเดียซูรอน (TDZ) ไซโต
ไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะห์ที่ราก แคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์ไวโตไคนิน
เช่นกัน ไม่มีหลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิดฟีนิลยูเรียได้ ไซโตไคนินเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณทั้ง
ระยะใกล้และระยะไกล และเกี่ยวข้องกับการขนส่งนิวคลีโอไทด์ในพืช โดยทั่วไป ไซโตไคนินถูกขนส่งผ่านไซ
เล่ม
การสังเคราะห์ในสิ่งมีชีวิต
Adenosine phosphate-isopentenyltransferase (IPT) เป็นเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาแรกในการ
สังเคราะห์ไซโตไคนินชนิดไอโซพรีน อาจจะใช้ ATP ADP หรือ AMP เป็นสารตั้งต้นและอาจจะ
ใช้dimethylallyl diphosphate (DMAPP) หรือ hydroxymethylbutenyl diphosphate (HMBDP) เป็นตัวให้
หมู่พรีนิล ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาที่จากัดการสังเคราะห์ไซโตไคนิน DMAPP และ HMBDP ที่ใช้ในการ
สังเคราะห์ไซโตไคนิน สร้างมาจากmethylerythritol phosphate pathway (MEP)
ไซโตไคนินอาจจะสังเคราะห์มาจาก tRNA ในพืชและแบคทีเรีย tRNAs ที่มี anticodon ที่เริ่ม
ด้วย uridine และเป็นตัวพาอะดินีนที่เติมหมู่พรีนิลแล้วจะถูกสลายเพื่อนาอะดินีนไปสร้างเป็นไซโตไค
นิน การเติมหมู่พรีนิลของอะดินีนเกิดขึ้นโดยเอนไซม์ tRNA-isopentenyltransferase ออกซินมีบทบาทใน
การควบคุมการสังเคราะห์ไซโตไคนิน
แบคทีเรียบางชนิดผลิตไซโตไคนินได้ เช่น Rhodospirillum robrom ซึ่งเป็นแบคทีเรียสีม่วง สร้าง
สารคล้ายไซโตไคนิน 4-hydroxyphenethyl ได้ และ Paenibacillus polymyxa ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่พบใน
ไรโซสเฟียร์ของพืช สร้างไซโตไคนินชนิด iP ได้ ไซโตไคนินบางชนิดมีผลต่อจุลินทรีย์ด้วย เช่น ไค
นีติน กระตุ้นการเจริญ การสร้างรงควัตถุและการตรึงไนโตรเจนของ Anabaena doliolum เร่งการ
6
เจริญเติบโตและการแบ่งเซลล์ในยีสต์ และราบางชนิดในสกุล Aspergillus และ Penicillium ใช้ไซโตไค
นินเป็นแหล่งไนโตรเจน
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยา
อัตราส่วนระหว่างออกซินและไซโตไคนินมีความสาคัญต่อการทางานของไซโตไคนินในพืช
เนื้อเยื่อพาเรนไคมาที่เลี้ยงในอาหารที่มีออกซินและไม่มีไซโตไคนิน เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้นแต่ไม่
แบ่งตัว เมื่อใช้ไซโตไคนินร่วมกับออกซิน เซลล์จึงจะขยายตัวไปพร้อมกับการแบ่งตัว อย่างไรก็ตาม เมื่อ
เลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารที่มีไซโตไคนินเท่านั้น จะไม่เกิดผลใดๆ ถ้าใช้ไซโตไคนินและออกซินในปริมาณ
เท่าๆกัน พาเรนไคมาจะกลายเป็นแคลลัส ถ้ามีไซโตไคนินมากกว่าจะกลายเป็นยอด ถ้าออกซินมากกว่า
จะกลายเป็นราก
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของไซโตไคนินได้แก่
 สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้าเข้าไปภายในเซลล์ เพราะไม่ทาให้
น้าหนักแห้งเพิ่มขึ้น
 สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข้าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างที่ถูกยับยั้งด้วยตา
ยอดเจริญออกมาได้ สิ่งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากอัตราส่วนระหว่างไซโตไคนินต่อออกซิน ออกซินจาก
ตายอด จะถูกขนส่งลงไปยังตาข้างเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโต ทาให้ยอดยาวขึ้น แต่ไม่แตกกิ่งใหม่
ในขณะที่ไซโตไคนินจะเคลื่อนที่จากรากขึ้นมายังยอด และจะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญของตาข้าง
ถ้าตัดตายอดออกไป ตาข้างจะไม่ถูกยับยั้งและจะเจริญออกมาได้ พืชจึงเจริญออกทางด้านข้างมาก
ขึ้น ถ้าให้ออกซินที่รอยตัด การเจริญของตาข้างยังคงถูกยับยั้งต่อไป
 การชะลอการชรา ความชราของพืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของเซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟิลล์
RNA โปรตีน และไขมัน การชะลอความชราของออกซินเกิดขึ้นโดยการป้องกันการสลายตัวของ
โปรตีน กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายังเนื้อเยื่อ ไซโตไคนินสนับสนุน
การเกิดคลอโรฟิลล์และการเปลี่ยนอีทิโอพลาสต์ไปเป็นคลอโรพลาสต์
 การเกิดปม ปมที่เกิดในพืชเป็นเนื้อเยื่อที่ไม่มีการกาหนดพัฒนาและมีลักษณะคล้ายเนื้องอก เกิด
จากเชื้อ Agrobacterium tumefaciens
 ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลต่อการเจริญของลาต้นและราก การตัดรากออกไปจะทาให้การ
เจริญเติบโตของลาต้นหยุดชะงัก
7
 การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไม่กระทบต่ออัตรา
การขยายตัวของเซลล์ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แต่ไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจาเป็นในการ
รักษากิจกรรมของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายยอด
 กระตุ้นการออกดอกของพืชวันสั้นบางชนิด เช่นในแหนเป็ดไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชสร้างสาร
ฟลอริเจน (Florigen) ซึ่งชักนาให้พืชออกดอกได้ ไซโตไคนินยังช่วยให้เกิดดอกตัวเมียมากขึ้น
 ทาลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได้ เช่น ผักกาดหอม
สมมติฐาน
ต้นหม่อนในกลุ่มการทดลองชุด Low Dose จะมีอัตราการแตกกิ่งข้างดีที่สุดเมื่อเทียบกับต้นหม่อนใน
ชุดควบคุมและชุด High Dose
จุดประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลการทางานของฮอร์โมนไซโตไคนินที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีผล
ต่อการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนในแต่ละชุดการทดลอง ได้แก่ชุดทดลองควบคุม ชุดทดลอง Low Dose และชุด
ตัวแปรตาม ได้แก่อัตราส่วนความยาวกิ่งด้านข้างต่อความสูงของลาต้นหม่อน
ตัวแปรควบคุม ได้แก่ปริมาณน้าที่รด ปริมาณแสงแดด ชนิดดินที่ใช้ปลูก
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง
- ต้นหม่อน 9 ต้น
- ฮอร์โมนไซโตไคนิเข้มข้น 0.1%,0.3% โดยปริมาตร
- น้า
- สเปรย์สาหรับพ่นฮอร์โมน
- กระถางต้นไม้ 9กระถาง
- ปุ๋ ย
8
ระยะเวลาในการทดลอง
วันที่ 14 มิถุนายน ถึง 19กรกฎาคม พ.ศ.2560
วิธีการเก็บข้อมูล
มาตรวจสอบต้นไม้ทุกๆวันพุธของสัปดาห์ โดยใช้ไม้บรรทัดในการวัดความกว้างของต้นและความสูง
ของต้น และนามาบันทึกในตารางบันทึกผล วัดทั้งสามต้นและหาค่าเฉลี่ยแล้วบันทึกลงตาราง
ขั้นตอนการทดลอง
1. ปลูกต้นหม่อนในกระถางโดยเริ่มปลูกโดยจากกิ่งตอนที่เจริญมาระยะหนึ่งแล้ว
2. รดน้าต้นไม้ทุกๆวันและพ่นสเปรย์ฮอร์โมนไปยังกลุ่ม low dose และ high dose โดยพ่นฮอร์โมนที่ใบ
3. บันทึกผลการทดลองโดยละเอียดทุกหนึ่งอาทิตย์
4. นาผลการทดลองที่ได้มาสร้างเป็นกราฟแล้วสรุปผล
9
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกความกว้างและความยาว
วันที่
ชุดควบคุม ( 0% ) ชุดทดลอง Low Dose ( 0.1% ) ชุดทดลอง High Dose ( 0.3% )
หมายเหตุ1 2 3 1 2 3 1 2 3
W H W H W H W H W H W H W H W H W H
14 มิ.ย. 60
6 16 5 18 5 15 5 17 5 16 7 17 5 16 6 18 7 17
เริ่มการเก็บ
ข้อมูล
21 มิ.ย. 60 7 18 5 21 6 18 7 19 8 21 10 20 8 20 9 24 10 21
28 มิ.ย. 60 8 21 6 24 7 20 8 20 11 28 12 22 10 25 13 31 12 23
5 ก.ค. 60
9 24 7 28 8 22 11 23 15 32 13 26 14 29 17 38 14 26
ต้นที่ 1ของ
ชุดควบคุม
ออกผลมา2
ผล
12 ก.ค. 60 10 26 8 31 9 25 14 25 18 38 15 28 17 33 20 44 17 30
19 ก.ค. 60
11 28 9 34 10 27 16 28 21 43 17 33 21 38 23 50 18 33
สิ้นสุดการ
เก็บข้อมูล
หมายเหตุ : W=ความกว้างในหน่วยเซนติเมตร H=ความสูงในหน่วยเซนติเมตร
ตารางบันทึกอัตราส่วนระหว่างความกว้างกับความยาว
วันที่
ชุดควบคุม ( 0% ) ชุดทดลอง Low Dose ( 0.1% ) ชุดทดลอง High Dose ( 0.3% )
หมายเหตุ
1 2 3 Avg 1 2 3 Avg 1 2 3 Avg
14 มิ.ย. 60
0.375 0.278 0.333 0.324 0.294 0.313 0.412 0.339 0.312 0.333 0.412 0.353
เริ่มการเก็บ
ข้อมูล
21 มิ.ย. 60 0.389 0.238 0.333 0.320 0.368 0.375 0.476 0.401 0.400 0.375 0.476 0.417
28 มิ.ย. 60 0.381 0.250 0.350 0.327 0.400 0.375 0.522 0.446 0.400 0.419 0.522 0.447
5 ก.ค. 60
0.375 0.250 0.367 0.330 0.478 0.469 0.500 0.482 0.483 0.447 0.538 0.489
ต้นที่ 1ของ
ชุดควบคุม
ออกผลมา2
ผล
12 ก.ค. 60 0.385 0.258 0.36 0.334 0.560 0.474 0.536 0.523 0.515 0.455 0.566 0.512
19 ก.ค. 60
0.393 0.265 0.370 0.330 0.571 0.488 0.531 0.530 0.553 0.460 0.545 0.519
สิ้นสุดการ
เก็บข้อมูล
10
11
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองจะพบว่าอัตราส่วนระหว่างความกว้างและความยาว(เฉลี่ย)ของชุด low dose จะมี
อัตราการเพิ่มมากที่สุดเป็นไปตามสมมติฐาน รองลงมาด้วยชุด high dose และชุดควบคุมตมลาดับ จะเห็นว่า
การใช้ฮอร์โมน ไซโตไคนิน มีผลกับการแตกข้างของต้นหม่อนแต่ถ้าใช้ในปริมาณความเข้มข้นที่ไม่
เหมาะสม ผลที่ออกมาจะไม่แปรผันตามปริมาณความเข้มข้นที่ใส่ลงไปเช่น อัตราความกว้างต่อความยาว
(เฉลี่ย)ในชุดhigh Dose มีอัตราที่น้อยกว่าชุด Low Dose จึงควรใส่ปริมาณความเข้มข้นที่เหมาะสม ผลที่ได้
จึงมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
ข้อเสนอแนะ
- ควรที่จะเลือกใช้พืชที่มีขนาดต้นใหญ่กว่านี้หรือมีลักษณะเป็นพุ่มเพื่อให้ผลการทดลองออกมาชัดเจน
มากยิ่งขึ้น
- ควรศึกษาการปลูกต้นหม่อนในทางปฏิบัติให้ดีละเอียดมากขึ้นเนื่องจากในการทดลองได้มีต้นหม่อน
ตาย
- ควรบันทึกผลการทดลองในเวลาที่ถี่กว่านี้เพื่อให้ผลการทดลองออกมาละเอียดยิ่งขึ้น
12
ภาคผนวก
13
14
บรรณานุกรม
- J.J. Kieber (2002) ไซโตไคนิน
https://th.wikipedia.org/wiki/ไซโตไคนิน เข้าถึงเมื่อวันที่ 1สิงหาคม พ.ศ. 2560
- นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์ : ต้นหม่อน
https://th.wikipedia.org/wiki/หม่อน เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ nareudol niramarn
 

What's hot (20)

M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to M6 144 60_4

โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
38 155 brochure
38 155 brochure38 155 brochure
38 155 brochurePat Msk
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่NawatHongthongsakul
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 

Similar to M6 144 60_4 (20)

M6 143 60_9
M6 143 60_9M6 143 60_9
M6 143 60_9
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
38 155 brochure
38 155 brochure38 155 brochure
38 155 brochure
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 144 60_4

  • 1. 0 โครงงาน การแตกกิ่งข้างของต้นหม่อน นาเสนอครูผู้สอนโดย นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ รายชื่อสมาชิก นาย ชญานิน กษิดิ์เดชพงศ์ เลขที่ 24 นาย ชลัช สุวรรณคีรี เลขที่ 27 นาย ณัฐวรรธน์ จุลพันธ์ เลขที่ 28 นาย สุชาญ ท้วมรุ่งโรจน์ เลขที่ 39
  • 2. 1 คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาโดยมีจุดประสงค์เพื่อรายงานผลและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแตกกิ่งข้างของต้น หม่อน โดยใช้ฮอร์โมน ไซโตไคนินซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาของต้นหม่อนและขั้นตอนการ ทดลองต่างๆ ทาให้คณะผู้จัดทาได้เห็นถึงพัฒนาการการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนที่เป็นส่วนที่เรา ต้องการศึกษาและปัจจัยต่างๆที่ใช้ในการเจริญเติบโตของดอกเข็มโดยทางคณะผู้จัดทาได้จัดเก็บ ข้อมูลในการทดลองได้อย่างครบถ้วนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป ในการจัดทารายงานครั้งนี้ ขอขอบคุณอาจารย์ประจาวิชาชีววิทยาห้องเรียน144ที่ได้ให้ ความรู้ข้อแนะนาในขั้นตอนการทดลองตลอดการที่ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองสุดท้ายนี้ คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจจะมาศึกษาต่อ หรือผู้อ่านทุกๆท่านในการทดลองนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา 1 สารบัญ 2 ปัญหาที่มาและความสาคัญ 3 ข้อมูลรายละเอียดพืชที่ใช้ทดลอง 3 ข้อมูลรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 5 สมมุติฐานการทดลอง 7 จุดประสงค์การทดลอง 7 ตัวแปรการทดลอง 7 รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 7 ระยะเวลาที่ใช้ทดลอง 8 วิธีการเก็บข้อมูล 8 ขั้นตอนการทดลอง 8 ผลการทดลอง 9 สรุปและข้อเสนอแนะ 11 ภาคผนวก 12 บรรณานุกรม 14
  • 4. 3 ปัญหา ที่มาและความสาคัญ เนื่องด้วยฮอร์โมนไซโตไคนินเป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทต่อการแตกกิ่งข้าง ของต้นไม้ ทาให้ทางคณะผู้จัดทามีความสงสัยเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ได้รับฮอร์โมนจึงได้เลือกที่ จะศึกษาการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนเมื่อได้รับฮอร์โมนไซโตไคนิในความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยทางคณะ ผู้จัดทาก็ได้ทาการศึกษาผ่านการบันทึกข้อมูลเป็นความยาวแนวตั้งและความยาวแนวนอนของต้นไม้ซึ่งความยาว แนวนอนของต้นไม้ก็จะสะท้อนถึงการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนได้ และทางคณะผู้จัดทายังได้ได้นาอัตราส่วน ของความยาวแนวตั้งและความยาวแนวนอนของต้นไม้มาศึกษาเพื่อที่จะรู้ได้ถึงการแตกของกิ่งข้างของต้นไม้ที่ ได้รับฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มข้นที่แตกต่างกันว่าจะเจริญเติบโตแตกต่างกันอย่างไร ข้อมูลรายละเอียดของต้นหม่อน หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L. ) เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของ หนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรัง ไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100ปี ถ้าไม่ได้รับความ กระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่ เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อน สามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์กาจัดอนุมูล อิสระ
  • 5. 4 ลักษณะทางพฤกศาสตร์ หม่อนเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เปลือกต้นสีน้าตาลแดง ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านไม่มากนัก ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่หรือรูปไข่กว้าง ขอบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู ขึ้นกับพันธุ์ กว้าง 8-14 เซนติเมตร ยาว 12-16 เซนติเมตร ผิวใบสากคาย ปลายเรียวแหลมยาว ฐานใบกลม หรือรูปหัวใจ หรือค่อนข้างตัด ใบอ่อนขอบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน เส้นใบมี 3เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลาง ใบ และเส้นใบออกจากเส้นกลางใบ 4 คู่เส้นร่างแหเห็นชัดด้านล่าง ใบสีเขียวเข้ม ผิวใบสากคาย ก้านใบ เล็กเรียว ยาว 1.0-1.5 เซนติเมตร หูใบรูปแถบแคบปลายแหลม ยาว 0.2-0.5 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อ รูปทรงกระบอกออกที่ซอกใบ และปลายยอด แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศ เมียอยู่ต่างช่อกัน วงกลีบรวมสีขาวหม่น หรือสีขาวแกมเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกเพศผู้ วงกลีบรวมมี 4 แฉก เกลี้ยง เกสรเพศเมีย วงกลีบรวมมี 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน ผลเป็นผลรวม รูปทรงกระบอก มีสีเขียว เมื่อ สุกสีม่วงแดงเข้ม เกือบดา ฉ่าน้ามีรสหวานอมเปรี้ยว ประโยชน์ 1. ฤทธิ์ต้านอนุมูลอินสระ น้าคั้นและสารสกัดจากใบมีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด และมีสารสาคัญ ที่ยับยั้ง oxidation ของ LDL ได้ 2. ฤทธิ์ยับยั้งการสร้างเมลานิน (melanin) สาร 2-oxyresveratrol จากกิ่งหม่อน และสาร mulberroside F จากใบและสารสกัดจากเปลือกราก มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ tyrosinase ซึ่งเกี่ยวข้องในขบวนการสร้างเม็ดสี ที่ผิวหนัง จึงมีการนาสารสกัดรากหม่อนมาใช้เป็น whitening agent ในเครื่องสาอาง 3. ฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือด สารสกัดด้วยน้าและสาร 2-O-D-galactopyranosyl-1-deoxynojirimycin (GAL-DNJ) จากใบหม่อน มีฤทธิ์ลดน้าตาลในสัตว์ทดลองที่เป็นเบาหวาน และสาร 1- deoxynojirimycin ,ฤทธิ์แรงในการยับยั้งเอนไซม์ glucosidase ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จึงช่วยยับยั้งการ ย่อยแป้งในอาหารช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด ทาให้ใบหม่อนมีศักยภาพในการนามาใช้ในผู้ป่วย เบาหวาน หรือใช้ควบคุมน้าหนัก 4. ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัดเอธานอลจากใบและบิวทานอลจากเปลือกราก มีสารฟลาโวนอยด์ที่ มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตในหนู 5. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่น ๆ เมื่อศึกษาในหลอดทดลองสารสกัดและสารสาคัญจากเปลือกรากหม่อนมี ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ของเชื้อเอชไอวี ฤทธิ์ต้านเชื้อรา และต้านเชื้อไวรัสที่ก่อโรคเริมที่อวัยวะเพศ ส่วน การศึกษาในสัตว์ทดลอง พบฤทธิ์แก้ไอ ขับปัสสาวะ ลดอาการบวม และฤทธิ์สงบประสาท
  • 6. 5 รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนไซโตไคนิน ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม การ แบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการ ชราของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที่ University of Wisconsin–Madison ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนโดยมีโซ่ข้างมาเชื่อมต่อกับเบสที่ ตาแหน่ง N6ไซโตไคนินแบ่งได้เป็นสองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอโซพรีนอยด์ไซโตไคนิน (Isoprenoid cytokinin) มีโซ่ข้างเป็นสารกลุ่มไอโซพรีนกับอะโรมาติกไซโตไคนิน เช่นไคนีติน ซีเอติน และ 6- benzylaminopurine อีกกลุ่มหนึ่งคือไซโตไคนินที่เป็นอนุพันธ์ของไดฟีนิลยูเรีย และ ไทเดียซูรอน (TDZ) ไซโต ไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะห์ที่ราก แคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์ไวโตไคนิน เช่นกัน ไม่มีหลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิดฟีนิลยูเรียได้ ไซโตไคนินเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณทั้ง ระยะใกล้และระยะไกล และเกี่ยวข้องกับการขนส่งนิวคลีโอไทด์ในพืช โดยทั่วไป ไซโตไคนินถูกขนส่งผ่านไซ เล่ม การสังเคราะห์ในสิ่งมีชีวิต Adenosine phosphate-isopentenyltransferase (IPT) เป็นเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาแรกในการ สังเคราะห์ไซโตไคนินชนิดไอโซพรีน อาจจะใช้ ATP ADP หรือ AMP เป็นสารตั้งต้นและอาจจะ ใช้dimethylallyl diphosphate (DMAPP) หรือ hydroxymethylbutenyl diphosphate (HMBDP) เป็นตัวให้ หมู่พรีนิล ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาที่จากัดการสังเคราะห์ไซโตไคนิน DMAPP และ HMBDP ที่ใช้ในการ สังเคราะห์ไซโตไคนิน สร้างมาจากmethylerythritol phosphate pathway (MEP) ไซโตไคนินอาจจะสังเคราะห์มาจาก tRNA ในพืชและแบคทีเรีย tRNAs ที่มี anticodon ที่เริ่ม ด้วย uridine และเป็นตัวพาอะดินีนที่เติมหมู่พรีนิลแล้วจะถูกสลายเพื่อนาอะดินีนไปสร้างเป็นไซโตไค นิน การเติมหมู่พรีนิลของอะดินีนเกิดขึ้นโดยเอนไซม์ tRNA-isopentenyltransferase ออกซินมีบทบาทใน การควบคุมการสังเคราะห์ไซโตไคนิน แบคทีเรียบางชนิดผลิตไซโตไคนินได้ เช่น Rhodospirillum robrom ซึ่งเป็นแบคทีเรียสีม่วง สร้าง สารคล้ายไซโตไคนิน 4-hydroxyphenethyl ได้ และ Paenibacillus polymyxa ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่พบใน ไรโซสเฟียร์ของพืช สร้างไซโตไคนินชนิด iP ได้ ไซโตไคนินบางชนิดมีผลต่อจุลินทรีย์ด้วย เช่น ไค นีติน กระตุ้นการเจริญ การสร้างรงควัตถุและการตรึงไนโตรเจนของ Anabaena doliolum เร่งการ
  • 7. 6 เจริญเติบโตและการแบ่งเซลล์ในยีสต์ และราบางชนิดในสกุล Aspergillus และ Penicillium ใช้ไซโตไค นินเป็นแหล่งไนโตรเจน การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยา อัตราส่วนระหว่างออกซินและไซโตไคนินมีความสาคัญต่อการทางานของไซโตไคนินในพืช เนื้อเยื่อพาเรนไคมาที่เลี้ยงในอาหารที่มีออกซินและไม่มีไซโตไคนิน เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้นแต่ไม่ แบ่งตัว เมื่อใช้ไซโตไคนินร่วมกับออกซิน เซลล์จึงจะขยายตัวไปพร้อมกับการแบ่งตัว อย่างไรก็ตาม เมื่อ เลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารที่มีไซโตไคนินเท่านั้น จะไม่เกิดผลใดๆ ถ้าใช้ไซโตไคนินและออกซินในปริมาณ เท่าๆกัน พาเรนไคมาจะกลายเป็นแคลลัส ถ้ามีไซโตไคนินมากกว่าจะกลายเป็นยอด ถ้าออกซินมากกว่า จะกลายเป็นราก การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของไซโตไคนินได้แก่  สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้าเข้าไปภายในเซลล์ เพราะไม่ทาให้ น้าหนักแห้งเพิ่มขึ้น  สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข้าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างที่ถูกยับยั้งด้วยตา ยอดเจริญออกมาได้ สิ่งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากอัตราส่วนระหว่างไซโตไคนินต่อออกซิน ออกซินจาก ตายอด จะถูกขนส่งลงไปยังตาข้างเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโต ทาให้ยอดยาวขึ้น แต่ไม่แตกกิ่งใหม่ ในขณะที่ไซโตไคนินจะเคลื่อนที่จากรากขึ้นมายังยอด และจะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญของตาข้าง ถ้าตัดตายอดออกไป ตาข้างจะไม่ถูกยับยั้งและจะเจริญออกมาได้ พืชจึงเจริญออกทางด้านข้างมาก ขึ้น ถ้าให้ออกซินที่รอยตัด การเจริญของตาข้างยังคงถูกยับยั้งต่อไป  การชะลอการชรา ความชราของพืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของเซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟิลล์ RNA โปรตีน และไขมัน การชะลอความชราของออกซินเกิดขึ้นโดยการป้องกันการสลายตัวของ โปรตีน กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายังเนื้อเยื่อ ไซโตไคนินสนับสนุน การเกิดคลอโรฟิลล์และการเปลี่ยนอีทิโอพลาสต์ไปเป็นคลอโรพลาสต์  การเกิดปม ปมที่เกิดในพืชเป็นเนื้อเยื่อที่ไม่มีการกาหนดพัฒนาและมีลักษณะคล้ายเนื้องอก เกิด จากเชื้อ Agrobacterium tumefaciens  ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลต่อการเจริญของลาต้นและราก การตัดรากออกไปจะทาให้การ เจริญเติบโตของลาต้นหยุดชะงัก
  • 8. 7  การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไม่กระทบต่ออัตรา การขยายตัวของเซลล์ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แต่ไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจาเป็นในการ รักษากิจกรรมของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายยอด  กระตุ้นการออกดอกของพืชวันสั้นบางชนิด เช่นในแหนเป็ดไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชสร้างสาร ฟลอริเจน (Florigen) ซึ่งชักนาให้พืชออกดอกได้ ไซโตไคนินยังช่วยให้เกิดดอกตัวเมียมากขึ้น  ทาลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได้ เช่น ผักกาดหอม สมมติฐาน ต้นหม่อนในกลุ่มการทดลองชุด Low Dose จะมีอัตราการแตกกิ่งข้างดีที่สุดเมื่อเทียบกับต้นหม่อนใน ชุดควบคุมและชุด High Dose จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลการทางานของฮอร์โมนไซโตไคนินที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีผล ต่อการแตกกิ่งข้างของต้นหม่อนในแต่ละชุดการทดลอง ได้แก่ชุดทดลองควบคุม ชุดทดลอง Low Dose และชุด ตัวแปรตาม ได้แก่อัตราส่วนความยาวกิ่งด้านข้างต่อความสูงของลาต้นหม่อน ตัวแปรควบคุม ได้แก่ปริมาณน้าที่รด ปริมาณแสงแดด ชนิดดินที่ใช้ปลูก รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง - ต้นหม่อน 9 ต้น - ฮอร์โมนไซโตไคนิเข้มข้น 0.1%,0.3% โดยปริมาตร - น้า - สเปรย์สาหรับพ่นฮอร์โมน - กระถางต้นไม้ 9กระถาง - ปุ๋ ย
  • 9. 8 ระยะเวลาในการทดลอง วันที่ 14 มิถุนายน ถึง 19กรกฎาคม พ.ศ.2560 วิธีการเก็บข้อมูล มาตรวจสอบต้นไม้ทุกๆวันพุธของสัปดาห์ โดยใช้ไม้บรรทัดในการวัดความกว้างของต้นและความสูง ของต้น และนามาบันทึกในตารางบันทึกผล วัดทั้งสามต้นและหาค่าเฉลี่ยแล้วบันทึกลงตาราง ขั้นตอนการทดลอง 1. ปลูกต้นหม่อนในกระถางโดยเริ่มปลูกโดยจากกิ่งตอนที่เจริญมาระยะหนึ่งแล้ว 2. รดน้าต้นไม้ทุกๆวันและพ่นสเปรย์ฮอร์โมนไปยังกลุ่ม low dose และ high dose โดยพ่นฮอร์โมนที่ใบ 3. บันทึกผลการทดลองโดยละเอียดทุกหนึ่งอาทิตย์ 4. นาผลการทดลองที่ได้มาสร้างเป็นกราฟแล้วสรุปผล
  • 10. 9 ผลการทดลอง ตารางบันทึกความกว้างและความยาว วันที่ ชุดควบคุม ( 0% ) ชุดทดลอง Low Dose ( 0.1% ) ชุดทดลอง High Dose ( 0.3% ) หมายเหตุ1 2 3 1 2 3 1 2 3 W H W H W H W H W H W H W H W H W H 14 มิ.ย. 60 6 16 5 18 5 15 5 17 5 16 7 17 5 16 6 18 7 17 เริ่มการเก็บ ข้อมูล 21 มิ.ย. 60 7 18 5 21 6 18 7 19 8 21 10 20 8 20 9 24 10 21 28 มิ.ย. 60 8 21 6 24 7 20 8 20 11 28 12 22 10 25 13 31 12 23 5 ก.ค. 60 9 24 7 28 8 22 11 23 15 32 13 26 14 29 17 38 14 26 ต้นที่ 1ของ ชุดควบคุม ออกผลมา2 ผล 12 ก.ค. 60 10 26 8 31 9 25 14 25 18 38 15 28 17 33 20 44 17 30 19 ก.ค. 60 11 28 9 34 10 27 16 28 21 43 17 33 21 38 23 50 18 33 สิ้นสุดการ เก็บข้อมูล หมายเหตุ : W=ความกว้างในหน่วยเซนติเมตร H=ความสูงในหน่วยเซนติเมตร ตารางบันทึกอัตราส่วนระหว่างความกว้างกับความยาว วันที่ ชุดควบคุม ( 0% ) ชุดทดลอง Low Dose ( 0.1% ) ชุดทดลอง High Dose ( 0.3% ) หมายเหตุ 1 2 3 Avg 1 2 3 Avg 1 2 3 Avg 14 มิ.ย. 60 0.375 0.278 0.333 0.324 0.294 0.313 0.412 0.339 0.312 0.333 0.412 0.353 เริ่มการเก็บ ข้อมูล 21 มิ.ย. 60 0.389 0.238 0.333 0.320 0.368 0.375 0.476 0.401 0.400 0.375 0.476 0.417 28 มิ.ย. 60 0.381 0.250 0.350 0.327 0.400 0.375 0.522 0.446 0.400 0.419 0.522 0.447 5 ก.ค. 60 0.375 0.250 0.367 0.330 0.478 0.469 0.500 0.482 0.483 0.447 0.538 0.489 ต้นที่ 1ของ ชุดควบคุม ออกผลมา2 ผล 12 ก.ค. 60 0.385 0.258 0.36 0.334 0.560 0.474 0.536 0.523 0.515 0.455 0.566 0.512 19 ก.ค. 60 0.393 0.265 0.370 0.330 0.571 0.488 0.531 0.530 0.553 0.460 0.545 0.519 สิ้นสุดการ เก็บข้อมูล
  • 11. 10
  • 12. 11 สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองจะพบว่าอัตราส่วนระหว่างความกว้างและความยาว(เฉลี่ย)ของชุด low dose จะมี อัตราการเพิ่มมากที่สุดเป็นไปตามสมมติฐาน รองลงมาด้วยชุด high dose และชุดควบคุมตมลาดับ จะเห็นว่า การใช้ฮอร์โมน ไซโตไคนิน มีผลกับการแตกข้างของต้นหม่อนแต่ถ้าใช้ในปริมาณความเข้มข้นที่ไม่ เหมาะสม ผลที่ออกมาจะไม่แปรผันตามปริมาณความเข้มข้นที่ใส่ลงไปเช่น อัตราความกว้างต่อความยาว (เฉลี่ย)ในชุดhigh Dose มีอัตราที่น้อยกว่าชุด Low Dose จึงควรใส่ปริมาณความเข้มข้นที่เหมาะสม ผลที่ได้ จึงมีประสิทธิภาพสูงที่สุด ข้อเสนอแนะ - ควรที่จะเลือกใช้พืชที่มีขนาดต้นใหญ่กว่านี้หรือมีลักษณะเป็นพุ่มเพื่อให้ผลการทดลองออกมาชัดเจน มากยิ่งขึ้น - ควรศึกษาการปลูกต้นหม่อนในทางปฏิบัติให้ดีละเอียดมากขึ้นเนื่องจากในการทดลองได้มีต้นหม่อน ตาย - ควรบันทึกผลการทดลองในเวลาที่ถี่กว่านี้เพื่อให้ผลการทดลองออกมาละเอียดยิ่งขึ้น
  • 14. 13
  • 15. 14 บรรณานุกรม - J.J. Kieber (2002) ไซโตไคนิน https://th.wikipedia.org/wiki/ไซโตไคนิน เข้าถึงเมื่อวันที่ 1สิงหาคม พ.ศ. 2560 - นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์ : ต้นหม่อน https://th.wikipedia.org/wiki/หม่อน เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560