SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์
เรื่อง อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินในกระถางปลูกพืชขนาดเล็กจากกะลามะพร้าว
(Soil moisture preservation equipment in small pots from coconut shell)
คณะผู้จัดทา
นางสาว ปภาวรินทร์ มาอิ่มใจ
นางสาว พิรวรรณ หิรัญชุฬหะ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 654
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
นาง ทิพย์อาภา ศรีวรางกูล
นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์
โครงงานนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ในปัจจุบัน ประเทศไทยกาลังเผชิญกับปัญหามากมาย ปัญหาภาวะโลกร้อน เป็นปัญหาหลักที่มนุษย์
ทั้งโลกกาลังเผชิญหน้าอยู่ ซึ่งภาวะโลกร้อน เกิดจากการเพิ่มขึ้นของก๊าซที่ปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลก ทา
ให้อุณหภูมิภายในโลกสูงขึ้น เป็นสาเหตุให้ฤดูกาลทั่วโลกเปลี่ยนไป รวมถึงส่งผลกระทบต่อมนุษย์ในอีกหลาย
ด้าน ปัญหาที่สองคือ ปัญหาการใช้น้า จากสถิติการใช้น้าของปี 2559 มีการใช้น้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอยู่ที่
2172.34 ล้านลูกบาศก์เมตร และคาดว่าในปี 2590 จะเพิ่มขึ้นถึง 2800 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากการ
เพิ่มจานวนของประชากร และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ประกอบกับประเทศไทยมีปัญหาการจัดการขยะ
ที่ทิ้งวัสดุธรรมชาติที่ยังสามารถใช้ได้ รวมถึงภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบ
เศรษฐกิจ เพราะนอกจากจะก่อให้เกิดรายได้แล้ว คนส่วนใหญ่ของประเทศยังมีอาชีพทาการเกษตรมาตั้งแต่
ในอดีต และปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมักเกิดจากการขาดแคลนน้าทั้งในการเกษตรและการอุปโภคบริโภค
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
รูปที่ 1.2 ปัญหาการขาดแคลนน้าในประเทศไทยรูปที่ 1.1 กราฟแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก
ที่มา : www.oknation.nationtv.tv ที่มา : www.earth.com
บทที่ 1 บทนา
รูปที่ 1.3 การขุดร่องน้ารอบแปลงนา
ที่มา : https://www.matichon.co.th/sme/news_132440
ปัจจุบันมีการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การใช้วัสดุคลุมดิน ในรักษากักเก็บความชื้นในดิน
ให้คงอยู่ได้นานมากขึ้น ทาให้สามารถลดความถี่ในการรดน้าพืช และสามารถลดปริมาณน้าในการรดแต่ละ
ครั้งได้ มีต้นทุนต่าเนื่องจากเกษตรกรจะนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่างๆมาใช้คลุมดิน และเป็นการลด
ปริมาณขยะทางการเกษตรได้ เช่น ขุยมะพร้าว ฟางข้าว เศษใบไม้ การปลูกพืชในน้า เหมาะแก่บุคคลที่มี
พื้นที่ในการปลูกพืชน้อยแต่ต้องการปลูกพืช เช่นผู้ที่อาศัยอยู่ในคอนโด เป็นต้น การปลูกพืชในน้าสามารถ
ช่วยปริมาณน้าในการปลูกพืชได้ ใช้อุปกรณ์ในการปลูกน้อย นอกจากนี้ ยังมีการทาการทดลอง และมีงานวิจัย
ต่างๆออกมามากมายเพื่อแก้ไขปัญหาการใช้น้า เช่น งานวิจัยการประดิษฐ์นวัตกรรม ลดการใช้น้า งานวิจัย
ทดสอบวัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช เป็นต้น
ที่มาและความสาคัญ
ที่มาและความสาคัญ
บทที่ 1 บทนา
รูปที่ 1.4 วัสดุธรรมชาติที่เป็นขยะทางการเกษตร
ที่มา : www.guru.sanook.com www.nanagarden.com
คณะผู้จัดทำมีควำมสนใจที่จะนำวัสดุเหลือใช้ทำงธรรมชำติ มำประดิษฐ์เป็นอุปกรณ์รักษำควำมชื้นในดิน
ซึ่งจะเป็นวิธีหนึ่งในกำรลดปัญหำกำรใช้น้ำ โดยกำรรักษำควำมชื้นในดินให้คงอยู่นำนขึ้น ลดปริมำณกำรใช้น้ำ
และควำมถี่ในกำรรดต้นพืช อุปกรณ์นี้คือ อุปกรณ์รักษำควำมชื้นในดินจำกกะลำมะพร้ำวที่บรรจุ วัสดุธรรมชำติ
ด้ำนใน และมีกำรเจำะรูระบำยน้ำเข้ำออก ซึ่งอุปกรณ์นี้สำมำรถประดิษฐ์ได้ง่ำย เป็นกำรนำวัสดุเหลือใช้ทำง
กำรเกษตรมำสำมำรถหำได้ในท้องถิ่นมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งยังใช้ต้นทุนที่ต่ำกว่ำ นอกจำกนี้คณะ
ผู้จัดทำยังสนใจที่จะศึกษำคุณสมบัติในกำรรักษำควำมชื้นของวัสดุธรรมชำติแต่ละชนิด และเปรียบเทียบ
ประสิทธิภำพในกำรรักษำของวัสดุธรรมชำติแต่ละชนิดเช่นกัน
วัตถุประสงค์
บทที่ 1 บทนา
1) เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าวที่บรรจุวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วน
ที่แตกต่างกัน มีการเจาะรูเพื่อระบายน้าเข้าออก
2) เพื่อศึกษาคุณสมบัติในการรักษาความชื้นของวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด
3) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นของวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด
รูปที่ 1.5 ดินในการเกษตร
ที่มา www.thaikasetsart.com/การเตรียมดินปลูกพืชผัก/
ถ้าวัสดุธรรมชาติประเภทขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด
แล้วอุปกรณ์กะลามะพร้าวที่บรรจุขุยมะพร้าว จะมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินน้อยที่สุด
สมมติฐาน
ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว
ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด
ไม่มีสมมติฐาน
บทที่ 1 บทนา
ตอนที่ 3 : ทดลองศึกษาอัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่เหมาะสมที่สุด
ถ้าผสมอัตราส่วนวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้นอันดับที่ 1 ต่อวัสดุธรรมชาติ
ที่มีความสามารถในการรักษาความชื้นเป็นอันดับที่ 2 ในอัตราส่วน 3 : 1 มีประสิทธิภาพในการรักษา
ความชื้นมากที่สุดแล้ว อุปกรณ์กะลามะพร้าว ที่ใช้อัตราส่วนนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินน้อยที่สุด
การทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะดินที่ใช้ในการทดสอบคือ
ดินผสมสาเร็จรูปพร้อมปลูกตรา “ดินสมเกียรติ” บรรจุลงใน กระถาง สูง 21 ซม. รัศมี 10 ซม.
ทาการทดลองบริเวณหน้าห้อง 61 ตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
อุปกรณ์กะลามะพร้าวที่ใช้มีรัศมีอยู่ระหว่าง 5-7 เซนติเมตร กะลามะพร้าวที่ใช้มีการเจาะรู รัศมี
0.3 เซนติเมตร จานวน 5 รูด้านล่าง และ จานวน 5 รู บริเวณด้านบน
ขอบเขตการศึกษา
บทที่ 1 บทนา
รูปที่ 1.6 ภาพจาลองอุปกรณ์รักษาความชื้น
รัศมี 5-7เซนติเมตร
นิยามเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 1 บทนา
1) วัสดุธรรมชาติ คือวัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ไม้ ดิน หิน ทราย ยางหนังสัตว์ ขนสัตว์ ฝ้าย
เป็นต้น โดยวัสดุธรรมชาติที่จะนามาใช้ในการทดลองได้แก่ กะลามะพร้าว, ขุยมะพร้าว, หยวกกล้วย,
แกลบ, ผักตบชวา
2) อุปกรณ์รักษาความชื้นที่กล่าวถึงในโครงงานนี้ คือ กะลามะพร้าวที่บรรจุวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วนที่
แตกต่างกัน มีการเจาะรูเพื่อระบายน้าเข้าออก
3) ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น วัดจากความชื้นของดินและน้าหนักของน้าที่ระเหยออกไป โดยถ้า
ความชื้นในดินต่า น้าหนักของน้าที่ระเหยออกไปมาก แสดงว่ามีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นต่า
และถ้าความชื้นในดินสูงและน้าหนักของน้าที่ระเหยออกไปน้อย แสดงว่ามีประสิทธิภาพในการรักษา
ความชื้นสูง
4) การวัดความชื้น ทาการวัดจาก 3-way Soil Meter ซึ่งมีระดับความชื้นทั้งหมด 10 ระดับ โดย ระดับ
1-3 ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับต่า (Dry) ระดับ 4-7 ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับปานกลาง
(Normal) ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับ 8-10 ระดับสูง (Wet)
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 1 บทนา
1) สามารถเพิ่มอัตราการอยู่รอดของพืชโดยการรักษาความชื้นในดินให้คงอยู่นานมากขึ้น
2) สามารถอนุรักษ์น้าโดยการใช้น้าให้เกิดประโยชน์สูงสุดและลดปริมาณน้าที่ใช้ในการรดต้นพืช
3) สามารถนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ ขุยมะพร้าว แกลบ ผักตบชวา
หยวกกล้วย และ กะลามะพร้าว
4) ทาให้ได้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการรักษาความชื้นในดินที่ราคาถูกและประดิษฐ์ง่ายจากวัสดุใน
ท้องถิ่น
( ที่มา : https://archive.clib.psu.ac.th/online-exhibition/S_profession/page5.html ) (ที่มา : www.hybridenergy.co.th/board/index.php/) (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki)
รูปที่ 1.7 วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรรรมชาติ
ตัวแปรต้น : ชนิดของวัสดุธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น
ตัวแปรตาม : ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น โดยดูจากปริมาณความชื้นในดินที่
เปลี่ยนแปลง ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์กะลามะพร้าว
ตัวแปรควบคุม : ตาแหน่งของจุดกึ่งกลางกะลาที่ฝังลงในดิน บริเวณที่ตั้งกระถาง น้าหนักของ
วัสดุธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น จานวนรูที่เจาะกะลา ชนิดของดิน ระดับความลึกที่วัด
ความชื้นในดิน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว
ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด
ไม่มีตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 1 บทนา
ตัวแปรต้น : อัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูงอันดับที่ 1
และอันดับที่ 2
ตัวแปรตาม :ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น โดยดูจากปริมาณความชื้นในดินที่เปลี่ยนแปลง
ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์กะลามะพร้าว
ตัวแปรควบคุม : ตาแหน่งของจุดกึ่งกลางกะลาที่ฝังลงในดิน บริเวณที่ตั้งกระถาง น้าหนักของวัสดุ
ธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น จานวนรูที่เจาะกะลา ชนิดของดิน ระดับความลึกที่วัดความชื้นใน
ดิน
ตอนที่ 3 ทดลองศึกษาอัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่เหมาะสมที่สุด
บทที่ 1 บทนา
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กะลามะพร้าว2.1
ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้ อมะพร้าว อยู่ในผลมะพร้าว กะลามะพร้าวมีคุณสมบัติและลักษณะพิเศษที่
สามารถนามาดัดแปลงเพื่อใช้ทาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้มาตั้งแต่โบราณ เนื่องจากกะลาที่แก่จัดมี
ความแข็งทนทาน สามารถขัดผิวให้เรียบได้ มีสีดาเป็นเงางาม ตัดเลื่อยเป็นชิ้นงานขนาด
ต่างๆ ได้ง่าย
รูปที่ 2.1 กะลามะพร้าว รูปที่ 2.2 การนากะลาไปดัดแปลง
( ที่มา : https://archive.clib.psu.ac.th/online-exhibition/S_profession/page5.html ) ( ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=375230)
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ขุยมะพร้าว2.2
ขุยมะพร้าว คือ เปลือกมะพร้าวที่ปั่นเอาใยออกหรือ ปั่นให้ใยละเอียดมีคุณสมบัติ คือ
เบา อุ้มน้าได้ดี สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ และเก็บความชื้นไว้ได้นานเมื่อจะใช้ต้อง
พรมน้าให้ขุยมะพร้าวมีความชื้นพอเหมาะ มีประโยชน์ทางการเกษตรอย่างมากมาย เช่น การ
ผสมปุ๋ ยหมัก ใช้ในการขยายพันธุ์พืช การอัด และการนามาทาเป็นถ่าน เป็นต้น
รูปที่ 2.3 ขุยมะพร้าว
( ที่มา : https://sites.google.com/site/phornphongtham/reviews)
หยวกกล้วย2.3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
คือส่วนของลาต้นกล้วย แบ่งออกเป็นส่วนที่เรียกว่า แพหยวกกล้วย คือส่วนด้านนอก ส่วน
ด้านในหรือแกนอ่อนของลาต้นเทียมของกล้วย มีสีขาว กินได้ นิยมนามาทาอาหาร หยวก
กล้วย เป็นส่วนของกล้วยที่มีใยอาหารช่วยดูดซับสิ่งสกปรกและสารพิษตามลาไส้ หยวกกล้วยมี
ประโยชน์และสามารถนามาใช้ในด้านการเกษตรมากมาย เช่น การนามาทาอาหารสัตว์ การ
นามาทาเชือกกล้วย นามาเจาะรูเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ นามาคลุมดิน เป็นต้น
รูปที่ 2.4 หยวกกล้วย
(ที่มา : www.hybridenergy.co.th)
แกลบ2.4
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เปลือกแข็งของเมล็ดข้าวที่ได้จากการสีข้าว เป็นส่วนที่เหลือจากการผลิตข้าวสาร แกลบไม่
ละลายน้า มีความคงทนทางเคมีทนทานต่อแรงกระทา จึงเป็นตัวดูดซับที่ดีในการบาบัดน้าเสียที่มี
โลหะหนัก นอกจากมีการนาแกลบข้าวไปใช้เป็นเชื้อเพลิงต่างๆ นาไปผสมกับวัสดุอื่นๆทาเป็นวัสดุ
ก่อสร้างแล้ว แกลบข้าวยังถูกนาไปผลิตเป็นขี้เถ้าแกลบ แกลบมีประโยชน์ในหลายด้าน เช่น ด้าน
การเกษตร ด้านการก่อสร้าง เป็นต้น
รูปที่ 2.5 แกลบ
(ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki)
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ผักตบชวา2.5
ผักตบชวา เป็นพืชน้าล้มลุกหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้าแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจน
กลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้าทั่วไป มีคุณสมบัติในการอุ้มน้าได้ดี รักษาความชุ่มชื้น
ในปัจจุบันมีความพยายามในการนาผักตบชวามาใช้ประโยชน์ รวมถึงมีงานวิจัยมากมายให้
ความสนใจกับผักตบชวา ตัวอย่างการนาผักตบชวามาใช้ประโยชน์ เช่น นามาทาสิ่งประดิษฐ์ ใช้
เป็นอาหารสัตว์ ด้านการบาบัดน้าเสีย ด้านการเกษตรคลุมดิน เป็นต้น
รูปที่ 2.6 ผักตบชวา รูปที่ 2.7 การเพาะเห็ดฟางด้วยผักตบชวา
(ที่มา : th.wikipedia.org) (ที่มา : ites.google.com)
การวัดความชื้นในดิน ถือเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นในการปลูกพืช จาเป็นต้องใช้เครื่องวัดดิน และ
เครื่องวัดกรดด่าง เพื่อจะได้รู้ถึงความชื้นที่เหมาะสม เพราะพืชแต่ละชนิดนั้นต้องการน้ามากน้อยเพียงใดที่ไม่
เท่ากัน ในการปลูกพืช น้าเป็นปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งเนื่องจาก น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในเซลล์ของพืช น้า
เป็นตัวปรับอุณหภูมิภายในลาต้นของพืชไม่ให้มีอุณหภูมิสูงเกินในเวลากลางวันซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
น้าเป็นตัวช่วยในการลาเลียงธาตุอาหารไปภายในต้นพืช น้าสามารถช่วยลดความเป็นกรด–ด่าง และความ
เค็ม ตลอดจนทาให้สารเคมีที่เป็นพิษ จาพวกสารฆ่าแมลง และสารกาจัดศัตรูพืชเจือจางลง ทาให้พืชสามารถ
เจริญเติบโตได้ดี ดั้งนั้นเราจึงนาตัวเครื่องวัดความชื้นในดินมา ตรวจสอบว่าดินยังมีความชื้นอยู่หรือไม่ เพราะดิน
แต่ละประเภทมีการสะสมความชื้นที่ไม่เท่ากัน เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าดินแต่ละประเภทเหมาะกับพืชลักษณะใดบ้าง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หลักการตรวจวัดความชื้ นในดิน2.6
(ที่มา : https://eastern-energy.net/)
ภาพที่ 2.8 การวัดความชื้นในดิน
ความชื้นในดินเป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้าในดินกับมวลของดินแห้งโดยทั่วไปสัดส่วนนี้ มีค่าระหว่าง
0.05-0.5 กรัม/กรัม การวัดความชื้นในดินช่วยบอกหน้าที่ของดินที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น เช่น แสดงถึง
ความสามารถในการอุ้มน้าหรือการไหลผ่านของน้าใต้ดิน การคายน้าและระเหยของน้าออกสู่บรรยากาศ
นอกจากนี้ ยังใช้อธิบายความสามารถของดินในการให้ธาตุอาหารและน้าสู่พืช
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7
(ที่มา : jumpstartinnovation.blogspot.com/)
ภาพที่ 2.9 การให้น้ากับพืช
ความชื้นในดิน (กรัม/กรัม) = มวลของดินเปียก - มวลของดินแห้ง
การคลุมดินเป็นการปิดหน้าดินรอบต้นพืชด้วยเศษซากพืชหรือวัสดุอื่น อันเป็นเทคนิคการบารุงรักษาดินที่
ทาได้ง่าย แต่มีความสาคัญอย่างมาก การคลุมดินมีข้อดีหลายประการดังนี้
1) ปกป้องผิวดินและ รักษาความชื้นในดิน
2) รักษาอุณหภูมิบริเวณรากพืชให้คงที่
3) ลดการเจริญเติบโตของวัชพืช ทั้งในแง่ของการกลบต้นวัชพืชและ จากัดการงอกของเมล็ด
4) ปรับความเป็นกรดด่าง(pH) ของดิน และปรับโครงสร้างให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
ขนาดเล็ก เช่นจุลินทรีย์ ไส้เดือน เพื่อการไถพรวนตามธรรมชาติ
5) เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน
2.7.1 การคลุมดิน
หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
วัสดุที่นิยมนามาคลุมดินพอสรุปเป็นตัวอย่างได้ดังนี้2.7.1 การคลุมดิน
หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
(ที่มา : www.svgroup.co.th/คุณค่ามหาศาลของฟางข้าว/) (ที่มา : www.thai.alibaba.com/product-detail/)
รูปที่ 2.10 ฟางข้าว รูปที่ 2.11 แกลบกาแฟ รูปที่ 2.12 แกลบข้าว
(ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki)
(ที่มา : www.electro48.com/shop/ขุยมะพร้าว-1-กระสอบ/) (ที่มา : www.pantip.com/topic/35431121) (ที่มา : www.flickr.com/photos/iwisdom/5875765593)
รูปที่ 2.13 ขุยมะพร้าว รูปที่ 2.14 เศษหญ้า รูปที่ 2.15 วัสดุเพาะเห็ด
การปลูกผักในกระถางนี้ จะต้องใส่ใจในเรื่องของการระบายน้าด้วย ซึ่งความสาคัญนั้นอยู่ที่การเลือก
กระถางอีกเช่นกัน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เลือกกระถางที่มีรูระบายน้า หรือหากไม่มี ก็ควรเจาะรูให้ เพื่อให้น้า
สามารถระบายออกมาได้ กระถางหรือภาชนะบางชนิดเจาะรูได้ยาก ดังนั้นการเลือก นอกจากจะดูที่รูปแบบ
และความสวยงามแล้ว ยังต้องดูที่ความสะดวกในการใช้สอยอีกด้วย ส่วนดินที่เหมาะควรจะประกอบได้ด้วย
พีทมอส หรือกากมะพร้าว 40 เปอร์เซนต์ ดินผสมคุณภาพดี 50 เปอร์เซนต์ และอีก 10 เปอร์เซนต์ เป็น
เพอร์ไลท์ หรือหินภูเขาไฟ ดินที่มีส่วนประกอบที่กล่าวมานี้ จะสามารถรักษาความชุ่มชื้นได้ดี ระบายน้าได้
รวดเร็ว และมีความอุดมสมบูรณ์ในระดับปานกลาง
2.7.2 การปลูกผักสวนครัวในกระถาง สาหรับบ้านพื้นที่จากัด
หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
(ที่มา : https://www.sanook.com/)
ภาพที่ 2.16 การปลูกผักสวนครัวในกระถาง สาหรับบ้านพื้นที่จากัด
2.8.1
นวัตกรรมลดปริมาณการใช้น้าในการปลูกพืช จากการศึกษาของ โรงเรียน
พนมสารคาม ส่งเข้าแข่งขันในการประกวด Thailand Junior Water Prize 2017
นวัตกรรมลดปริมาณการใช้น้าในการปลูกพืช ผลิตขึ้นเพื่อแก้ปัญหาในการใช้น้าปริมาณมาก
สาหรับการปลูกพืช จึงคิดที่จะนากะลามาทาเป็นวัสดุคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นโดยทาการทดลอง
ในบ่อปูนซีเมนต์ซึ่งศึกษาชนิดของวัสดุคลุมดิน ลักษณะของกะลามะพร้าวคลุมดิน ชนิดของเส้นใย
ธรรมชาติที่ใส่ในกะลามะพร้าวคู่คลุมดิน
การทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม ณ ห้องปฏิบัติการและสภาพจริง พบว่า
กะลามะพร้าวคู่โดยมีเส้นใยจาก ต้นกล้วยผสมมูลโคปริมาณ 5 กรัม ขึ้นรูปตามลักษณะของ
กะลามะพร้าวอยู่ภายในสามารถรักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุด
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.8.2
วัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช จากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์ชานาญ
การพิเศษ สังกัดกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สานักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน
การศึกษาในเรือนทดลองเพื่อหาผลของวัสดุคลุมดินต่าง ๆ ที่มีผลต่ออุณหภูมิของดิน ผลผลิตและ
ประสิทธิภาพการลดการใช้น้าของพืชโดยมีตารับการทดลอง ไม่คลุมดิน และคลุมดินด้วยวัสดุธรรมชาติ
ต่างๆ พลาสติก และหนังสือพิมพ์ แต่ละชนิดหนา 5 ซม. ผลของการทดลองปรากฏว่า
- อุณหภูมิของดินที่ระดับความลึก 10 ซม. ตารับคลุมดินด้วยพลาสติกมีค่าสูงกว่าตารับอื่น
- การระเหยของน้าผิวหน้าดิน และการใช้น้า มีค่ามากที่สุดในตารับที่ไม่คลุมดิน มีค่าน้อยในตารับที่คลุม
ดินด้วยแกลบสด และปุ๋ ยหมักผสมโฟม
- ประสิทธิภาพการลดการใช้น้าของข้าวโพดมีค่าสูงในตารับที่คลุมดินด้วยแกลบสด และต่าสุดในตารับที่
ไม่ได้คลุมดิน
ส่วนการศึกษาในสนามที่ไร่ของเกษตรกรจังหวัดนครปฐม พบว่าความชื้นในดินที่ระดับความลึก
30 ซม. ของแปลงทดลองในระหว่างปลูกแตงกวา ความชื้นและน้าหนักผลผลิตมีค่าสูงสุดในตารับที่คลุม
ดินด้วยแกลบสด
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.8.3
ผลของเศษวัสดุและวัชพืชบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของ
พืชในดินทราย จากการศึกษาของ โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสุรินทร์
โครงงานนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการเก็บรักษาความชื้นของเศษวัสดุ
และวัชพืชแต่ละชนิด เศษวัสดุและวัชพืชที่ใช้ได้แก่ ฟาง ขุยมะพร้าว ผักตบชวา แกลบ หญ้าแห้ง ขี้กบ ขี้เลื่อย
เมล็ดข้าวโพด มาผสมในดินเพื่อดูความสามารถในการเก็บรักษาความชื้นในดินทรายและช่วยในการ
เจริญเติบโตของพืช ผลการทดลองพบว่า ขุยมะพร้าวและแกลบสามารถรักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุด
รองลงมาได้แก่หญ้าแห้ง ผักตบชวา ขี้กบ ขี้เลื่อย และฟางตามลาดับ และส่วนผสมของวัสดุที่สามารถรักษา
ความชื้นในดินได้ดีที่สุดคือ ส่วนผสมระหว่างขุยมะพร้าวและแกลบ และอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างขุย
มะพร้าวและแกลบที่รักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว 15 กรัม ผสมกับแกลบ 15 กรัม จาก
การศึกษาพบว่า การใช้วัสดุคลุมดินที่คิดขึ้น พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดีจากการเพาะด้วยเมล็ด และถ้ายิ่งมี
ปริมาณขุยมะพร้าวมากก็จะสามารถรักษาความชื้นในดินได้มากขึ้นตามลาดับ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงงาน
1) กระถางรัศมี 10 ซม. สูง 21 ซม. จานวน 12 กระถาง
2) เครื่องชั่งน้าหนักจานวน 1 เครื่อง
3) 3-ways meter จานวน 1 เครื่อง
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1
4) วัสดุธรรมชาติในการรักษาความชื้น ได้แก่
4.1 ขุยมะพร้าว 1 กิโลกรัม
4.2 แกลบ 1 กิโลกรัม
4.3 หยวกกล้วย 1 กิโลกรัม
4.4 ผักตบชวา 1 กิโลกรัม
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
ขุยมะพร้าว
5) กะลามะพร้าว จานวน 25 คู่
6) ยางวง จานวน 50 เส้น
7) สว่านเจาะรู จานวน 1 เครื่อง
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
8) ดินสาเร็จรูปพร้อมปลูก ปริมาณ10 กิโลกรัม
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
10) น้าประปา
11) ผ้าขาวบางขนาด 25 cm x 25 cm จานวน 25 ผืน
ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว
บทที่3 วิธีการดาเนิน
โครงงาน
วิธีการทดลอง3.2
1) นากะลามะพร้าวมาขัดทาความสะอาด นาเศษกะลาที่อยู่ด้านในออก
รูปที่ 3.1 การทาความสะอาดกะลามะพร้าว รูปที่ 3.2 การขัดกะลามะพร้าว
ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว
2) เจาะรูกะลามะพร้าวด้วยสว่านไฟฟ้า โดยเจาะรูรัศมี 3 มิลลิเมตร กะลาที่อยู่ด้านบน 5 รู และ
กะลาที่อยู่ด้านล่าง 5 รู ดังภาพ
กะลาด้านบน
รูปที่ 3.3 แสดงการเจาะรูด้านบนและด้านล่างกะลา
4 เซนติเมตร
4 เซนติเมตร
8 เซนติเมตร
8 เซนติเมตร
4 เซนติเมตร
บทที่3 วิธีการดาเนิน
โครงงาน
วิธีการทดลอง3.2
รูปที่ 3.4 การเจาะรูกะลามะพร้าว
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
1) นาวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิดมาหั่น ขนาดประมาณชิ้นละ ½ นิ้ วและตากให้แห้ง
รูปที่ 3.5 การหั่นวัสดุธรรมชาติ
ตากแห้ง
รูปที่ 3.6 วัสดุธรรมชาติที่ตากแห้งแล้ว
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
2) ชั่งวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด ได้แก่ ขุยมะพร้าว แกลบ หยวกกล้วย และผักตบชวาอย่างละ 40 กรัม
ห่อด้วยผ้าขาวบาง มาใส่ในอุปกรณ์กะลามะพร้าว
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
รูปที่ 3.7 การชั่งวัสดุธรรมชาติ (40 กรัม) รูปที่ 3.8 การนาวัสดุใส่ผ้าขาวบาง
3) นายางวงจานวน 2 เส้น มารัดอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวในแนวตั้งฉาก โดยให้จุดตัด
ของยางวงอยู่บริเวณรูกลาง ของอุปกรณ์กะลา และนามาแช่น้าเป็นเวลา 1 คืน
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
รูปที่ 3.9 การนายางยืดมารัดอุปกรณ์กะลามะพร้าว รูปที่ 3.10 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวมาแช่น้าให้อิ่มตัว
4) นาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวที่แช่น้าอิ่มตัวแล้วมาฝังลงในดิน โดยให้กึ่งกลางของ
อุปกรณ์กะลามะพร้าว อยู่บริเวณกึ่งกลางกระถาง
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
รูปที่ 3.11 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวออกจากน้า รูปที่ 3.12 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวฝังลงในดิน
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
5) วัดปริมาณความชื้นในดิน โดยวัดที่ระดับความลึก 12 เซนติเมตรจากผิวดิน และทาการวัดอุณหภูมิที่
ระดับความสูงจากผิวดิน 20 เซนติเมตร ทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง
รูปที่ 3.14 ระดับอุณหภูมิ ณ วันที่ทาการวัดผลการทดลองรูปที่ 3.13 การวัดปริมาณความชื้นในดิน
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
6) จดบันทึกปริมาณความชื้นในดิน (บันทึกทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง)
7) สรุปผลและจัดเรียงลาดับประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
รูปที่ 3.15 การทาการทดลอง
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
1) นาหยวกกล้วยและแกลบ * มาผสมกัน ในอัตราส่วน 1 : 1 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
รูปที่ 3.16 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 1:1
หมายเหตุ จากการทดลองที่ 2 พบว่า หยวกกล้วย มีความชื้นเริ่มต้นสูงสุด และแกลบมีความสามารถในการรักษาความชื้นได้ดีที่สุด
คณะผู้ทาการทดลอง จึงสรุปว่า หยวกกล้วยและแกลบเป็นวัสดุที่เหมาะสมที่สุด
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
2) นาหยวกกล้วยและแกลบมาผสมกันในอัตราส่วน 3 : 1 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม
รูปที่ 3.17 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 3:1
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
3) นาหยวกกล้วยและแกลบมาผสมกันในอัตราส่วน 1 : 3 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม
รูปที่ 3.18 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 1:3
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
4) บรรจุหยวกกล้วยและแกลบที่ผสมไว้ในอัตราส่วนต่างๆลงในผ้าขาวบางขนาด
25 เซนติเมตร x 25 เซนติเมตร แล้วนามาบรรจุลงในอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าว
รูปที่ 3.19 บรรจุหยวกกล้วยและแกลบที่ผสมไว้ในอัตราส่วนต่างๆลงในผ้าขาวบาง
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
5) นายางวงจานวน 2 เส้น มารัดอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวในแนวตั้งฉาก โดยให้จุดตัด
ของยางวงอยู่บริเวณรูกลาง ของอุปกรณ์กะลา และนามาแช่น้าเป็นเวลา 1 คืน
3.20 ลักษณะรัดอุปกรณ์รักษาความชื้นด้วยยางวง 2 เส้น 3.21 แช่อุปกรณ์รักษาความชื้นลงน้าในน้า ทิ้งไว้เป็นเวลา 1 คืน
แนวการรัดยางวงบน
อุปกรณ์รักษาความชื้น
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
6) นาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวที่แช่น้าแล้ว มาฝังลงในดิน โดยให้กึ่งกลางของกะลาด้าน
ที่เจาะรู อยู่บริเวณที่สูงจากพื้นกระถาง 10 เซนติเมตร และ นาดินบรรจุลงในกระถาง
จนดินมีความสูง 18 เซนติเมตร
รูปที่ 3.22 นาอุปกรณ์ขึ้นจากน้า รูปที่ 3.23 นาอุปกรณ์รักษาความชื้นมาฝังลงในดิน
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
7)วัดปริมาณความชื้นในดิน โดยวัดที่ระดับความลึก 12 เซนติเมตรจากผิวดิน และทาการวัดอุณหภูมิที่
ระดับความสูงจากผิวดิน 20 เซนติเมตร ทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง
รูปที่ 3.24 วัดปริมาณความชื้นในดิน
ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
9) สรุปผลและจัดเรียงลาดับประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
10) จัดทารูปเล่มรายงาน
11) นาเสนอโครงงาน
12) จัดทาโปสเตอร์
8) จดบันทึกผลการทดลองประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
ปี 2561
พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน
กาหนดหัวข้อโครงงาน 
เขียนเค้าโครงโครงงาน  
เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การทดลอง
 
ลงมือทาโครงงาน
ตอนที่ 1
 
ลงมือทาโครงงาน
ตอนที่ 2

ลงมือทาโครงงาน
ตอนที่ 3

การเขียนรายงานผล   
การนาเสนอโครงงาน  
เวลา
รายการ
ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงแผนปฏิบัติงาน
บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการทดลอง
ชุดการทดลอง
ระดับความชื้นในดิน ณ วันที่วัดผลการทดลอง *
ครั้งที่ 1
(24/8/61)
ครั้งที่ 2
(27/8/61)
ครั้งที่ 3
(28/8/61)
ครั้งที่ 4
(29/8/61)
ครั้งที่ 5
(31/8/61)
ครั้งที่ 6
(5/9/61)
อุปกรณ์กะลาบรรจุขุย
มะพร้าว
3.75 3.6 5.5 5.5 3.625 3
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
แกลบ
5.25 5.25 4.75 6 4.625 3.25
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
ผักตบชวา
7.5 4.625 3.25 2.5 3.25 2
อุปกรณ์กะลาบรรจุหยวก
กล้วย
7 5.6 6.5 4.75 3.75 3.75
positive control
(อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว)
3.875 5.375 3.25 2.875 1.75 1.875
Negative control
(กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น)
4.25 3.5 3 4.375 3.875 2.25
ตารางที่ 3.2 ตารางแสดงระดับความชื้นของอุปกรณ์รักษาความชื้นที่บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆ ด้านในวันที่ทาการทดลอง
* 1-3 (Red/Dry) 4-7 (Green/Normal) 8-10 (Blue/Wet)
บทที่ 4 ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว
ได้อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าวที่ทาการขัดแล้ว มีการเจาะรูรัศมี 0.3 เซนติเมตร
จานวน 5 รู บริเวณด้านบนและด้านล่าง มียางวง 2 เส้นรัดบริเวณภายนอกในลักษณะตั้งฉากกันและตัด
กัน ด้านในกะลาบรรจุวัสดุธรรมชาติห่อด้วยผ้าขาวบางและรัดด้วยยางวง
ภาพที่ 4.1 อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าว
บทที่ 4 ผลการทดลอง
ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด
ชุดการทดลอง
ระดับความชื้นในดิน ณ วันที่วัดผลการทดลอง *
ครั้งที่ 1
(24/8/61)
ครั้งที่ 2
(27/8/61)
ครั้งที่ 3
(28/8/61)
ครั้งที่ 4
(29/8/61)
ครั้งที่ 5
(31/8/61)
ครั้งที่ 6
(5/9/61)
อุปกรณ์กะลาบรรจุขุยมะพร้าว 3.75 3.6 5.5 5.5 3.625 3
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
แกลบ
5.25 5.25 4.75 6 4.625 3.25
อุปกรณ์กะลาบรรจุผักตบชวา 7.5 4.625 3.25 2.5 3.25 2
อุปกรณ์กะลาบรรจุหยวกกล้วย 7 5.6 6.5 4.75 3.75 3.75
positive control
(อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว)
3.875 5.375 3.25 2.875 1.75 1.875
Negative control
(กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น)
4.25 3.5 3 4.375 3.875 2.25
* 1-3 (Red/Dry) 4-7 (Green/Normal) 8-10 (Blue/Wet)
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงระดับความชื้ นของอุปกรณ์รักษาความชื้ นที่บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆ ด้านในวันที่ทาการทดลอง
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
1 2 3 4 5 6
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
ขุยมะพร้าว
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
แกลบ
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
ผักตบชวา
อุปกรณ์กะลาบรรจุ
หยวกกล้วย
positive control (อุปกรณ์กะลาอย่า
Negative control
กราฟที่ 4.1 กราฟแสดงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 2
ระดับความชื้น
ครั้งที่วัดผลการทดลอง (วันที่)
(กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น)
(24/8/61) (27/8/61) (28/8/61) (29/8/61) (31/8/61) (5/9/61)
(อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว)
กราฟที่ 4.2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 2
ความชื้นเริ่มต้น
การรักษาความชื้น
(จากความชันของเส้นแนวโน้ม)
อันดับที่ 1 ผักตบชวำ ขุยมะพร้ำว
อันดับที่ 2 หยวกกล้วย Negative Control
อันดับที่ 3 แกลบ แกลบ
อันดับที่ 4 Negative Control หยวกกล้วย
อันดับที่ 5 Positive Control Positive Control
อันดับที่ 6 ขุยมะพร้ำว ผักตบชวำ
ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
ตารางที่ 4.2 ตารางการจัดลาดับวัสดุธรรมชาติตามค่าความชื้นเริ่มต้นของดินหลังจากใส่อุปกณ์รักษา
ความชื้นในวันแรก และประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
การเปรียบเทียบ
ประสิทธิภาพ
การรักษาความชื้ น
กราฟที่ 4.3 กราฟแสดงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 3
y = -0.2292x + 7.2153
y = -0.2208x + 6.7708
y = -0.1938x + 6.0243
y = -0.2542x + 7.1736
y = -0.2792x + 6.4375
y = -0.3521x + 6.0799
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
อัตราส่วน 1:1 อัตราส่วน 1:3 อัตราส่วน 3:1 หยวกกล้วย
แกลบ ควบคุม Linear (อัตราส่วน 1:1) Linear (อัตราส่วน 1:3)
Linear (อัตราส่วน 3:1) Linear (หยวกกล้วย) Linear (แกลบ) Linear (ควบคุม)
ครั้งที่วัดผลการทดลอง
ระดับความชื้น
(ชุดควบคุม)
ชุดควบคุม
กราฟที่ 4.4 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 3
ความชื้นเริ่มต้น
การรักษาความชื้น
(จากความชันของเส้นแนวโน้ม)
อันดับที่ 1 อัตรำส่วน 1:1 อัตรำส่วน 3:1
อันดับที่ 2 อัตรำส่วน 3:1 อัตรำส่วน 1:3
อันดับที่ 3 ชุดควบคุม อัตรำส่วน 1:1
อันดับที่ 4 อัตรำส่วน 1:3 หยวกกล้วย
อันดับที่ 5 หยวกกล้วย แกลบ
อันดับที่ 6 แกลบ ชุดควบคุม
ตอนที่ 3 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
ตารางที่ 4.5 ตารางการจัดลาดับวัสดุธรรมชาติตามค่าความชื้นเริ่มต้น และประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
การเปรียบเทียบ
ประสิทธิภาพ
การรักษาความชื้ น
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ
ข้อเสนอแนะ
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว
ได้อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าว
ตอนที่ 2 การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
จากผลการทดลองพบว่า วัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นอันดับ 1
คือแกลบ และวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นอันดับ 2 คือหยวก
กล้วย
ตอนที่ 3 การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่
ดีที่สุด
จากผลการทดลอง พบว่า การผสมหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 มี
ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นในดินมากที่สุด
สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว
คณะผู้จัดทา เลือกใช้กะลามะพร้าวมาเป็นอุปกรณ์บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดอื่นๆ
เนื่องจากกะลามะพร้าวมีความคงทนแข็งแรง นอกจากนี้ ยังเป็นวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตรที่หาได้ง่ายตามท้องถิ่นและสามารถนามาใช้ใหม่ได้ และสาเหตุที่เลือกใช้
แกลบ ขุยมะพร้าว ผักตบชวา และหยวกกล้วยมาเป็นวัสดุที่ใช้ในการทดลอง เนื่องจาก
เป็นวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูง
อภิปรายผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ
ข้อเสนอแนะ
ตอนที่ 2 การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด
จากผลการทดลองพบว่า ผลการทดลองสอดคล้องกับผลการทดลองจากงานวิจัย
“วัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช” ของ นักวิทยาศาสตร์ชานาญการพิเศษ
สังกัดกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สานักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน และ
งานวิจัย “ผลของเศษวัสดุและวัชพืชบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของพืชในดินทราย” ของ
โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสุรินทร์ที่ว่าแกลบมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูง เมื่อ
เปรียบเทียบกับวัสดุธรรมชาติชนิดอื่นๆ ซึ่งผลการทดลองที่ได้จากตารางที่ 4.3
สอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า ขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด
แต่ทางคณะผู้จัดทาไม่ได้นาขุยมะพร้าวมาทาการทดลองต่อในตอนที่ 3 แต่ใช้แกลบแทน
เนื่องจาก ขุยมะพร้าวมีความชื้นเริ่มต้นต่าที่สุด
อภิปรายผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ
ข้อเสนอแนะ
อภิปรายผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ
ข้อเสนอแนะ
ตอนที่ 3 การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด
จากผลการทดลองพบว่า การผสมหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 มีประสิทธิภาพใน
การรักษาความชื้นมากที่สุดเนื่องจากมีประสิทธิภาพการรักษาความชื้น และความชื้นเริ่มต้น
สูงที่สุด คาดว่าเป็นผลมาจากหยวกกล้วยมีความสามารถในการรักษาความชื้นเริ่มต้น ได้ดี
ที่สุดและแกลบมีความสามารถในการรักษาความชื้นสูงที่สุด อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจาก
กะลามะพร้าวที่มีการใส่วัสดุธรรมชาติคือหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 จึงมี
ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด
ข้อเสนอแนะ
1) ควรตัดผ้าขาวบางเป็นลักษณะรูปวงกลม เพื่อห่อวัสดุธรรมชาติได้สะดวกมากขึ้น
2) เปลี่ยนจากการวางกะลาโดยให้รูอยู่ด้านบนและล่าง มาเป็นด้านซ้ายและขวา เนื่องจาก
ต้องการให้ความชื้นกระจายอย่างทั่วถึงและเท่ากัน เพราะหากวางในแนวบนและล่างแล้ว
น้าจากรูด้านบนจะระเหยเร็วกว่าน้าจากรูบริเวณด้านล่าง
3) เปลี่ยนการใช้บานพับยึดกะลา มาเป็นการใช้หนังยาง เนื่องจากการเจาะกะลาบริเวณริม
อาจทาให้กะลาเกิดความเสียหายได้
4) ควรแช่อุปกรณ์กะลาในน้าข้ามคืนเนื่องจากต้องการให้ วัสดุธรรมชาติทุกชนิดอิ่มน้า
5) พัฒนาความสามารถในการนาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวมาใช้ซ้า โดย
อาจจะเปลี่ยนวัสดุ จากกะลา เป็นวัสดุชนิดอื่น เช่น พลาสติก เป็นต้น
6) ทาการทดลองผสมวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วนและชนิดที่แตกต่างกัน
7) ทาการทดลอง วัดและศึกษาระยะเวลาของอุปกรณ์รักษาความชื้นที่สามารถใช้งานได้
8) ทาการทดลองเพิ่มเติมในลักษณะสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน และในสภาพแวดล้อมจริง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
Bloggang. (2547). รักษ์ดินต้องคลุมดิน. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์, 2561, จาก
https://www.bloggang.com/mainblog.php?
ศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัย. (2556). วิกฤตน้าประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 23
พฤษภาคม, 2561, จาก http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2558). ภัยแล้งผลกระทบภาคเกษตร.
สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม, 2561, จาก
http://www.acfs.go.th/read_news.php?id=13360&ntype=09
social.nesdb. (2560). สถานการณ์ภัยแล้งของประเทศไทย พ.ศ. 2532 – 2559. สืบค้น
เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม, 2561, จากsocial.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx
ใต้ หรอย มีลุย. (2547). ผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าว มูลค่าเพิ่มที่งดงาม. สืบค้นเมื่อวันที่ 30
พฤษภาคม, 2561, จาก https://archive.clib.psu.ac.th/online-
exhibition/S_profession/page5.html
บรรณานุกรม
ไทยเกษตรศาสตร์. (2555). ดินในการเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน, 2561, จาก
www.thaikasetsart.com/การเตรียมดินปลูกพืชผัก/
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2561). ผักตบชวา. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน, 2561, จาก
th.wikipedia.org/wiki/ผักตบชวา
ฟ้าสีหมอก. (2559).ระบบสวนครัวน้าหยด เริ่มต้นที่นี่ตอนนี้ ขยายผลทั่วประเทศแล้วนะ.
สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน, 2561, จาก https://pantip.com/topic/35243680
ภาคผนวก
ภาคผนวก
ภาคผนวก
Thank you

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราพัน พัน
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

What's hot (20)

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to Pptgst uprojectcoconut61

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Wichai Likitponrak
 
โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 40892827602
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3juckit009
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีPostharvest Technology Innovation Center
 

Similar to Pptgst uprojectcoconut61 (17)

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
 
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.docโครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Is 3 (1)
Is 3 (1)Is 3 (1)
Is 3 (1)
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
kp2551
kp2551kp2551
kp2551
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
botany
botanybotany
botany
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Pptgst uprojectcoconut61

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินในกระถางปลูกพืชขนาดเล็กจากกะลามะพร้าว (Soil moisture preservation equipment in small pots from coconut shell) คณะผู้จัดทา นางสาว ปภาวรินทร์ มาอิ่มใจ นางสาว พิรวรรณ หิรัญชุฬหะ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 654 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นาง ทิพย์อาภา ศรีวรางกูล นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ โครงงานนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. ในปัจจุบัน ประเทศไทยกาลังเผชิญกับปัญหามากมาย ปัญหาภาวะโลกร้อน เป็นปัญหาหลักที่มนุษย์ ทั้งโลกกาลังเผชิญหน้าอยู่ ซึ่งภาวะโลกร้อน เกิดจากการเพิ่มขึ้นของก๊าซที่ปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลก ทา ให้อุณหภูมิภายในโลกสูงขึ้น เป็นสาเหตุให้ฤดูกาลทั่วโลกเปลี่ยนไป รวมถึงส่งผลกระทบต่อมนุษย์ในอีกหลาย ด้าน ปัญหาที่สองคือ ปัญหาการใช้น้า จากสถิติการใช้น้าของปี 2559 มีการใช้น้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอยู่ที่ 2172.34 ล้านลูกบาศก์เมตร และคาดว่าในปี 2590 จะเพิ่มขึ้นถึง 2800 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากการ เพิ่มจานวนของประชากร และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ประกอบกับประเทศไทยมีปัญหาการจัดการขยะ ที่ทิ้งวัสดุธรรมชาติที่ยังสามารถใช้ได้ รวมถึงภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบ เศรษฐกิจ เพราะนอกจากจะก่อให้เกิดรายได้แล้ว คนส่วนใหญ่ของประเทศยังมีอาชีพทาการเกษตรมาตั้งแต่ ในอดีต และปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมักเกิดจากการขาดแคลนน้าทั้งในการเกษตรและการอุปโภคบริโภค บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ รูปที่ 1.2 ปัญหาการขาดแคลนน้าในประเทศไทยรูปที่ 1.1 กราฟแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก ที่มา : www.oknation.nationtv.tv ที่มา : www.earth.com
  • 3. บทที่ 1 บทนา รูปที่ 1.3 การขุดร่องน้ารอบแปลงนา ที่มา : https://www.matichon.co.th/sme/news_132440 ปัจจุบันมีการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การใช้วัสดุคลุมดิน ในรักษากักเก็บความชื้นในดิน ให้คงอยู่ได้นานมากขึ้น ทาให้สามารถลดความถี่ในการรดน้าพืช และสามารถลดปริมาณน้าในการรดแต่ละ ครั้งได้ มีต้นทุนต่าเนื่องจากเกษตรกรจะนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่างๆมาใช้คลุมดิน และเป็นการลด ปริมาณขยะทางการเกษตรได้ เช่น ขุยมะพร้าว ฟางข้าว เศษใบไม้ การปลูกพืชในน้า เหมาะแก่บุคคลที่มี พื้นที่ในการปลูกพืชน้อยแต่ต้องการปลูกพืช เช่นผู้ที่อาศัยอยู่ในคอนโด เป็นต้น การปลูกพืชในน้าสามารถ ช่วยปริมาณน้าในการปลูกพืชได้ ใช้อุปกรณ์ในการปลูกน้อย นอกจากนี้ ยังมีการทาการทดลอง และมีงานวิจัย ต่างๆออกมามากมายเพื่อแก้ไขปัญหาการใช้น้า เช่น งานวิจัยการประดิษฐ์นวัตกรรม ลดการใช้น้า งานวิจัย ทดสอบวัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช เป็นต้น ที่มาและความสาคัญ
  • 4. ที่มาและความสาคัญ บทที่ 1 บทนา รูปที่ 1.4 วัสดุธรรมชาติที่เป็นขยะทางการเกษตร ที่มา : www.guru.sanook.com www.nanagarden.com คณะผู้จัดทำมีควำมสนใจที่จะนำวัสดุเหลือใช้ทำงธรรมชำติ มำประดิษฐ์เป็นอุปกรณ์รักษำควำมชื้นในดิน ซึ่งจะเป็นวิธีหนึ่งในกำรลดปัญหำกำรใช้น้ำ โดยกำรรักษำควำมชื้นในดินให้คงอยู่นำนขึ้น ลดปริมำณกำรใช้น้ำ และควำมถี่ในกำรรดต้นพืช อุปกรณ์นี้คือ อุปกรณ์รักษำควำมชื้นในดินจำกกะลำมะพร้ำวที่บรรจุ วัสดุธรรมชำติ ด้ำนใน และมีกำรเจำะรูระบำยน้ำเข้ำออก ซึ่งอุปกรณ์นี้สำมำรถประดิษฐ์ได้ง่ำย เป็นกำรนำวัสดุเหลือใช้ทำง กำรเกษตรมำสำมำรถหำได้ในท้องถิ่นมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งยังใช้ต้นทุนที่ต่ำกว่ำ นอกจำกนี้คณะ ผู้จัดทำยังสนใจที่จะศึกษำคุณสมบัติในกำรรักษำควำมชื้นของวัสดุธรรมชำติแต่ละชนิด และเปรียบเทียบ ประสิทธิภำพในกำรรักษำของวัสดุธรรมชำติแต่ละชนิดเช่นกัน
  • 5. วัตถุประสงค์ บทที่ 1 บทนา 1) เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าวที่บรรจุวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วน ที่แตกต่างกัน มีการเจาะรูเพื่อระบายน้าเข้าออก 2) เพื่อศึกษาคุณสมบัติในการรักษาความชื้นของวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด 3) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นของวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด รูปที่ 1.5 ดินในการเกษตร ที่มา www.thaikasetsart.com/การเตรียมดินปลูกพืชผัก/
  • 6. ถ้าวัสดุธรรมชาติประเภทขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด แล้วอุปกรณ์กะลามะพร้าวที่บรรจุขุยมะพร้าว จะมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินน้อยที่สุด สมมติฐาน ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด ไม่มีสมมติฐาน บทที่ 1 บทนา ตอนที่ 3 : ทดลองศึกษาอัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่เหมาะสมที่สุด ถ้าผสมอัตราส่วนวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้นอันดับที่ 1 ต่อวัสดุธรรมชาติ ที่มีความสามารถในการรักษาความชื้นเป็นอันดับที่ 2 ในอัตราส่วน 3 : 1 มีประสิทธิภาพในการรักษา ความชื้นมากที่สุดแล้ว อุปกรณ์กะลามะพร้าว ที่ใช้อัตราส่วนนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินน้อยที่สุด
  • 7. การทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะดินที่ใช้ในการทดสอบคือ ดินผสมสาเร็จรูปพร้อมปลูกตรา “ดินสมเกียรติ” บรรจุลงใน กระถาง สูง 21 ซม. รัศมี 10 ซม. ทาการทดลองบริเวณหน้าห้อง 61 ตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร อุปกรณ์กะลามะพร้าวที่ใช้มีรัศมีอยู่ระหว่าง 5-7 เซนติเมตร กะลามะพร้าวที่ใช้มีการเจาะรู รัศมี 0.3 เซนติเมตร จานวน 5 รูด้านล่าง และ จานวน 5 รู บริเวณด้านบน ขอบเขตการศึกษา บทที่ 1 บทนา รูปที่ 1.6 ภาพจาลองอุปกรณ์รักษาความชื้น รัศมี 5-7เซนติเมตร
  • 8. นิยามเชิงปฏิบัติการ บทที่ 1 บทนา 1) วัสดุธรรมชาติ คือวัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ไม้ ดิน หิน ทราย ยางหนังสัตว์ ขนสัตว์ ฝ้าย เป็นต้น โดยวัสดุธรรมชาติที่จะนามาใช้ในการทดลองได้แก่ กะลามะพร้าว, ขุยมะพร้าว, หยวกกล้วย, แกลบ, ผักตบชวา 2) อุปกรณ์รักษาความชื้นที่กล่าวถึงในโครงงานนี้ คือ กะลามะพร้าวที่บรรจุวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วนที่ แตกต่างกัน มีการเจาะรูเพื่อระบายน้าเข้าออก 3) ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น วัดจากความชื้นของดินและน้าหนักของน้าที่ระเหยออกไป โดยถ้า ความชื้นในดินต่า น้าหนักของน้าที่ระเหยออกไปมาก แสดงว่ามีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นต่า และถ้าความชื้นในดินสูงและน้าหนักของน้าที่ระเหยออกไปน้อย แสดงว่ามีประสิทธิภาพในการรักษา ความชื้นสูง 4) การวัดความชื้น ทาการวัดจาก 3-way Soil Meter ซึ่งมีระดับความชื้นทั้งหมด 10 ระดับ โดย ระดับ 1-3 ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับต่า (Dry) ระดับ 4-7 ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับปานกลาง (Normal) ความชื้นในดินจะอยู่ในระดับ 8-10 ระดับสูง (Wet)
  • 9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 1 บทนา 1) สามารถเพิ่มอัตราการอยู่รอดของพืชโดยการรักษาความชื้นในดินให้คงอยู่นานมากขึ้น 2) สามารถอนุรักษ์น้าโดยการใช้น้าให้เกิดประโยชน์สูงสุดและลดปริมาณน้าที่ใช้ในการรดต้นพืช 3) สามารถนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ ขุยมะพร้าว แกลบ ผักตบชวา หยวกกล้วย และ กะลามะพร้าว 4) ทาให้ได้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการรักษาความชื้นในดินที่ราคาถูกและประดิษฐ์ง่ายจากวัสดุใน ท้องถิ่น ( ที่มา : https://archive.clib.psu.ac.th/online-exhibition/S_profession/page5.html ) (ที่มา : www.hybridenergy.co.th/board/index.php/) (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki) รูปที่ 1.7 วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรรรมชาติ
  • 10. ตัวแปรต้น : ชนิดของวัสดุธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น ตัวแปรตาม : ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น โดยดูจากปริมาณความชื้นในดินที่ เปลี่ยนแปลง ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์กะลามะพร้าว ตัวแปรควบคุม : ตาแหน่งของจุดกึ่งกลางกะลาที่ฝังลงในดิน บริเวณที่ตั้งกระถาง น้าหนักของ วัสดุธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น จานวนรูที่เจาะกะลา ชนิดของดิน ระดับความลึกที่วัด ความชื้นในดิน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด ไม่มีตัวแปรที่เกี่ยวข้อง บทที่ 1 บทนา
  • 11. ตัวแปรต้น : อัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูงอันดับที่ 1 และอันดับที่ 2 ตัวแปรตาม :ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้น โดยดูจากปริมาณความชื้นในดินที่เปลี่ยนแปลง ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์กะลามะพร้าว ตัวแปรควบคุม : ตาแหน่งของจุดกึ่งกลางกะลาที่ฝังลงในดิน บริเวณที่ตั้งกระถาง น้าหนักของวัสดุ ธรรมชาติที่ใช้รักษาความชื้น จานวนรูที่เจาะกะลา ชนิดของดิน ระดับความลึกที่วัดความชื้นใน ดิน ตอนที่ 3 ทดลองศึกษาอัตราส่วนของวัสดุธรรมชาติที่เหมาะสมที่สุด บทที่ 1 บทนา ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
  • 12. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง กะลามะพร้าว2.1 ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้ อมะพร้าว อยู่ในผลมะพร้าว กะลามะพร้าวมีคุณสมบัติและลักษณะพิเศษที่ สามารถนามาดัดแปลงเพื่อใช้ทาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้มาตั้งแต่โบราณ เนื่องจากกะลาที่แก่จัดมี ความแข็งทนทาน สามารถขัดผิวให้เรียบได้ มีสีดาเป็นเงางาม ตัดเลื่อยเป็นชิ้นงานขนาด ต่างๆ ได้ง่าย รูปที่ 2.1 กะลามะพร้าว รูปที่ 2.2 การนากะลาไปดัดแปลง ( ที่มา : https://archive.clib.psu.ac.th/online-exhibition/S_profession/page5.html ) ( ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=375230)
  • 13. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ขุยมะพร้าว2.2 ขุยมะพร้าว คือ เปลือกมะพร้าวที่ปั่นเอาใยออกหรือ ปั่นให้ใยละเอียดมีคุณสมบัติ คือ เบา อุ้มน้าได้ดี สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ และเก็บความชื้นไว้ได้นานเมื่อจะใช้ต้อง พรมน้าให้ขุยมะพร้าวมีความชื้นพอเหมาะ มีประโยชน์ทางการเกษตรอย่างมากมาย เช่น การ ผสมปุ๋ ยหมัก ใช้ในการขยายพันธุ์พืช การอัด และการนามาทาเป็นถ่าน เป็นต้น รูปที่ 2.3 ขุยมะพร้าว ( ที่มา : https://sites.google.com/site/phornphongtham/reviews)
  • 14. หยวกกล้วย2.3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง คือส่วนของลาต้นกล้วย แบ่งออกเป็นส่วนที่เรียกว่า แพหยวกกล้วย คือส่วนด้านนอก ส่วน ด้านในหรือแกนอ่อนของลาต้นเทียมของกล้วย มีสีขาว กินได้ นิยมนามาทาอาหาร หยวก กล้วย เป็นส่วนของกล้วยที่มีใยอาหารช่วยดูดซับสิ่งสกปรกและสารพิษตามลาไส้ หยวกกล้วยมี ประโยชน์และสามารถนามาใช้ในด้านการเกษตรมากมาย เช่น การนามาทาอาหารสัตว์ การ นามาทาเชือกกล้วย นามาเจาะรูเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ นามาคลุมดิน เป็นต้น รูปที่ 2.4 หยวกกล้วย (ที่มา : www.hybridenergy.co.th)
  • 15. แกลบ2.4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง เปลือกแข็งของเมล็ดข้าวที่ได้จากการสีข้าว เป็นส่วนที่เหลือจากการผลิตข้าวสาร แกลบไม่ ละลายน้า มีความคงทนทางเคมีทนทานต่อแรงกระทา จึงเป็นตัวดูดซับที่ดีในการบาบัดน้าเสียที่มี โลหะหนัก นอกจากมีการนาแกลบข้าวไปใช้เป็นเชื้อเพลิงต่างๆ นาไปผสมกับวัสดุอื่นๆทาเป็นวัสดุ ก่อสร้างแล้ว แกลบข้าวยังถูกนาไปผลิตเป็นขี้เถ้าแกลบ แกลบมีประโยชน์ในหลายด้าน เช่น ด้าน การเกษตร ด้านการก่อสร้าง เป็นต้น รูปที่ 2.5 แกลบ (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki)
  • 16. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ผักตบชวา2.5 ผักตบชวา เป็นพืชน้าล้มลุกหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้าแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจน กลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้าทั่วไป มีคุณสมบัติในการอุ้มน้าได้ดี รักษาความชุ่มชื้น ในปัจจุบันมีความพยายามในการนาผักตบชวามาใช้ประโยชน์ รวมถึงมีงานวิจัยมากมายให้ ความสนใจกับผักตบชวา ตัวอย่างการนาผักตบชวามาใช้ประโยชน์ เช่น นามาทาสิ่งประดิษฐ์ ใช้ เป็นอาหารสัตว์ ด้านการบาบัดน้าเสีย ด้านการเกษตรคลุมดิน เป็นต้น รูปที่ 2.6 ผักตบชวา รูปที่ 2.7 การเพาะเห็ดฟางด้วยผักตบชวา (ที่มา : th.wikipedia.org) (ที่มา : ites.google.com)
  • 17. การวัดความชื้นในดิน ถือเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นในการปลูกพืช จาเป็นต้องใช้เครื่องวัดดิน และ เครื่องวัดกรดด่าง เพื่อจะได้รู้ถึงความชื้นที่เหมาะสม เพราะพืชแต่ละชนิดนั้นต้องการน้ามากน้อยเพียงใดที่ไม่ เท่ากัน ในการปลูกพืช น้าเป็นปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งเนื่องจาก น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในเซลล์ของพืช น้า เป็นตัวปรับอุณหภูมิภายในลาต้นของพืชไม่ให้มีอุณหภูมิสูงเกินในเวลากลางวันซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช น้าเป็นตัวช่วยในการลาเลียงธาตุอาหารไปภายในต้นพืช น้าสามารถช่วยลดความเป็นกรด–ด่าง และความ เค็ม ตลอดจนทาให้สารเคมีที่เป็นพิษ จาพวกสารฆ่าแมลง และสารกาจัดศัตรูพืชเจือจางลง ทาให้พืชสามารถ เจริญเติบโตได้ดี ดั้งนั้นเราจึงนาตัวเครื่องวัดความชื้นในดินมา ตรวจสอบว่าดินยังมีความชื้นอยู่หรือไม่ เพราะดิน แต่ละประเภทมีการสะสมความชื้นที่ไม่เท่ากัน เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าดินแต่ละประเภทเหมาะกับพืชลักษณะใดบ้าง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง หลักการตรวจวัดความชื้ นในดิน2.6 (ที่มา : https://eastern-energy.net/) ภาพที่ 2.8 การวัดความชื้นในดิน
  • 18. ความชื้นในดินเป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้าในดินกับมวลของดินแห้งโดยทั่วไปสัดส่วนนี้ มีค่าระหว่าง 0.05-0.5 กรัม/กรัม การวัดความชื้นในดินช่วยบอกหน้าที่ของดินที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น เช่น แสดงถึง ความสามารถในการอุ้มน้าหรือการไหลผ่านของน้าใต้ดิน การคายน้าและระเหยของน้าออกสู่บรรยากาศ นอกจากนี้ ยังใช้อธิบายความสามารถของดินในการให้ธาตุอาหารและน้าสู่พืช บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7 (ที่มา : jumpstartinnovation.blogspot.com/) ภาพที่ 2.9 การให้น้ากับพืช ความชื้นในดิน (กรัม/กรัม) = มวลของดินเปียก - มวลของดินแห้ง
  • 19. การคลุมดินเป็นการปิดหน้าดินรอบต้นพืชด้วยเศษซากพืชหรือวัสดุอื่น อันเป็นเทคนิคการบารุงรักษาดินที่ ทาได้ง่าย แต่มีความสาคัญอย่างมาก การคลุมดินมีข้อดีหลายประการดังนี้ 1) ปกป้องผิวดินและ รักษาความชื้นในดิน 2) รักษาอุณหภูมิบริเวณรากพืชให้คงที่ 3) ลดการเจริญเติบโตของวัชพืช ทั้งในแง่ของการกลบต้นวัชพืชและ จากัดการงอกของเมล็ด 4) ปรับความเป็นกรดด่าง(pH) ของดิน และปรับโครงสร้างให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ขนาดเล็ก เช่นจุลินทรีย์ ไส้เดือน เพื่อการไถพรวนตามธรรมชาติ 5) เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน 2.7.1 การคลุมดิน หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 20. วัสดุที่นิยมนามาคลุมดินพอสรุปเป็นตัวอย่างได้ดังนี้2.7.1 การคลุมดิน หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (ที่มา : www.svgroup.co.th/คุณค่ามหาศาลของฟางข้าว/) (ที่มา : www.thai.alibaba.com/product-detail/) รูปที่ 2.10 ฟางข้าว รูปที่ 2.11 แกลบกาแฟ รูปที่ 2.12 แกลบข้าว (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki) (ที่มา : www.electro48.com/shop/ขุยมะพร้าว-1-กระสอบ/) (ที่มา : www.pantip.com/topic/35431121) (ที่มา : www.flickr.com/photos/iwisdom/5875765593) รูปที่ 2.13 ขุยมะพร้าว รูปที่ 2.14 เศษหญ้า รูปที่ 2.15 วัสดุเพาะเห็ด
  • 21. การปลูกผักในกระถางนี้ จะต้องใส่ใจในเรื่องของการระบายน้าด้วย ซึ่งความสาคัญนั้นอยู่ที่การเลือก กระถางอีกเช่นกัน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เลือกกระถางที่มีรูระบายน้า หรือหากไม่มี ก็ควรเจาะรูให้ เพื่อให้น้า สามารถระบายออกมาได้ กระถางหรือภาชนะบางชนิดเจาะรูได้ยาก ดังนั้นการเลือก นอกจากจะดูที่รูปแบบ และความสวยงามแล้ว ยังต้องดูที่ความสะดวกในการใช้สอยอีกด้วย ส่วนดินที่เหมาะควรจะประกอบได้ด้วย พีทมอส หรือกากมะพร้าว 40 เปอร์เซนต์ ดินผสมคุณภาพดี 50 เปอร์เซนต์ และอีก 10 เปอร์เซนต์ เป็น เพอร์ไลท์ หรือหินภูเขาไฟ ดินที่มีส่วนประกอบที่กล่าวมานี้ จะสามารถรักษาความชุ่มชื้นได้ดี ระบายน้าได้ รวดเร็ว และมีความอุดมสมบูรณ์ในระดับปานกลาง 2.7.2 การปลูกผักสวนครัวในกระถาง สาหรับบ้านพื้นที่จากัด หลักการในการรักษาความชื้ นในดิน2.7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (ที่มา : https://www.sanook.com/) ภาพที่ 2.16 การปลูกผักสวนครัวในกระถาง สาหรับบ้านพื้นที่จากัด
  • 22. 2.8.1 นวัตกรรมลดปริมาณการใช้น้าในการปลูกพืช จากการศึกษาของ โรงเรียน พนมสารคาม ส่งเข้าแข่งขันในการประกวด Thailand Junior Water Prize 2017 นวัตกรรมลดปริมาณการใช้น้าในการปลูกพืช ผลิตขึ้นเพื่อแก้ปัญหาในการใช้น้าปริมาณมาก สาหรับการปลูกพืช จึงคิดที่จะนากะลามาทาเป็นวัสดุคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นโดยทาการทดลอง ในบ่อปูนซีเมนต์ซึ่งศึกษาชนิดของวัสดุคลุมดิน ลักษณะของกะลามะพร้าวคลุมดิน ชนิดของเส้นใย ธรรมชาติที่ใส่ในกะลามะพร้าวคู่คลุมดิน การทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม ณ ห้องปฏิบัติการและสภาพจริง พบว่า กะลามะพร้าวคู่โดยมีเส้นใยจาก ต้นกล้วยผสมมูลโคปริมาณ 5 กรัม ขึ้นรูปตามลักษณะของ กะลามะพร้าวอยู่ภายในสามารถรักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุด งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 23. 2.8.2 วัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช จากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์ชานาญ การพิเศษ สังกัดกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สานักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน การศึกษาในเรือนทดลองเพื่อหาผลของวัสดุคลุมดินต่าง ๆ ที่มีผลต่ออุณหภูมิของดิน ผลผลิตและ ประสิทธิภาพการลดการใช้น้าของพืชโดยมีตารับการทดลอง ไม่คลุมดิน และคลุมดินด้วยวัสดุธรรมชาติ ต่างๆ พลาสติก และหนังสือพิมพ์ แต่ละชนิดหนา 5 ซม. ผลของการทดลองปรากฏว่า - อุณหภูมิของดินที่ระดับความลึก 10 ซม. ตารับคลุมดินด้วยพลาสติกมีค่าสูงกว่าตารับอื่น - การระเหยของน้าผิวหน้าดิน และการใช้น้า มีค่ามากที่สุดในตารับที่ไม่คลุมดิน มีค่าน้อยในตารับที่คลุม ดินด้วยแกลบสด และปุ๋ ยหมักผสมโฟม - ประสิทธิภาพการลดการใช้น้าของข้าวโพดมีค่าสูงในตารับที่คลุมดินด้วยแกลบสด และต่าสุดในตารับที่ ไม่ได้คลุมดิน ส่วนการศึกษาในสนามที่ไร่ของเกษตรกรจังหวัดนครปฐม พบว่าความชื้นในดินที่ระดับความลึก 30 ซม. ของแปลงทดลองในระหว่างปลูกแตงกวา ความชื้นและน้าหนักผลผลิตมีค่าสูงสุดในตารับที่คลุม ดินด้วยแกลบสด งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 24. 2.8.3 ผลของเศษวัสดุและวัชพืชบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของ พืชในดินทราย จากการศึกษาของ โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสุรินทร์ โครงงานนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการเก็บรักษาความชื้นของเศษวัสดุ และวัชพืชแต่ละชนิด เศษวัสดุและวัชพืชที่ใช้ได้แก่ ฟาง ขุยมะพร้าว ผักตบชวา แกลบ หญ้าแห้ง ขี้กบ ขี้เลื่อย เมล็ดข้าวโพด มาผสมในดินเพื่อดูความสามารถในการเก็บรักษาความชื้นในดินทรายและช่วยในการ เจริญเติบโตของพืช ผลการทดลองพบว่า ขุยมะพร้าวและแกลบสามารถรักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่หญ้าแห้ง ผักตบชวา ขี้กบ ขี้เลื่อย และฟางตามลาดับ และส่วนผสมของวัสดุที่สามารถรักษา ความชื้นในดินได้ดีที่สุดคือ ส่วนผสมระหว่างขุยมะพร้าวและแกลบ และอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างขุย มะพร้าวและแกลบที่รักษาความชื้นในดินได้ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว 15 กรัม ผสมกับแกลบ 15 กรัม จาก การศึกษาพบว่า การใช้วัสดุคลุมดินที่คิดขึ้น พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดีจากการเพาะด้วยเมล็ด และถ้ายิ่งมี ปริมาณขุยมะพร้าวมากก็จะสามารถรักษาความชื้นในดินได้มากขึ้นตามลาดับ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2.8 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 25. บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงงาน 1) กระถางรัศมี 10 ซม. สูง 21 ซม. จานวน 12 กระถาง 2) เครื่องชั่งน้าหนักจานวน 1 เครื่อง 3) 3-ways meter จานวน 1 เครื่อง วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1
  • 26. 4) วัสดุธรรมชาติในการรักษาความชื้น ได้แก่ 4.1 ขุยมะพร้าว 1 กิโลกรัม 4.2 แกลบ 1 กิโลกรัม 4.3 หยวกกล้วย 1 กิโลกรัม 4.4 ผักตบชวา 1 กิโลกรัม วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1 บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน ขุยมะพร้าว
  • 27. 5) กะลามะพร้าว จานวน 25 คู่ 6) ยางวง จานวน 50 เส้น 7) สว่านเจาะรู จานวน 1 เครื่อง วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1 บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
  • 28. 8) ดินสาเร็จรูปพร้อมปลูก ปริมาณ10 กิโลกรัม วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี ที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน3.1 บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 10) น้าประปา 11) ผ้าขาวบางขนาด 25 cm x 25 cm จานวน 25 ผืน
  • 29. ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว บทที่3 วิธีการดาเนิน โครงงาน วิธีการทดลอง3.2 1) นากะลามะพร้าวมาขัดทาความสะอาด นาเศษกะลาที่อยู่ด้านในออก รูปที่ 3.1 การทาความสะอาดกะลามะพร้าว รูปที่ 3.2 การขัดกะลามะพร้าว
  • 30. ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว 2) เจาะรูกะลามะพร้าวด้วยสว่านไฟฟ้า โดยเจาะรูรัศมี 3 มิลลิเมตร กะลาที่อยู่ด้านบน 5 รู และ กะลาที่อยู่ด้านล่าง 5 รู ดังภาพ กะลาด้านบน รูปที่ 3.3 แสดงการเจาะรูด้านบนและด้านล่างกะลา 4 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร 8 เซนติเมตร 8 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร บทที่3 วิธีการดาเนิน โครงงาน วิธีการทดลอง3.2 รูปที่ 3.4 การเจาะรูกะลามะพร้าว
  • 31. ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด 1) นาวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิดมาหั่น ขนาดประมาณชิ้นละ ½ นิ้ วและตากให้แห้ง รูปที่ 3.5 การหั่นวัสดุธรรมชาติ ตากแห้ง รูปที่ 3.6 วัสดุธรรมชาติที่ตากแห้งแล้ว
  • 32. ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด 2) ชั่งวัสดุธรรมชาติแต่ละชนิด ได้แก่ ขุยมะพร้าว แกลบ หยวกกล้วย และผักตบชวาอย่างละ 40 กรัม ห่อด้วยผ้าขาวบาง มาใส่ในอุปกรณ์กะลามะพร้าว บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน รูปที่ 3.7 การชั่งวัสดุธรรมชาติ (40 กรัม) รูปที่ 3.8 การนาวัสดุใส่ผ้าขาวบาง
  • 33. 3) นายางวงจานวน 2 เส้น มารัดอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวในแนวตั้งฉาก โดยให้จุดตัด ของยางวงอยู่บริเวณรูกลาง ของอุปกรณ์กะลา และนามาแช่น้าเป็นเวลา 1 คืน ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด รูปที่ 3.9 การนายางยืดมารัดอุปกรณ์กะลามะพร้าว รูปที่ 3.10 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวมาแช่น้าให้อิ่มตัว
  • 34. 4) นาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวที่แช่น้าอิ่มตัวแล้วมาฝังลงในดิน โดยให้กึ่งกลางของ อุปกรณ์กะลามะพร้าว อยู่บริเวณกึ่งกลางกระถาง ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด รูปที่ 3.11 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวออกจากน้า รูปที่ 3.12 การนาอุปกรณ์กะลามะพร้าวฝังลงในดิน
  • 35. ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 5) วัดปริมาณความชื้นในดิน โดยวัดที่ระดับความลึก 12 เซนติเมตรจากผิวดิน และทาการวัดอุณหภูมิที่ ระดับความสูงจากผิวดิน 20 เซนติเมตร ทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง รูปที่ 3.14 ระดับอุณหภูมิ ณ วันที่ทาการวัดผลการทดลองรูปที่ 3.13 การวัดปริมาณความชื้นในดิน
  • 36. ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด 6) จดบันทึกปริมาณความชื้นในดิน (บันทึกทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง) 7) สรุปผลและจัดเรียงลาดับประสิทธิภาพการรักษาความชื้น รูปที่ 3.15 การทาการทดลอง
  • 37. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด 1) นาหยวกกล้วยและแกลบ * มาผสมกัน ในอัตราส่วน 1 : 1 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน รูปที่ 3.16 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 1:1 หมายเหตุ จากการทดลองที่ 2 พบว่า หยวกกล้วย มีความชื้นเริ่มต้นสูงสุด และแกลบมีความสามารถในการรักษาความชื้นได้ดีที่สุด คณะผู้ทาการทดลอง จึงสรุปว่า หยวกกล้วยและแกลบเป็นวัสดุที่เหมาะสมที่สุด
  • 38. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 2) นาหยวกกล้วยและแกลบมาผสมกันในอัตราส่วน 3 : 1 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม รูปที่ 3.17 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 3:1
  • 39. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 3) นาหยวกกล้วยและแกลบมาผสมกันในอัตราส่วน 1 : 3 ตามลาดับ โดยให้มีน้าหนักรวม 40 กรัม รูปที่ 3.18 การเตรียมหยวกกล้วยและแกลบอัตราส่วน 1:3
  • 40. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 4) บรรจุหยวกกล้วยและแกลบที่ผสมไว้ในอัตราส่วนต่างๆลงในผ้าขาวบางขนาด 25 เซนติเมตร x 25 เซนติเมตร แล้วนามาบรรจุลงในอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าว รูปที่ 3.19 บรรจุหยวกกล้วยและแกลบที่ผสมไว้ในอัตราส่วนต่างๆลงในผ้าขาวบาง
  • 41. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 5) นายางวงจานวน 2 เส้น มารัดอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวในแนวตั้งฉาก โดยให้จุดตัด ของยางวงอยู่บริเวณรูกลาง ของอุปกรณ์กะลา และนามาแช่น้าเป็นเวลา 1 คืน 3.20 ลักษณะรัดอุปกรณ์รักษาความชื้นด้วยยางวง 2 เส้น 3.21 แช่อุปกรณ์รักษาความชื้นลงน้าในน้า ทิ้งไว้เป็นเวลา 1 คืน แนวการรัดยางวงบน อุปกรณ์รักษาความชื้น
  • 42. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 6) นาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวที่แช่น้าแล้ว มาฝังลงในดิน โดยให้กึ่งกลางของกะลาด้าน ที่เจาะรู อยู่บริเวณที่สูงจากพื้นกระถาง 10 เซนติเมตร และ นาดินบรรจุลงในกระถาง จนดินมีความสูง 18 เซนติเมตร รูปที่ 3.22 นาอุปกรณ์ขึ้นจากน้า รูปที่ 3.23 นาอุปกรณ์รักษาความชื้นมาฝังลงในดิน
  • 43. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 7)วัดปริมาณความชื้นในดิน โดยวัดที่ระดับความลึก 12 เซนติเมตรจากผิวดิน และทาการวัดอุณหภูมิที่ ระดับความสูงจากผิวดิน 20 เซนติเมตร ทุกวันหลังจากเริ่มการทดลอง รูปที่ 3.24 วัดปริมาณความชื้นในดิน
  • 44. ตอนที่ 3 : การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน 9) สรุปผลและจัดเรียงลาดับประสิทธิภาพการรักษาความชื้น 10) จัดทารูปเล่มรายงาน 11) นาเสนอโครงงาน 12) จัดทาโปสเตอร์ 8) จดบันทึกผลการทดลองประสิทธิภาพการรักษาความชื้น
  • 45. ปี 2561 พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน กาหนดหัวข้อโครงงาน  เขียนเค้าโครงโครงงาน   เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ใน การทดลอง   ลงมือทาโครงงาน ตอนที่ 1   ลงมือทาโครงงาน ตอนที่ 2  ลงมือทาโครงงาน ตอนที่ 3  การเขียนรายงานผล    การนาเสนอโครงงาน   เวลา รายการ ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงแผนปฏิบัติงาน บทที่3 วิธีการดาเนินโครงงาน
  • 46. บทที่ 4 ผลการทดลอง ชุดการทดลอง ระดับความชื้นในดิน ณ วันที่วัดผลการทดลอง * ครั้งที่ 1 (24/8/61) ครั้งที่ 2 (27/8/61) ครั้งที่ 3 (28/8/61) ครั้งที่ 4 (29/8/61) ครั้งที่ 5 (31/8/61) ครั้งที่ 6 (5/9/61) อุปกรณ์กะลาบรรจุขุย มะพร้าว 3.75 3.6 5.5 5.5 3.625 3 อุปกรณ์กะลาบรรจุ แกลบ 5.25 5.25 4.75 6 4.625 3.25 อุปกรณ์กะลาบรรจุ ผักตบชวา 7.5 4.625 3.25 2.5 3.25 2 อุปกรณ์กะลาบรรจุหยวก กล้วย 7 5.6 6.5 4.75 3.75 3.75 positive control (อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว) 3.875 5.375 3.25 2.875 1.75 1.875 Negative control (กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น) 4.25 3.5 3 4.375 3.875 2.25 ตารางที่ 3.2 ตารางแสดงระดับความชื้นของอุปกรณ์รักษาความชื้นที่บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆ ด้านในวันที่ทาการทดลอง * 1-3 (Red/Dry) 4-7 (Green/Normal) 8-10 (Blue/Wet)
  • 47. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตอนที่ 1 : การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นในดินจากกะลามะพร้าว ได้อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าวที่ทาการขัดแล้ว มีการเจาะรูรัศมี 0.3 เซนติเมตร จานวน 5 รู บริเวณด้านบนและด้านล่าง มียางวง 2 เส้นรัดบริเวณภายนอกในลักษณะตั้งฉากกันและตัด กัน ด้านในกะลาบรรจุวัสดุธรรมชาติห่อด้วยผ้าขาวบางและรัดด้วยยางวง ภาพที่ 4.1 อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าว
  • 48. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตอนที่ 2 : ทดลองศึกษาวัสดุธรรมชาติที่มีความสามารถในการรักษาความชื้ นมากที่สุด ชุดการทดลอง ระดับความชื้นในดิน ณ วันที่วัดผลการทดลอง * ครั้งที่ 1 (24/8/61) ครั้งที่ 2 (27/8/61) ครั้งที่ 3 (28/8/61) ครั้งที่ 4 (29/8/61) ครั้งที่ 5 (31/8/61) ครั้งที่ 6 (5/9/61) อุปกรณ์กะลาบรรจุขุยมะพร้าว 3.75 3.6 5.5 5.5 3.625 3 อุปกรณ์กะลาบรรจุ แกลบ 5.25 5.25 4.75 6 4.625 3.25 อุปกรณ์กะลาบรรจุผักตบชวา 7.5 4.625 3.25 2.5 3.25 2 อุปกรณ์กะลาบรรจุหยวกกล้วย 7 5.6 6.5 4.75 3.75 3.75 positive control (อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว) 3.875 5.375 3.25 2.875 1.75 1.875 Negative control (กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น) 4.25 3.5 3 4.375 3.875 2.25 * 1-3 (Red/Dry) 4-7 (Green/Normal) 8-10 (Blue/Wet) ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงระดับความชื้ นของอุปกรณ์รักษาความชื้ นที่บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆ ด้านในวันที่ทาการทดลอง
  • 49. 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 อุปกรณ์กะลาบรรจุ ขุยมะพร้าว อุปกรณ์กะลาบรรจุ แกลบ อุปกรณ์กะลาบรรจุ ผักตบชวา อุปกรณ์กะลาบรรจุ หยวกกล้วย positive control (อุปกรณ์กะลาอย่า Negative control กราฟที่ 4.1 กราฟแสดงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 2 ระดับความชื้น ครั้งที่วัดผลการทดลอง (วันที่) (กระถางที่ใส่ดินเท่านั้น) (24/8/61) (27/8/61) (28/8/61) (29/8/61) (31/8/61) (5/9/61) (อุปกรณ์กะลาอย่างเดียว)
  • 51. ความชื้นเริ่มต้น การรักษาความชื้น (จากความชันของเส้นแนวโน้ม) อันดับที่ 1 ผักตบชวำ ขุยมะพร้ำว อันดับที่ 2 หยวกกล้วย Negative Control อันดับที่ 3 แกลบ แกลบ อันดับที่ 4 Negative Control หยวกกล้วย อันดับที่ 5 Positive Control Positive Control อันดับที่ 6 ขุยมะพร้ำว ผักตบชวำ ตอนที่ 2 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด ตารางที่ 4.2 ตารางการจัดลาดับวัสดุธรรมชาติตามค่าความชื้นเริ่มต้นของดินหลังจากใส่อุปกณ์รักษา ความชื้นในวันแรก และประสิทธิภาพการรักษาความชื้น การเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพ การรักษาความชื้ น
  • 53. y = -0.2292x + 7.2153 y = -0.2208x + 6.7708 y = -0.1938x + 6.0243 y = -0.2542x + 7.1736 y = -0.2792x + 6.4375 y = -0.3521x + 6.0799 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อัตราส่วน 1:1 อัตราส่วน 1:3 อัตราส่วน 3:1 หยวกกล้วย แกลบ ควบคุม Linear (อัตราส่วน 1:1) Linear (อัตราส่วน 1:3) Linear (อัตราส่วน 3:1) Linear (หยวกกล้วย) Linear (แกลบ) Linear (ควบคุม) ครั้งที่วัดผลการทดลอง ระดับความชื้น (ชุดควบคุม) ชุดควบคุม กราฟที่ 4.4 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงระดับความชื้นในดินของการทดลองตอนที่ 3
  • 54. ความชื้นเริ่มต้น การรักษาความชื้น (จากความชันของเส้นแนวโน้ม) อันดับที่ 1 อัตรำส่วน 1:1 อัตรำส่วน 3:1 อันดับที่ 2 อัตรำส่วน 3:1 อัตรำส่วน 1:3 อันดับที่ 3 ชุดควบคุม อัตรำส่วน 1:1 อันดับที่ 4 อัตรำส่วน 1:3 หยวกกล้วย อันดับที่ 5 หยวกกล้วย แกลบ อันดับที่ 6 แกลบ ชุดควบคุม ตอนที่ 3 : การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด ตารางที่ 4.5 ตารางการจัดลาดับวัสดุธรรมชาติตามค่าความชื้นเริ่มต้น และประสิทธิภาพการรักษาความชื้น การเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพ การรักษาความชื้ น
  • 55. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ ข้อเสนอแนะ ตอนที่ 1 การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว ได้อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจากกะลามะพร้าว ตอนที่ 2 การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด จากผลการทดลองพบว่า วัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นอันดับ 1 คือแกลบ และวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นอันดับ 2 คือหยวก กล้วย ตอนที่ 3 การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ ดีที่สุด จากผลการทดลอง พบว่า การผสมหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 มี ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นในดินมากที่สุด สรุปผลการทดลอง
  • 56. ตอนที่ 1 การประดิษฐ์อุปกรณ์รักษาความชื้ นจากกะลามะพร้าว คณะผู้จัดทา เลือกใช้กะลามะพร้าวมาเป็นอุปกรณ์บรรจุวัสดุธรรมชาติชนิดอื่นๆ เนื่องจากกะลามะพร้าวมีความคงทนแข็งแรง นอกจากนี้ ยังเป็นวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรที่หาได้ง่ายตามท้องถิ่นและสามารถนามาใช้ใหม่ได้ และสาเหตุที่เลือกใช้ แกลบ ขุยมะพร้าว ผักตบชวา และหยวกกล้วยมาเป็นวัสดุที่ใช้ในการทดลอง เนื่องจาก เป็นวัสดุธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูง อภิปรายผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ ข้อเสนอแนะ
  • 57. ตอนที่ 2 การทดลองเพื่อหาวัสดุธรรมชาติที่สามารถรักษาความชื้ นที่ได้ดีที่สุด จากผลการทดลองพบว่า ผลการทดลองสอดคล้องกับผลการทดลองจากงานวิจัย “วัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้าของพืช” ของ นักวิทยาศาสตร์ชานาญการพิเศษ สังกัดกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สานักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน และ งานวิจัย “ผลของเศษวัสดุและวัชพืชบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของพืชในดินทราย” ของ โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสุรินทร์ที่ว่าแกลบมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นสูง เมื่อ เปรียบเทียบกับวัสดุธรรมชาติชนิดอื่นๆ ซึ่งผลการทดลองที่ได้จากตารางที่ 4.3 สอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า ขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด แต่ทางคณะผู้จัดทาไม่ได้นาขุยมะพร้าวมาทาการทดลองต่อในตอนที่ 3 แต่ใช้แกลบแทน เนื่องจาก ขุยมะพร้าวมีความชื้นเริ่มต้นต่าที่สุด อภิปรายผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ ข้อเสนอแนะ
  • 58. อภิปรายผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ ข้อเสนอแนะ ตอนที่ 3 การทดลองหาอัตราส่วนของวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความชื้ นที่ดีที่สุด จากผลการทดลองพบว่า การผสมหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 มีประสิทธิภาพใน การรักษาความชื้นมากที่สุดเนื่องจากมีประสิทธิภาพการรักษาความชื้น และความชื้นเริ่มต้น สูงที่สุด คาดว่าเป็นผลมาจากหยวกกล้วยมีความสามารถในการรักษาความชื้นเริ่มต้น ได้ดี ที่สุดและแกลบมีความสามารถในการรักษาความชื้นสูงที่สุด อุปกรณ์รักษาความชื้นในดินจาก กะลามะพร้าวที่มีการใส่วัสดุธรรมชาติคือหยวกกล้วยและแกลบในอัตราส่วน 3:1 จึงมี ประสิทธิภาพในการรักษาความชื้นมากที่สุด
  • 59. ข้อเสนอแนะ 1) ควรตัดผ้าขาวบางเป็นลักษณะรูปวงกลม เพื่อห่อวัสดุธรรมชาติได้สะดวกมากขึ้น 2) เปลี่ยนจากการวางกะลาโดยให้รูอยู่ด้านบนและล่าง มาเป็นด้านซ้ายและขวา เนื่องจาก ต้องการให้ความชื้นกระจายอย่างทั่วถึงและเท่ากัน เพราะหากวางในแนวบนและล่างแล้ว น้าจากรูด้านบนจะระเหยเร็วกว่าน้าจากรูบริเวณด้านล่าง 3) เปลี่ยนการใช้บานพับยึดกะลา มาเป็นการใช้หนังยาง เนื่องจากการเจาะกะลาบริเวณริม อาจทาให้กะลาเกิดความเสียหายได้ 4) ควรแช่อุปกรณ์กะลาในน้าข้ามคืนเนื่องจากต้องการให้ วัสดุธรรมชาติทุกชนิดอิ่มน้า 5) พัฒนาความสามารถในการนาอุปกรณ์รักษาความชื้นจากกะลามะพร้าวมาใช้ซ้า โดย อาจจะเปลี่ยนวัสดุ จากกะลา เป็นวัสดุชนิดอื่น เช่น พลาสติก เป็นต้น 6) ทาการทดลองผสมวัสดุธรรมชาติในอัตราส่วนและชนิดที่แตกต่างกัน 7) ทาการทดลอง วัดและศึกษาระยะเวลาของอุปกรณ์รักษาความชื้นที่สามารถใช้งานได้ 8) ทาการทดลองเพิ่มเติมในลักษณะสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน และในสภาพแวดล้อมจริง บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง อภิปราย และ ข้อเสนอแนะ
  • 60. บรรณานุกรม Bloggang. (2547). รักษ์ดินต้องคลุมดิน. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์, 2561, จาก https://www.bloggang.com/mainblog.php? ศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัย. (2556). วิกฤตน้าประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม, 2561, จาก http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1 สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2558). ภัยแล้งผลกระทบภาคเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม, 2561, จาก http://www.acfs.go.th/read_news.php?id=13360&ntype=09 social.nesdb. (2560). สถานการณ์ภัยแล้งของประเทศไทย พ.ศ. 2532 – 2559. สืบค้น เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม, 2561, จากsocial.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx
  • 61. ใต้ หรอย มีลุย. (2547). ผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าว มูลค่าเพิ่มที่งดงาม. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม, 2561, จาก https://archive.clib.psu.ac.th/online- exhibition/S_profession/page5.html บรรณานุกรม ไทยเกษตรศาสตร์. (2555). ดินในการเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน, 2561, จาก www.thaikasetsart.com/การเตรียมดินปลูกพืชผัก/ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2561). ผักตบชวา. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน, 2561, จาก th.wikipedia.org/wiki/ผักตบชวา ฟ้าสีหมอก. (2559).ระบบสวนครัวน้าหยด เริ่มต้นที่นี่ตอนนี้ ขยายผลทั่วประเทศแล้วนะ. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน, 2561, จาก https://pantip.com/topic/35243680