SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์
่
เรือง การทาปุยหมักชีวภาพ สูตรฮอร์โมนพืช
๋
จัดทำโดย
1.นำยเนติพงษ์ วงศ์ ประพันธ์ เลขที่ 2

ชั้น ม. 5

2.นำยวิศิษฏ์

ชู ทอง

เลขที่ 5

ชั้น ม. 5

3.นำยตะวัน

บุญขวัญ

เลขที่ 7

ชั้น ม. 5

อำจำรย์ ที่ปรึกษำโครงงำน
อำจำรย์ ฉัตรชัย พลเพชร

โรงเรียนประชำบำรุง (อุทศกิจจำทร)
ิ
สำนักงำนเขตพืนทีกำรศึกษำพัทลุง เขต 2
้ ่

……………………
( อำจำรย์ฉัตรชัย พลเพชร)
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมน จากเศษพืชผักทางการเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการทาปุ๋ ยหมัก
ชีวภาพจากวัสดุที่เหลือจากเศษพืชผักทางการเกษตร คือ พวกผักสดต่างๆ โดยเอาพวกผักสด หรื อเศษผักนั้นๆ ประมาณ 3 กิโลกรัม
โดยสับให้เป็ นชิ้นเล็กๆ แล้วทาการผสมกับ EM 3 ช้อนโต๊ะ รวมทั้งกากน้ าตาล อีก 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าส่ วนผสมทั้งหมดในถังที่

เตรี ยมไว้ให้เข้ากัน แล้วเติมน้ าลงไป ปิ ดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ประมาณ 1 – 2 สัปดาห์ ผลปรากฏว่า น้ าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมัก มีราสี
ขาวเกิดขึ้นมากมาย มีกลิ่นของการหมัก และนาน้ าหมักหรื อปุ๋ ยหมักชีวภาพนี้ไปใช้ลดพืชผัก แทนการใช้ปุ๋ยเคมี และปุ๋ ยหมักชีวภาพนี้
ยังเป็ นประโยชน์แก่เด็กนักเรี ยน ชุมชน เกษตรกรและผูที่สนใจที่จะทาปุ๋ ยขึ้นมาใช้เอง ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีซ่ ึ งมีราคาสู ง ดินเสื่ อม
้
คุณภาพและยังส่ งผลต่อปั ญหาสิ่ งแวดล้อมตามมา

คณะผูจดทำ
้ั
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์โมนพืช ที่ทาจากเศษพืชผักทางการเกษตร เพื่อนามาทดลองถึง

ประสิ ทธิภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชและคุณภาพของผลผลิตที่ได้ โดยจะนาไปเปรี ยบเทียบกับแปลงพืชผัก
ที่มีการใช้ปุ๋ยเคมี โดยได้รับการสนับสนุนจาก นายผัน แก้วรักษ์ นางผิน แก้วรักษ์ และ อาจารย์ฉตรชัย พลเพชร ที่ได้ให้คาปรึ กษาใน
ั
การจัดทาโครงงานและได้รับความอนุเคราะห์จากชาวบ้านทุ่งหนักยอที่ได้ให้ขอเสนอแนะ และแนะนาเอกสารตาราต่างๆ ที่ใช้ใน
้
การศึกษาค้นคว้า
คณะผูจดทา ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านดังที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้นไว้เป็ นอย่างสู ง
้ั

คณะผูจดทา
้ั
คานา
โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมนพืช โดยโครงงานเรื่ องนี้ได้ทาการศึกษา

การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพจากเศษพืชผักทางการเกษตร เพราะเป็ นพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและชุมชนหรื อบางครั้งก็เหลือจากการประกอบ
อาหารภายในครัวเรื อน และเป็ นการนาพืชผักที่เหลือใช้เหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ นอกจากพืชผักแล้วยังนาเอาจุลินทรี ย ์ EM และ
กากน้ าตาล มาช่วยเร่ งการย่อยสลาย เพื่อให้เป็ นปุ๋ ยชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีราคาสู ง ลดปัญหาดินเสื่ อมคุณภาพ ลดปัญหา
สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาต่อสุ ขภาพเกษตรกรและลดการนาเข้าจากต่างประเทศด้วย
คณะผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานเรื่ องนี้คงจะเป็ นประโยชน์ต่อเกษตรกร ตลอดจนผูที่สนใจที่จะทาปุ๋ ยขึ้นใช้เองโดยไม่ตองใช้
้ั
้
้
่
ปุ๋ ยเคมีเลย และหากโครงงานเรื่ องนี้มีขอผิดพลาดประการใดผูจดทาต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
้
้ั
้

คณะผูจดทา
้ั
บทที่ 1
บทนา
ทีมำและควำมสำคัญ
่
เรื่ องราวของปุ๋ ยหมักชีวภาพหรื อน้ าสกัดชีวภาพเกิดขึ้นเมื่อประมาณ กลางปี พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นในขณะที่ประเทศไทยประสบภาวะ
วิกฤติทางเศรษฐกิจทาให้ประชาชนคนไทยต้องเดือนร้อนไปทุกหย่อมหญ้า จนต้องไปพึ่งพาเจ้าพ่อ ไอเอ็มเอฟ จนทุกวันนี้ แต่ประเทศไทยก็
่
ไม่ได้โชคร้ายเสี ยทีเดียว ท่ามกลางความโชคร้ายกได้เกิดความโชคดีข้ ึนมา โชคดีที่วานั้น คือคนไทยได้รู้วธีการทาปุ๋ ยชีวภาพใช้เอง เรื่ องราว
ิ
ความเป็ นมาของปุ๋ ยหมักชีวภาพหรื อน้ าสกัดชีวภาพเริ่ มต้นขึ้นเมื่อเดือน กรกฎาคม 2540 โดยอาจารย์ภรณ์ ภูมิพนนา ได้เชิญ มร.ฮาน คิว โซ
ั
นายกสมาคมเกษตรแห่งประเทศเกาหลี มาบรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการทาเกษตรธรรมชาติให้ปลอดภัยจากสารพิษโดยใช้จุลินทรี ย ์
น้ าหมักชีวภาพ เริ่ มแรกที่แพร่ หลายเข้ามาในประเทศไทยนั้น ได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการเกษตรอินทรี ยเ์ พื่อทดแทนสารเคมีใน

ปุ๋ ย ยากาจัดศัตรู พืช ฮอร์โมนบารุ งพืช ฯลฯ รวมถึงการจัดการย่อยสลายสิ่ งปฏิกล ลดความเน่าเสี ย กลิ่นเหม็น ในระบบบาบัดน้ าเสี ย
ู
การกาจัดขยะอินทรี ย ์ เป็ นต้น ต่อมาได้เริ่ มถูกดัดแปลงเป็ นผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดในครัวเรื อน ได้แก่ น้ ายาถูบาน น้ ายาขัดส้วม
้
น้ ายาซักผ้า น้ ายาล้างจาน และน้ ายาล้างผักผลไม้ แต่ในยุคแรก ๆ ได้มีชื่อเรี ยกต่าง ๆ ตามกลุ่มองค์กรที่ส่งเริ มการใช้ประโยชน์ เช่น
น้ าจุลินทรี ย ์ หรื อน้ าหมักเปรี้ ยว หรื อน้ าสกัดชีวภาพ ฯลฯ
ปั จจุบนมีการนาปุ๋ ยเคมีมาใช้ในการเกษตรเป็ นอย่างมาก ซึ่งทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทาลายดินให้เสื่ อมโทรม ทาให้ได้พืชผลทางการ
ั
เกษตรที่นอยลงและด้อยคุณภาพ จึงมีการรณรงค์ส่งเสริ มให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพให้มากขึ้น น้ าหมักชีวภาพ เป็ นอีกทางเลือกที่เกษตรกร
้
สามารถนามาใช้เป็ นปุ๋ ย และป้ องกันกาจัดศัตรู พืช แทนปุ๋ ยเคมีและสารเคมีกาจัดศัตรู พืชได้ ซึ่ งปั จจุบนเกษตรกรมีการหันมาใช้น้ าสกัดชีวภาพมาก
ั
ขึ้น
ศูนย์เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยท่านอาจารย์นิกร สุ ขปรุ ง ได้คิดค้นและพัฒนาน้ าหมักชีวภาพสู ตร ศทม.ขึ้น เพื่อนามาเผยแพร่ แก่ชุมชนและ
นามาใช้ในการทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็ นการประหยัดค่าใช้จ่ายและลดการใช้ปุ๋ยเคมีราคาแพง
วัตถุประสงค์ของโครงงาน


เพื่อสามารถนาน้ าหมักชีวภาพไปใช้ได้โดยตรง



เพื่อศึกษาประโยชน์จากปุ๋ ยหมักชีวภาพ เพื่อนามาปรับใช้ในชีวตประจาวัน
ิ



เพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม



เพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชได้
สมมติฐานของโครงงาน
ปุ๋ ยหมักชีวภาพที่ได้มีการคิดกระบวนการทาแบบชาวบ้านโดยวัสดุจากธรรมชาติน้ น จะส่ งผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชได้ดี และให้
ั

คุณภาพของผลผลิตที่ดี ไม่ต่างจากปุ๋ ยที่ทาจากสารเคมี

ตัวแปรทีเ่ กียวข้ อง
่


ตัวแปรต้น

ปุ๋ ยหมักชีวภาพ และ ปุ๋ ยเคมี



ตัวแปรตาม

อัตราการเจริ ญเติบโตของพืชและคุณภาพของผลผลิตที่ได้



ตัวแปรควบคุม ปริ มาณของจุลินทรี ยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช
์

ขอบเขตของกำรศึกษำ
่
เพื่อทาการศึกษาถึงประสิ ทธิ ภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพของผลผลิตที่ได้วามีคุณภาพ
แตกต่างกันอย่างไรเพื่อนามาเปรี ยบเทียบกับการใช้ปุ๋ยเคมี

ประโยชน์ ทได้ รับ
ี่
1. ทราบถึงวิธีการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพจากวัสดุที่เหลือจากเศษพืชผักทางการเกษตร
2. ทราบถึงการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพและการนาปุ๋ ยหมักชีวภาพไปใช้แทนปุ๋ ยเคมีที่มีราคาสู งได้
3. ช่วยลดมลภาวะของสิ่ งแวดล้อมลง เนื่องจากจุลินทรี ย ์ EM และกากน้ าตาลสามารถย่อยสลายส่ วนประกอบทางชีวเคมีของพืชให้
กลายเป็ นธาตุอาหารนาไปใช้ในการเจริ ญเติบโต
4. เป็ นการรักษาคุณภาพของดินและเป็ นการเพิ่มจุลินทรี ยในดินให้มากขึ้น
์
บทที่ 2
่
เอกสารที่เกียวข้อง
นำหมักชีวภำพ หรือ นำสกัดชีวภำพ หรือ ปุ๋ ยนำจุลนทรีย์ ตามแต่จะเรี ยก เป็ นสารละลายเข้มข้นที่ได้จากการหมักเศษพืช
้
้
้ ิ
ั
หรื อสัตว์กบสารที่ให้ความหวาน จนถูกย่อยสลายโดยจุลินทรี ยซ่ ึ งเมื่อผ่านกระบวนการแล้วจะได้สารละลายเข้มข้นสี น้ าตาล
์
ประกอบไปด้วยจุลินทรี ย ์ และสารอินทรี ยหลายชนิด เดิมทีน้ นจุดประสงค์ของการคิดค้น "นำหมักชีวภำพ" ขึ้นมา เพื่อใช้
์
ั
้
ประโยชน์ทางการเกษตรโดยเฉพาะ แต่ช่วงหลังก็มีการนาน้ าหมักชีวภาพ มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านอื่นเช่นกัน คือ

ด้ ำนกำรเกษตร น้ าหมักชีวภาพ มีธาตุอาหารสาคัญ ทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม แคลเซียม กามะถัน ฯลฯ จึง
สามารถนาไปเป็ นปุ๋ ย เร่ งอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช เพิ่มคุณภาพของผลผลิตให้ดีข้ ึน และยังสามารถใช้ไล่แมลงศัตรู พืชได้ดวย
้

ด้ ำนปศุสัตว์ สามารถช่วยกาจัดกลิ่นเหม็น น้ าเสี ยจากฟาร์มสัตว์ได้ ช่วยป้ องกันโรคระบาดต่าง ๆ ในสัตว์แทนการให้ยา
ปฏิชีวนะ ทาให้สัตว์แข็งแรง มีความต้านทานโรค ช่วยกาจัดแมลงวัน ฯลฯ

ด้ ำนกำรประมง ช่วยควบคุมคุณภาพน้ าในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ า ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในน้ า ช่วยรักษาโรคแผลต่าง ๆ ในปลา
ั
กบ จระเข้ได้ ช่วยลดปริ มาณขี้เลนในบ่อ ช่วยให้เลนไม่เน่าเหม็น สามารถนาไปผสมเป็ นปุ๋ ยหมักใช้กบพืชต่าง ๆ ได้ดี
ด้ ำนสิ่ งแวดล้อม น้ าหมักชีวภาพ สามารถช่วยบาบัดน้ าเสี ยจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน และสถาน
ประกอบการทัวไป แถมยังช่วยกาจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ การเลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต่าง ๆ นอกจากนี้ยงช่วยปรับสภาพอากาศที่
ั
่
เสี ยให้สดชื่น และมีสภาพดีข้ ึน
ประโยชน์ ในครัวเรือน เราสามารถนาน้ าหมักชีวภาพ มาใช้ในการซักล้างทาความสะอาด แทนสบู่ ผงซักฟอก แชมพู น้ ายาล้างจาน รวมทั้งใช้
ดับกลิ่นในห้องน้ า โถส้วม ท่อระบายน้ า ฯลฯ ได้ดวย
้

กำรใช้ ปยนำหมักชีวภำพอย่ ำงมีประสิ ทธิภำพ
ุ๋ ้
่
1. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพมีค่า ความเข้มข้นของสารละลายสู ง ( ค่า EC เกิน 4 Ds/m) และเป็ น กรดจัด มีค่าความเป็ นกรดเป็ นด่างอยูระหว่าง
ั
3.6 – 4.5 ก่อนนาไปใช้กบพืชต้องปรับสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างให้เป็ นกลาง โดยเติมหินฟอสเฟต ปูนไดโลไมล์ ปูนขาว กระดูกป่ น อย่างใด
อย่างหนึ่ง อัตรา 5 - 10 กิโลกรัม/ ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ 100 ลิตร แล้วผสมปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ อัตรา 30 - 50 CC/ น้ า 20 ลิตร
ั
2. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ จะเป็ นประโยชน์สูงสุ ด ต้องใช้เวลาในการหมัก จนแน่ใจว่าจุลินทรี ยยอยสลายอินทรี ยสมบูรณ์แล้ว จึงนาไปใช้กบพืชได้
์่
์
3. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพแต่ละสู ตรมี ธาตุอาหารเกือบทุกชนิด แต่มีในปริ มาณต่า จึงควรใส่ ปุ๋ยอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมักแห้งชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด
หรื อปุ๋ ยเคมีเสริ ม
่ ั
4. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพแต่ละสู ตรมี ฮอร์โมนพืช ในระดับที่แตกต่างกันขึ้นอยูกบวัตถุดิบที่นามาใช้ทา ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ
มีฮอร์ โมนในกลุ่ม อ๊อกซิน ได้แก่
อินโดลอะซิติกแอซิล (LAA) มีผลในการเร่ งการเจริ ญเติบโตของยอด กระตุนการเกิดรากของกิ่งปั กชา
้
ฮอร์โมนจิบเบอร์ เรลลิน (GA3) ช่วยทาลายการฟักตัวของเมล็ด กระตุนการเจริ ญเติบโตของต้น ส่ งเสริ มการออกดอก และทาให้ช่อดอกยืดยาวขึ้น
้
และฮอร์โมน กลุ่มไซโตโคนิน ได้แก่
เซติน (Zeatin) และไคเนติน (Kinetin) มีผลกระตุนการเกิดตา ช่วยเคลื่อนย้ายอาหารในต้นพืช และช่วยให้พืชผักมีความสดนานขึ้น
้
ข้ อควรระวังในกำรใช้ นำหมักชีวภำพ
้
1.หากใช้น้ าหมักชีวภาพกับพืช ต้องใช้ปริ มาณเจือจาง เพราะหากความเข้มข้นสู งเกินไป อาจทาให้พืชชะงักการเจริ ญเติบโต และตายได้

2.ระหว่างหมัก จะเกิดก๊าซต่าง ๆ ในภาชนะ ดังนั้นต้องหมันเปิ ดฝาออก เพื่อระบายแก๊ส แล้วปิ ดฝากลับให้สนิททันที
่
3.หากใช้น้ าประปาในการหมัก ต้องต้มให้สุก เพื่อไล่คลอรี นออกไปก่อน เพราะคลอรี นอาจเป็ นอันตรายต่อจุลินทรี ยที่ใช้ในการหมัก
์
4.พืชบางชนิด เช่น เปลือกส้ม ไม่เหมาะในการทาน้ าหมักชีวภาพ เพราะน้ ามันที่เคลือบผิวเปลือกส้มเป็ นพิษต่อจุลินทรี ย ์

อีเอ็ม (EM) คืออะไร
EM ย่อมาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ่มจุลินทรี ยที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่ง ศ.ดร.เทรู โอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร์ ผูเ้ ชี่ยวชาญ
์
สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริ วกิว เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ได้ศึกษาแนวคิดเรื่ อง " ดินมีชีวต" ของท่านโมกิจิ โอกะดะ (พ.ศ.2425-2498) บิดาเกษตร
ิ
ธรรมชาติของโลกจากนั้น ดร.ฮิงะ เริ่ มค้นคว้าทดลองตั้งแต่ปี พ.ศ 2510 และค้นพบ EM เมื่อ พ.ศ. 2526 ท่านอุทิศทุ่มเททาการวิจยผลว่ากลุ่มจุลินทรี ยน้ ี
ั
์

ใช้ได้ผลจริ ง หลังจากนั้นศาสนาจารย์วาคุกามิ ได้นามาเผยแพร่ ในประเทศไทย โดยท่านเป็ นประธานมูลนิธิบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ดวยกิจกรรมทาง
้
่
ศาสนา หรื อ คิวเซ (คิวเซ แปลว่า ช่วยเหลือโลก) ปั จจุบน ตั้งอยูที่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
ั

จำกกำรค้ นคว้ ำพบควำมจริงเกียวกับจุลนทรีย์ว่ำมี 3 กลุ่ม คือ
่
ิ
1. กลุ่มสร้างสรรค์ เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่มีคุณภาพ มีประมาณ 10 %
์
2. กลุ่มทาลาย เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่เป็ นโทษ ทาให้เกิดโรค มีประมาณ 10 %
์
3. กลุ่มเป็ นกลาง มีประมาณ 80 % จุลินทรี ยกลุ่มนี้หากกลุ่มใด มีจานวนมากกว่ากลุ่มนี้จะสนับสนุนหรื อร่ วมด้วย
์
ดังนั้น การเพิมจุลินทรี ยที่มีคุณภาพลงในดิน ก็เพื่อให้กลุ่มสร้างสรรค์มีจานวนมากกว่า ซึ่ งจุลินทรี ยเ์ หล่านี้จะช่วยปรับปรุ งโครงสร้างของดินให้
์
่
กลับมีพลังขึ้นมาอีกหลังจากที่ถูกทาลายด้วยสารเคมีจนดินตายไป

จุลนทรีย์มี 2 ประเภท
ิ
1. ประเภทต้ องกำรอำกำศ (Aerobic Bacteria)
2. ประเภทไม่ ต้องกำรอำกำศ (Anaerobic Bacteria)
่
จุลินทรี ยท้ ง 2 กลุ่มนี้ ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และสามารถอยูร่วมกันได้
์ ั
จากการค้นคว้าดังกล่าว ได้มีการนาเอาจุลินทรี ยที่ได้รับการคัดและเลือกสรรอย่างดีจากธรรมชาติ ที่มีประโยชน์ต่อพืช สัตว์ และสิ่ งแวดล้อม
์

มารวมกัน 5 กลุ่ม (Families) 10 จีนส (Genues) 80 ชนิด (Spicies) ได้แก่
ั
กลุ่มที่ 1 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกเชื้อราที่มีเส้นใย (Filamentous fungi) ทาหน้าที่เป็ นตัวเร่ งการย่อยสลาย สามารถทางานได้
์
ดีในสภาพที่มีออกซิ เจน มีคุณสมบัติตานทานความร้อนได้ดี ปกติใช้เป็ นหัวเชื้อผลิตเหล้า ผลิตปุ๋ ยหมัก ฯลฯ
้
กลุ่มที่ 2 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกสังเคราะห์แสง (Photosynthetic microorganisms) ทาหน้าที่สังเคราะห์สารอินทรี ย ์
์
ให้แก่ดิน เช่น ไนโตรเจน (N2) กรดอะมิโน (Amino acids) น้ าตาล (Sugar) วิตามิน (Vitamins) ออร์ โมน (Hormones)
และอื่นๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้แก่ดิน
กลุ่มที่ 3 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่ใช้ในการหมัก (Zynogumic or Fermented microorganisms) ทาหน้าที่เป็ นตัวกระตุนให้ดินต้านทานโรค
์
้

(Diseases resistant) ฯลฯ เข้าสู่ วงจรการย่อยสลายได้ดี ช่วยลดการ พังทลายของดิน ป้ องกันโรคและแมลงศัตรู พืชบางชนิด ของพืชและสัตว์ สามารถ
บาบัดมลพิษในน้ าเสี ยที่เกิดจากสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษต่างๆ ได้
กลุ่มที่ 4 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกตรึ งไนโตรเจน (Nitrogen fixing microorganisms) มีท้ งพวกที่เป็ นสาหร่ าย (Algae)
์
ั
และพวกแบคทีเรี ย (Bacteria) ทาหน้าที่ตรึ งก๊าซไนโตรเจนจากอากาศเพื่อให้ดินผลิตสารที่เป็ นประโยชน์ต่อการเจริ ญเติบโต เช่น
โปรตีน (Protein) กรดอินทรี ย ์ (Organic acids) กรดไขมัน (Fatty acids) แป้ ง (Starch or Carbohydrates) ฮอร์โมน
(Hormones) วิตามิน (Vitamins) ฯลฯ
กลุ่มที่ 5 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกสร้างกรดแลคติก (Lactic acids) มีประสิ ทธิ ภาพในการต่อต้านเชื้อรา และแบคทีเรี ยที่เป็ นโทษ
์
ส่ วนใหญ่เป็ นจุลินทรี ยที่ไม่ตองการอากาศหายใจ ทาหน้าที่เปลี่ยนสภาพดินเน่าเปื่ อย หรื อดินก่อโรคให้เป็ นดินที่ตานทานโรค ช่วยลด
์
้
้
จานวนจุลินทรี ยที่เป็ นสาเหตุของโรคพืชที่มีจานวนนับแสน หรื อให้หมดไป นอกจากนี้ยงช่วยย่อยสลายเปลือกเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยให้
์
ั
เมล็ดงอกได้ดีและแข็งแรงกว่าปกติอีกด้วย

ลักษณะทัวไปของ EM
่
EM เป็ นจุลินทรี ย ์ กลุ่มสร้างสรรค์ เป็ นกลุ่มที่มีประโยชน์ หรื อ เรี ยกว่ากลุ่มธรรมะ ดังนั้น เวลาจะใช้ EM ต้องคานึงถึงอยูเ่ สมอว่า
EMเป็ น สิ่ งมีชีวต EM มีลกษณะดังนี้
ั
ิ






่
ต้องการที่อยู่ ที่เหมาะสม ไม่ร้อนเกินไป หรื อเย็นเกินไป อยูในอุณหภูมิปกติ
ต้องการอาหารจากธรรมชาติ เช่น น้ าตาล ราข้าว โปรตีน และสารประกอบอื่นๆ ที่ไม่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวต
ิ
เป็ นจุลินทรี ยจากธรรมชาติ ไม่สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีและ ยาฆ่าเชื้อต่างๆ ได้
์
เป็ นตัวเอื้อประโยชน์แก่พืช สัตว์ และสิ่ งมีชีวตทั้งมวล
ิ
EM จะทางานในที่มืดได้ดี ดังนั้นควรใช้ช่วงเย็นของวัน เป็ นตัวทาลายความสกปรกทั้งหลาย
กำรดูแลเก็บรักษำ
หัวเชื้อ EM สามารถเก็บได้นานประมาณ 1 ปี โดยปิ ดฝา ให้สนิท อย่าทิ้ง EM ไว้กลางแดด และ อย่าเก็บไว้ในตูเ้ ย็น เก็บรักษา
ไว้ในอุณหภูมิปกติ ทุกครั้งที่แบ่งไปใช้ตองรี บปิ ดฝาให้สนิท เพื่อไม่ให้เชื้อโรค หรื อจุลินทรี ยในอากาศที่เป็ นโทษ เข้าไปปะปน การนา
้
์
EM ไปขยายต่อ ควรใช้ภาชนะที่สะอาด และใช้ให้หมดในระยะเวลาที่เหมาะสม

ข้ อสั งเกตพิเศษ
หาก EM เปลี่ยนเป็ นสี ดา มีกลิ่นเหม็นเน่า ถือว่า EM ตาย ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก ให้นา EM ที่เสี ยผสมน้ ารดกาจัดหญ้า
่
และวัชชพืชที่ไม่ตองการได้ กรณี เก็บไว้นานๆ จะมีฝ้าขาวเหนือผิวน้ า แสดงว่า EM พักตัว เมื่อเขย่าภาชนะ ฝ้ าสี ขาวจะสลายตัว กลับไปอยูในน้ า
้

เหมือนเดิมนาไปใช้ได้ เมื่อนาไปขยายเชื้อในน้ าและกากน้ าตาล จะมีกลิ่นหอมและ เป็ นฟองขาวๆ ภายใน 2-3 วัน ถ้าไม่มีฟอง น้ านิ่งสนิทแสดงว่า
การหมักขยายเชื้อยังไม่ได้ผล
ประโยชน์ ของจุลนทรีย์ในด้ ำนกำรเกษตร
ิ
1. ช่วยปรับสภาพความเป็ นกรด – ด่างในดินและน้ า
2. ช่วยแก้ปัญหาจากแมลงศัตรู พืชและโรคระบาดต่างๆ
3. ช่วยปรับสภาพดินให้ร่วนซุ ย อุมน้ าและอากาศได้ดี
้
4. ช่วยย่อยสลายอินทรี ยวัตถุ เพื่อให้เป็ นปุ๋ ย (อาหาร) พืชดูดซึ มไปเป็ นอาหารได้ดี ไม่ตองใช้พลังงานมากเหมือนการให้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ หรื อ
้
ปุ๋ ยเคมี
5. ช่วยสร้างฮอร์ โมนพืช พืชให้ผลผลิตสู งและคุณภาพดีข้ ึน
6. ช่วยให้ผลผลิตคงทน สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน มีประโยชน์ต่อการขนส่ งไกลๆ เช่น ส่ งออกต่างประเทศ
7. ช่วยกาจัดกลิ่นเหม็นจากฟาร์ มปศุสัตว์ ไก่และสุ กร ได้ภายใน 24 ชม.
8. ช่วยกาจัดน้ าเสี ยจากฟาร์ มได้ภายใน 1 – 2 สัปดาห์
9. ช่วยกาจัดแมลงวัน โดยการตัดวงจรชีวตของหนอนแมลงวันไม่ให้เข้าดักแด้เกิดเป็ นตัวแมลงวัน
ิ
10. ช่วยเสริ มสุ ขภาพสัตว์เลี้ยง ทาให้สัตว์แข็งแรงมีความต้านทานโรคสู ง ให้ผลผลิตสู งอัตราการตายต่า
บทที่ 3
วิธีการทดลอง
วัสดุอปกรณ์
ุ
1. ภาชนะหมัก ควรเป็ นภาชนะชนิดทึบแสงและมีฝาปิ ดสนิท ก่อนใช้ควรล้างให้สะอาดและถ้าตากแดดก่อนใช้ก็ยงดี ไม่ควรใช้
ิ่
ภาชนะที่เป็ นโลหะเนื่องจากเมื่อใช้ไปนาน ๆ จะถูกกัดจนทะลุได้
2. ไม้พาย ควรเตรี ยมไว้ โดยล้างให้สะอาดพร้อมตากแดดก่อนใช้
่
3. น้ าตาลธรรมชาติ เช่น น้ าตาลอ้อย, น้ าตาลมะพร้าว, น้ าตาลโตนดที่ไม่ผานการฟอกสี หรื อเจือปนด้วยน้ ายากันเสี ย หรื อใช้

กากน้ าตาล จานวน 1 กิโลกรัม
4. เศษซากพืชสด อาทิ พืชอวบน้ าอวบน้ า ผัก ผลไม้ท้ งแก่และอ่อน รวมทั้งเปลือกผลไม้ ฯลฯ 3 กิโลกรัม
ั
5. EM จุลินทรี ยที่ใช้ในการย่อยสลายพืช 3 ช้อนโต๊ะ
์

โดยทัวไปส่ วนผสมของการผลิตน้ าหมักชีวภาพ ถ้าใช้สูตรที่เป็ นเป็ นเศษซากพืช จะใช้ส่วนผสมระหว่างเศษซากพืชสดกับกากน้ าตาล
่
อัตราส่ วน 3: 1
วิธีทำกำรทดลอง
ใช้พืชที่มีลกษณะสด ใหม่ สมบูรณ์ อวบน้ า โตเร็ ว ไม่มีโรค (เน่า) ทุกส่ วนๆ ละไม่มากนัก จากพืชหลายๆ ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืชนามาสับ
ั
ให้เป็ นชิ้นเล็กๆ หรื อบดละเอียดให้ได้ปริ มาณ 3 กิโลกรัม แล้วบรรจุเศษพืชที่ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้ าตาลลงไป 1 ลิตร แล้วใส่ EM ลงไป คน
่
หรื อเขย่าให้เข้ากันให้เศษพืชจมอยูในกากน้ าตาลตลอดเวลา ปิ ดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืด อุณหภูมิหองนาน 7 วัน สามารถนาไปใช้ได้
้
การปฏิบติระหว่างการหมัก เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิ ดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอมหวานแสดงว่า "ดี"
ั

สามารถนาไปได้ ถ้าบูดเปรี้ ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้ าตาล หรื อของที่ใส่ ครั้งแรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็
แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ ยวอีกให้เติมน้ าตาลอีกแล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้ าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้
อุณหภูมิหองเก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ ยวให้เติมกากน้ าตาลลงไป
้
อัตรำและวิธีกำรใช้ นำหมักชีวภำพ
้
ั
1)พืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลยืนต้น ให้ทางใบ อัตราส่ วน 15-20 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ทุกๆ 5-7 วัน ควบคู่กบให้ทางราก 30-50 ซี .ซี ./น้ า
20 ลิตร ทุกๆ 15-20 วัน
2)เตรี ยมดินแปลกปลูก หรื อหลุมปลูกไม้ผล อัตราส่ วน 30-50 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ผสมกับปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมัก
3)ใช้แทนสารเร่ งปุ๋ ยหมัก อัตราส่ วน 75-100 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร พรมลงบนวัสดุทาปุ๋ ยหมัก
4) กาจัดน้ าเสี ยโดย อัตราส่ วน 75-100 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ราดให้ทวบริ เวณน้ าเสี ยหรื อในคอกปศุสัตว์
ั่

5) เพิ่มเปอร์ เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ อัตราส่ วน 15 - 20 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร แช่เมล็ดพันธุ์พอท่วมก่อนเพราะเป็ นเวลา 12 ชัวโมง
่
การต่อเชื้อน้ าหมักชีวภาพ ใช้หวเชื้อน้ าหมักชีวภาพ 1 ส่ วน กากน้ าตาล 1 ส่ วน น้ าสะอาด 10 ส่ วน ผสมให้เข้ากันดี ปิ ดฝาภาชนะเก็บไว้ในที่
ั
มืด ภายใต้อุณหภูมิหอง นาน 3 วัน ตรวจสอบกลิ่นตามครั้งแรก
้
่
เคล็ดลับ เรื่ องน้ าหมักชีวภาพ หลังการหมัก 3 วันแรก เปิ ดฝาออกดูถามีแก๊สพุงออกมาแสดงว่า มีส่วนผสมดีพยายามเปิ ดฝาระบายแก๊สบ่อยๆ
้
ถ้าไม่เปิ ดภาชนะที่หมักอาจระเบิดได้ กรณี ถาไม่มีกากน้ าตาลสามารถใช้น้ าตาลทรายแดงได้ โดยเพิ่มปริ มาณน้ าตาลแดงเป็ น 1 ส่ วน: เศษพืช 1 ส่ วน
้
การใช้น้ าหมักชีวภาพทางราก ควรใช้ควบคู่ไปกับปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมักเสมอ โดยการใส่ ปุ๋ยคอกปุ๋ ยหมัก 6 เดือน/ครั้ง
สู ตรนี้เหมาะสาหรับพืชกินใบ ตัวอย่างพืชสด ได้แก่ ผักบุง กวางตุง ผักขม ผักเสี้ ยน หน่อไม้ฝรั่ง ยอดชะอม ยอดกระถิน ยอดมันเทศยอดมะม่วง
้
้
ยอดมะยม ผักตาลึงและผล เถาขี้กาและผล เงาะป่ าและผล ใบยอและผล ฯลฯ
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ั
่
จากการทดลองการทาน้ าหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมน เพื่อนามาใช้กบแปลงการเกษตรเพื่อศึกษาดูวาอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพ

ของผลผลิตเป็ นอย่างไร เมื่อนาไปเปรี ยบเทียบกับแปลงการเกษตรที่ใช้ปุ๋ยเคมี ว่ามีความเหมือน หรื อมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ดังจะแสดง
ในตาราง

ชนิดของปุ๋ ย

ผลจำกกำรเปรียบเทียบ
อัตรำกำรเจริญเติบโต

คุณภำพของผลผลิต

ปุ๋ ยหมักชีวภาพ

มีการเจริ ญเติบโตของพืชดี แต่จะน้อยน้อย ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพดี
กว่าปุ๋ ยเคมี ไม่มมากนัก

ปุ๋ ยเคมี

มีการเจริ ญเติบโตของพืชดีมาก

ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพดี

จากตารางการเปรี ยบเทียบอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพของผลผลิตที่ได้น้ น คือ อัตราการเจริ ญเติบโตของพืชที่มีการใช้ปุ๋ยเคมีจะ
ั
มีการเจริ ญเติบโตที่เร็ วกว่าพืชที่มีการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ แต่ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ส่ วนคุณภาพที่ได้จากผลผลิตนั้นแปลงพืชทั้ง 2 แปลงให้คุณภาพ
ของผลผลิตที่ไม่ได้ต่างกันเลย พืชมีความสวยงามทั้ง 2 แปลงเท่ากัน
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
่
จากการทาการทดลองข้างต้นนั้นจะเห็นได้วาคุณภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพและปุ๋ ยเคมี ไม่ได้มีความแตกต่างกันมากมาย อัตราการเจริ ญเติบ

เติบโตและคุณภาพของผลผลิตที่ได้ก็ใกล้เคียงกัน แต่การที่เรานั้นใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพแทนการใช้ปุ๋ยเคมีน้ นจะทาให้เราประหยัดในการซื้ อปุ๋ ยเคมีที่มี
ั
่ ั
ราคาค่อนข้างสู ง และยังเป็ นการดารงชีวตแบบพอเพียงตามพระราชดาริ ของพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช หรื อพ่อหลวงของเราด้วย เป็ น
ิ
การบูรณาการโดยนาเศษพืช หรื อเศษอาหารที่ไม่ใช้แล้ว มาดัดแปลงจากขยะให้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าขึ้นมาได้โดยวิถีชาวบ้านนั้นเอง และการใช้ปุ๋ย
หมักชีวภาพนี้ก็จะไม่ก่อผลเสี ยแก่สภาพแวดล้อมต่างๆ อาทิเช่น การเสื่ อมสภาพของดิน แม่น้ ามีสารเคมีตกค้างทาให้เกิดมลภาวะทางน้ า และที่สาคัญ

คือ ไม่มีสารพิษตกค้างที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีในพืชผัก หรื อผลผลิตที่ได้จากการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ
ปัจจุบนได้มีการเรี ยกชื่อน้ าหมักชีวภาพที่แตกต่างกันออกไป เช่น น้ าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยน้ าจุลินทรี ย ์ เป็ นต้น และผูคิดค้นวิธีการทาน้ าหมัก
ั
้
่ ั
ชีวภาพขึ้นมาขณะนี้ไม่ต่ากว่า 100 สู ตร โดยท่านอาจารย์นิกร สุ ขปรุ ง ด้วย ซึ่ งขึ้นอยูกบวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นและราคาถูก โดยผูสนใจสามารถ
้

ั
ทดลองทา และเรี ยนรู ้นาไปใช้กบพืชผลของตนเอง ก็จะได้พบความมหัศจรรย์ของเจ้าน้ าหมักชีวภาพตัวนี้ ว่าสามารถดลบันดาลให้พืชผลของตนเอง
่
เจริ ญเติบโตงอกงามขึ้นอย่างรวดเร็ ว ในระยะเวลามิชามินาน ศัตรู พืชที่เคยเข้ามารบกวนพืชผลต่าง ๆ หลังจากปลูกไม่วาจะเป็ นโรคแมลง
้
ค่อย ๆ ลดน้อยถอยลงไปเป็ นลาดับ หลังจากที่ได้ใช้น้ าหมักชีวภาพนี้แล้ว จึงแสดงให้เห็นว่าน้ าหมักชีวภาพมีความสาคัญ และความจาเป็ นต่อ
การทาเกษตรอินทรี ยอย่างแท้จริ ง นอกจากนี้ยงช่วยในการการจัดการย่อยสลายสิ่ งปฏิกล ลดความเน่าเสี ย กลิ่นเหม็น ในระบบบาบัดน้ าเสี ย การ
์
ั
ู
กาจัดขยะอินทรี ย ์ และถูกดัดแปลงเป็ นผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดในครัวเรื อน ได้แก่ น้ ายาถูบาน น้ ายาขัดส้วม น้ ายาซักผ้า น้ ายาล้างจาน และ
้
น้ ายาล้างผักผลไม้ เป็ นต้น

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 

Viewers also liked

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้Beaubeau Reedus
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 

Viewers also liked (6)

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์

การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขายVirak Taratower
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์Sathit Seethaphon
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินkasetpcc
 
M3 science-social-2551
M3 science-social-2551M3 science-social-2551
M3 science-social-2551Nanapawan Jan
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ (20)

การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขาย
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2551
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2551วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2551
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
M3 science-social-2551
M3 science-social-2551M3 science-social-2551
M3 science-social-2551
 
since socail
since socailsince socail
since socail
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 

More from วิศิษฏ์ ชูทอง

More from วิศิษฏ์ ชูทอง (7)

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบสการไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

โครงงานวิทยาศาสตร์

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ ่ เรือง การทาปุยหมักชีวภาพ สูตรฮอร์โมนพืช ๋ จัดทำโดย 1.นำยเนติพงษ์ วงศ์ ประพันธ์ เลขที่ 2 ชั้น ม. 5 2.นำยวิศิษฏ์ ชู ทอง เลขที่ 5 ชั้น ม. 5 3.นำยตะวัน บุญขวัญ เลขที่ 7 ชั้น ม. 5 อำจำรย์ ที่ปรึกษำโครงงำน อำจำรย์ ฉัตรชัย พลเพชร โรงเรียนประชำบำรุง (อุทศกิจจำทร) ิ สำนักงำนเขตพืนทีกำรศึกษำพัทลุง เขต 2 ้ ่ …………………… ( อำจำรย์ฉัตรชัย พลเพชร)
  • 2. บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมน จากเศษพืชผักทางการเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการทาปุ๋ ยหมัก ชีวภาพจากวัสดุที่เหลือจากเศษพืชผักทางการเกษตร คือ พวกผักสดต่างๆ โดยเอาพวกผักสด หรื อเศษผักนั้นๆ ประมาณ 3 กิโลกรัม โดยสับให้เป็ นชิ้นเล็กๆ แล้วทาการผสมกับ EM 3 ช้อนโต๊ะ รวมทั้งกากน้ าตาล อีก 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าส่ วนผสมทั้งหมดในถังที่ เตรี ยมไว้ให้เข้ากัน แล้วเติมน้ าลงไป ปิ ดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ประมาณ 1 – 2 สัปดาห์ ผลปรากฏว่า น้ าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมัก มีราสี ขาวเกิดขึ้นมากมาย มีกลิ่นของการหมัก และนาน้ าหมักหรื อปุ๋ ยหมักชีวภาพนี้ไปใช้ลดพืชผัก แทนการใช้ปุ๋ยเคมี และปุ๋ ยหมักชีวภาพนี้ ยังเป็ นประโยชน์แก่เด็กนักเรี ยน ชุมชน เกษตรกรและผูที่สนใจที่จะทาปุ๋ ยขึ้นมาใช้เอง ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีซ่ ึ งมีราคาสู ง ดินเสื่ อม ้ คุณภาพและยังส่ งผลต่อปั ญหาสิ่ งแวดล้อมตามมา คณะผูจดทำ ้ั
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์โมนพืช ที่ทาจากเศษพืชผักทางการเกษตร เพื่อนามาทดลองถึง ประสิ ทธิภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชและคุณภาพของผลผลิตที่ได้ โดยจะนาไปเปรี ยบเทียบกับแปลงพืชผัก ที่มีการใช้ปุ๋ยเคมี โดยได้รับการสนับสนุนจาก นายผัน แก้วรักษ์ นางผิน แก้วรักษ์ และ อาจารย์ฉตรชัย พลเพชร ที่ได้ให้คาปรึ กษาใน ั การจัดทาโครงงานและได้รับความอนุเคราะห์จากชาวบ้านทุ่งหนักยอที่ได้ให้ขอเสนอแนะ และแนะนาเอกสารตาราต่างๆ ที่ใช้ใน ้ การศึกษาค้นคว้า คณะผูจดทา ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านดังที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้นไว้เป็ นอย่างสู ง ้ั คณะผูจดทา ้ั
  • 4. คานา โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เรื่ อง การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมนพืช โดยโครงงานเรื่ องนี้ได้ทาการศึกษา การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพจากเศษพืชผักทางการเกษตร เพราะเป็ นพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและชุมชนหรื อบางครั้งก็เหลือจากการประกอบ อาหารภายในครัวเรื อน และเป็ นการนาพืชผักที่เหลือใช้เหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ นอกจากพืชผักแล้วยังนาเอาจุลินทรี ย ์ EM และ กากน้ าตาล มาช่วยเร่ งการย่อยสลาย เพื่อให้เป็ นปุ๋ ยชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีราคาสู ง ลดปัญหาดินเสื่ อมคุณภาพ ลดปัญหา สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาต่อสุ ขภาพเกษตรกรและลดการนาเข้าจากต่างประเทศด้วย คณะผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานเรื่ องนี้คงจะเป็ นประโยชน์ต่อเกษตรกร ตลอดจนผูที่สนใจที่จะทาปุ๋ ยขึ้นใช้เองโดยไม่ตองใช้ ้ั ้ ้ ่ ปุ๋ ยเคมีเลย และหากโครงงานเรื่ องนี้มีขอผิดพลาดประการใดผูจดทาต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ ้ั ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 5. บทที่ 1 บทนา ทีมำและควำมสำคัญ ่ เรื่ องราวของปุ๋ ยหมักชีวภาพหรื อน้ าสกัดชีวภาพเกิดขึ้นเมื่อประมาณ กลางปี พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นในขณะที่ประเทศไทยประสบภาวะ วิกฤติทางเศรษฐกิจทาให้ประชาชนคนไทยต้องเดือนร้อนไปทุกหย่อมหญ้า จนต้องไปพึ่งพาเจ้าพ่อ ไอเอ็มเอฟ จนทุกวันนี้ แต่ประเทศไทยก็ ่ ไม่ได้โชคร้ายเสี ยทีเดียว ท่ามกลางความโชคร้ายกได้เกิดความโชคดีข้ ึนมา โชคดีที่วานั้น คือคนไทยได้รู้วธีการทาปุ๋ ยชีวภาพใช้เอง เรื่ องราว ิ ความเป็ นมาของปุ๋ ยหมักชีวภาพหรื อน้ าสกัดชีวภาพเริ่ มต้นขึ้นเมื่อเดือน กรกฎาคม 2540 โดยอาจารย์ภรณ์ ภูมิพนนา ได้เชิญ มร.ฮาน คิว โซ ั นายกสมาคมเกษตรแห่งประเทศเกาหลี มาบรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการทาเกษตรธรรมชาติให้ปลอดภัยจากสารพิษโดยใช้จุลินทรี ย ์ น้ าหมักชีวภาพ เริ่ มแรกที่แพร่ หลายเข้ามาในประเทศไทยนั้น ได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการเกษตรอินทรี ยเ์ พื่อทดแทนสารเคมีใน ปุ๋ ย ยากาจัดศัตรู พืช ฮอร์โมนบารุ งพืช ฯลฯ รวมถึงการจัดการย่อยสลายสิ่ งปฏิกล ลดความเน่าเสี ย กลิ่นเหม็น ในระบบบาบัดน้ าเสี ย ู การกาจัดขยะอินทรี ย ์ เป็ นต้น ต่อมาได้เริ่ มถูกดัดแปลงเป็ นผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดในครัวเรื อน ได้แก่ น้ ายาถูบาน น้ ายาขัดส้วม ้ น้ ายาซักผ้า น้ ายาล้างจาน และน้ ายาล้างผักผลไม้ แต่ในยุคแรก ๆ ได้มีชื่อเรี ยกต่าง ๆ ตามกลุ่มองค์กรที่ส่งเริ มการใช้ประโยชน์ เช่น น้ าจุลินทรี ย ์ หรื อน้ าหมักเปรี้ ยว หรื อน้ าสกัดชีวภาพ ฯลฯ
  • 6. ปั จจุบนมีการนาปุ๋ ยเคมีมาใช้ในการเกษตรเป็ นอย่างมาก ซึ่งทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทาลายดินให้เสื่ อมโทรม ทาให้ได้พืชผลทางการ ั เกษตรที่นอยลงและด้อยคุณภาพ จึงมีการรณรงค์ส่งเสริ มให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพให้มากขึ้น น้ าหมักชีวภาพ เป็ นอีกทางเลือกที่เกษตรกร ้ สามารถนามาใช้เป็ นปุ๋ ย และป้ องกันกาจัดศัตรู พืช แทนปุ๋ ยเคมีและสารเคมีกาจัดศัตรู พืชได้ ซึ่ งปั จจุบนเกษตรกรมีการหันมาใช้น้ าสกัดชีวภาพมาก ั ขึ้น ศูนย์เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยท่านอาจารย์นิกร สุ ขปรุ ง ได้คิดค้นและพัฒนาน้ าหมักชีวภาพสู ตร ศทม.ขึ้น เพื่อนามาเผยแพร่ แก่ชุมชนและ นามาใช้ในการทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็ นการประหยัดค่าใช้จ่ายและลดการใช้ปุ๋ยเคมีราคาแพง
  • 7. วัตถุประสงค์ของโครงงาน  เพื่อสามารถนาน้ าหมักชีวภาพไปใช้ได้โดยตรง  เพื่อศึกษาประโยชน์จากปุ๋ ยหมักชีวภาพ เพื่อนามาปรับใช้ในชีวตประจาวัน ิ  เพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม  เพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชได้
  • 8. สมมติฐานของโครงงาน ปุ๋ ยหมักชีวภาพที่ได้มีการคิดกระบวนการทาแบบชาวบ้านโดยวัสดุจากธรรมชาติน้ น จะส่ งผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชได้ดี และให้ ั คุณภาพของผลผลิตที่ดี ไม่ต่างจากปุ๋ ยที่ทาจากสารเคมี ตัวแปรทีเ่ กียวข้ อง ่  ตัวแปรต้น ปุ๋ ยหมักชีวภาพ และ ปุ๋ ยเคมี  ตัวแปรตาม อัตราการเจริ ญเติบโตของพืชและคุณภาพของผลผลิตที่ได้  ตัวแปรควบคุม ปริ มาณของจุลินทรี ยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช ์ ขอบเขตของกำรศึกษำ ่ เพื่อทาการศึกษาถึงประสิ ทธิ ภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพของผลผลิตที่ได้วามีคุณภาพ แตกต่างกันอย่างไรเพื่อนามาเปรี ยบเทียบกับการใช้ปุ๋ยเคมี ประโยชน์ ทได้ รับ ี่ 1. ทราบถึงวิธีการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพจากวัสดุที่เหลือจากเศษพืชผักทางการเกษตร 2. ทราบถึงการทาปุ๋ ยหมักชีวภาพและการนาปุ๋ ยหมักชีวภาพไปใช้แทนปุ๋ ยเคมีที่มีราคาสู งได้ 3. ช่วยลดมลภาวะของสิ่ งแวดล้อมลง เนื่องจากจุลินทรี ย ์ EM และกากน้ าตาลสามารถย่อยสลายส่ วนประกอบทางชีวเคมีของพืชให้ กลายเป็ นธาตุอาหารนาไปใช้ในการเจริ ญเติบโต 4. เป็ นการรักษาคุณภาพของดินและเป็ นการเพิ่มจุลินทรี ยในดินให้มากขึ้น ์
  • 9. บทที่ 2 ่ เอกสารที่เกียวข้อง นำหมักชีวภำพ หรือ นำสกัดชีวภำพ หรือ ปุ๋ ยนำจุลนทรีย์ ตามแต่จะเรี ยก เป็ นสารละลายเข้มข้นที่ได้จากการหมักเศษพืช ้ ้ ้ ิ ั หรื อสัตว์กบสารที่ให้ความหวาน จนถูกย่อยสลายโดยจุลินทรี ยซ่ ึ งเมื่อผ่านกระบวนการแล้วจะได้สารละลายเข้มข้นสี น้ าตาล ์ ประกอบไปด้วยจุลินทรี ย ์ และสารอินทรี ยหลายชนิด เดิมทีน้ นจุดประสงค์ของการคิดค้น "นำหมักชีวภำพ" ขึ้นมา เพื่อใช้ ์ ั ้ ประโยชน์ทางการเกษตรโดยเฉพาะ แต่ช่วงหลังก็มีการนาน้ าหมักชีวภาพ มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านอื่นเช่นกัน คือ ด้ ำนกำรเกษตร น้ าหมักชีวภาพ มีธาตุอาหารสาคัญ ทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม แคลเซียม กามะถัน ฯลฯ จึง สามารถนาไปเป็ นปุ๋ ย เร่ งอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช เพิ่มคุณภาพของผลผลิตให้ดีข้ ึน และยังสามารถใช้ไล่แมลงศัตรู พืชได้ดวย ้ ด้ ำนปศุสัตว์ สามารถช่วยกาจัดกลิ่นเหม็น น้ าเสี ยจากฟาร์มสัตว์ได้ ช่วยป้ องกันโรคระบาดต่าง ๆ ในสัตว์แทนการให้ยา ปฏิชีวนะ ทาให้สัตว์แข็งแรง มีความต้านทานโรค ช่วยกาจัดแมลงวัน ฯลฯ ด้ ำนกำรประมง ช่วยควบคุมคุณภาพน้ าในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ า ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในน้ า ช่วยรักษาโรคแผลต่าง ๆ ในปลา ั กบ จระเข้ได้ ช่วยลดปริ มาณขี้เลนในบ่อ ช่วยให้เลนไม่เน่าเหม็น สามารถนาไปผสมเป็ นปุ๋ ยหมักใช้กบพืชต่าง ๆ ได้ดี
  • 10. ด้ ำนสิ่ งแวดล้อม น้ าหมักชีวภาพ สามารถช่วยบาบัดน้ าเสี ยจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน และสถาน ประกอบการทัวไป แถมยังช่วยกาจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ การเลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต่าง ๆ นอกจากนี้ยงช่วยปรับสภาพอากาศที่ ั ่ เสี ยให้สดชื่น และมีสภาพดีข้ ึน ประโยชน์ ในครัวเรือน เราสามารถนาน้ าหมักชีวภาพ มาใช้ในการซักล้างทาความสะอาด แทนสบู่ ผงซักฟอก แชมพู น้ ายาล้างจาน รวมทั้งใช้ ดับกลิ่นในห้องน้ า โถส้วม ท่อระบายน้ า ฯลฯ ได้ดวย ้ กำรใช้ ปยนำหมักชีวภำพอย่ ำงมีประสิ ทธิภำพ ุ๋ ้ ่ 1. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพมีค่า ความเข้มข้นของสารละลายสู ง ( ค่า EC เกิน 4 Ds/m) และเป็ น กรดจัด มีค่าความเป็ นกรดเป็ นด่างอยูระหว่าง ั 3.6 – 4.5 ก่อนนาไปใช้กบพืชต้องปรับสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างให้เป็ นกลาง โดยเติมหินฟอสเฟต ปูนไดโลไมล์ ปูนขาว กระดูกป่ น อย่างใด อย่างหนึ่ง อัตรา 5 - 10 กิโลกรัม/ ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ 100 ลิตร แล้วผสมปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ อัตรา 30 - 50 CC/ น้ า 20 ลิตร ั 2. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ จะเป็ นประโยชน์สูงสุ ด ต้องใช้เวลาในการหมัก จนแน่ใจว่าจุลินทรี ยยอยสลายอินทรี ยสมบูรณ์แล้ว จึงนาไปใช้กบพืชได้ ์่ ์ 3. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพแต่ละสู ตรมี ธาตุอาหารเกือบทุกชนิด แต่มีในปริ มาณต่า จึงควรใส่ ปุ๋ยอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมักแห้งชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด หรื อปุ๋ ยเคมีเสริ ม ่ ั 4. ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพแต่ละสู ตรมี ฮอร์โมนพืช ในระดับที่แตกต่างกันขึ้นอยูกบวัตถุดิบที่นามาใช้ทา ปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ มีฮอร์ โมนในกลุ่ม อ๊อกซิน ได้แก่ อินโดลอะซิติกแอซิล (LAA) มีผลในการเร่ งการเจริ ญเติบโตของยอด กระตุนการเกิดรากของกิ่งปั กชา ้ ฮอร์โมนจิบเบอร์ เรลลิน (GA3) ช่วยทาลายการฟักตัวของเมล็ด กระตุนการเจริ ญเติบโตของต้น ส่ งเสริ มการออกดอก และทาให้ช่อดอกยืดยาวขึ้น ้ และฮอร์โมน กลุ่มไซโตโคนิน ได้แก่ เซติน (Zeatin) และไคเนติน (Kinetin) มีผลกระตุนการเกิดตา ช่วยเคลื่อนย้ายอาหารในต้นพืช และช่วยให้พืชผักมีความสดนานขึ้น ้
  • 11. ข้ อควรระวังในกำรใช้ นำหมักชีวภำพ ้ 1.หากใช้น้ าหมักชีวภาพกับพืช ต้องใช้ปริ มาณเจือจาง เพราะหากความเข้มข้นสู งเกินไป อาจทาให้พืชชะงักการเจริ ญเติบโต และตายได้ 2.ระหว่างหมัก จะเกิดก๊าซต่าง ๆ ในภาชนะ ดังนั้นต้องหมันเปิ ดฝาออก เพื่อระบายแก๊ส แล้วปิ ดฝากลับให้สนิททันที ่ 3.หากใช้น้ าประปาในการหมัก ต้องต้มให้สุก เพื่อไล่คลอรี นออกไปก่อน เพราะคลอรี นอาจเป็ นอันตรายต่อจุลินทรี ยที่ใช้ในการหมัก ์ 4.พืชบางชนิด เช่น เปลือกส้ม ไม่เหมาะในการทาน้ าหมักชีวภาพ เพราะน้ ามันที่เคลือบผิวเปลือกส้มเป็ นพิษต่อจุลินทรี ย ์ อีเอ็ม (EM) คืออะไร EM ย่อมาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ่มจุลินทรี ยที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่ง ศ.ดร.เทรู โอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร์ ผูเ้ ชี่ยวชาญ ์ สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริ วกิว เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ได้ศึกษาแนวคิดเรื่ อง " ดินมีชีวต" ของท่านโมกิจิ โอกะดะ (พ.ศ.2425-2498) บิดาเกษตร ิ ธรรมชาติของโลกจากนั้น ดร.ฮิงะ เริ่ มค้นคว้าทดลองตั้งแต่ปี พ.ศ 2510 และค้นพบ EM เมื่อ พ.ศ. 2526 ท่านอุทิศทุ่มเททาการวิจยผลว่ากลุ่มจุลินทรี ยน้ ี ั ์ ใช้ได้ผลจริ ง หลังจากนั้นศาสนาจารย์วาคุกามิ ได้นามาเผยแพร่ ในประเทศไทย โดยท่านเป็ นประธานมูลนิธิบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ดวยกิจกรรมทาง ้ ่ ศาสนา หรื อ คิวเซ (คิวเซ แปลว่า ช่วยเหลือโลก) ปั จจุบน ตั้งอยูที่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ั จำกกำรค้ นคว้ ำพบควำมจริงเกียวกับจุลนทรีย์ว่ำมี 3 กลุ่ม คือ ่ ิ 1. กลุ่มสร้างสรรค์ เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่มีคุณภาพ มีประมาณ 10 % ์ 2. กลุ่มทาลาย เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่เป็ นโทษ ทาให้เกิดโรค มีประมาณ 10 % ์ 3. กลุ่มเป็ นกลาง มีประมาณ 80 % จุลินทรี ยกลุ่มนี้หากกลุ่มใด มีจานวนมากกว่ากลุ่มนี้จะสนับสนุนหรื อร่ วมด้วย ์
  • 12. ดังนั้น การเพิมจุลินทรี ยที่มีคุณภาพลงในดิน ก็เพื่อให้กลุ่มสร้างสรรค์มีจานวนมากกว่า ซึ่ งจุลินทรี ยเ์ หล่านี้จะช่วยปรับปรุ งโครงสร้างของดินให้ ์ ่ กลับมีพลังขึ้นมาอีกหลังจากที่ถูกทาลายด้วยสารเคมีจนดินตายไป จุลนทรีย์มี 2 ประเภท ิ 1. ประเภทต้ องกำรอำกำศ (Aerobic Bacteria) 2. ประเภทไม่ ต้องกำรอำกำศ (Anaerobic Bacteria) ่ จุลินทรี ยท้ ง 2 กลุ่มนี้ ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และสามารถอยูร่วมกันได้ ์ ั จากการค้นคว้าดังกล่าว ได้มีการนาเอาจุลินทรี ยที่ได้รับการคัดและเลือกสรรอย่างดีจากธรรมชาติ ที่มีประโยชน์ต่อพืช สัตว์ และสิ่ งแวดล้อม ์ มารวมกัน 5 กลุ่ม (Families) 10 จีนส (Genues) 80 ชนิด (Spicies) ได้แก่ ั กลุ่มที่ 1 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกเชื้อราที่มีเส้นใย (Filamentous fungi) ทาหน้าที่เป็ นตัวเร่ งการย่อยสลาย สามารถทางานได้ ์ ดีในสภาพที่มีออกซิ เจน มีคุณสมบัติตานทานความร้อนได้ดี ปกติใช้เป็ นหัวเชื้อผลิตเหล้า ผลิตปุ๋ ยหมัก ฯลฯ ้ กลุ่มที่ 2 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกสังเคราะห์แสง (Photosynthetic microorganisms) ทาหน้าที่สังเคราะห์สารอินทรี ย ์ ์ ให้แก่ดิน เช่น ไนโตรเจน (N2) กรดอะมิโน (Amino acids) น้ าตาล (Sugar) วิตามิน (Vitamins) ออร์ โมน (Hormones) และอื่นๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้แก่ดิน กลุ่มที่ 3 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่ใช้ในการหมัก (Zynogumic or Fermented microorganisms) ทาหน้าที่เป็ นตัวกระตุนให้ดินต้านทานโรค ์ ้ (Diseases resistant) ฯลฯ เข้าสู่ วงจรการย่อยสลายได้ดี ช่วยลดการ พังทลายของดิน ป้ องกันโรคและแมลงศัตรู พืชบางชนิด ของพืชและสัตว์ สามารถ บาบัดมลพิษในน้ าเสี ยที่เกิดจากสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษต่างๆ ได้
  • 13. กลุ่มที่ 4 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกตรึ งไนโตรเจน (Nitrogen fixing microorganisms) มีท้ งพวกที่เป็ นสาหร่ าย (Algae) ์ ั และพวกแบคทีเรี ย (Bacteria) ทาหน้าที่ตรึ งก๊าซไนโตรเจนจากอากาศเพื่อให้ดินผลิตสารที่เป็ นประโยชน์ต่อการเจริ ญเติบโต เช่น โปรตีน (Protein) กรดอินทรี ย ์ (Organic acids) กรดไขมัน (Fatty acids) แป้ ง (Starch or Carbohydrates) ฮอร์โมน (Hormones) วิตามิน (Vitamins) ฯลฯ กลุ่มที่ 5 เป็ นกลุ่มจุลินทรี ยพวกสร้างกรดแลคติก (Lactic acids) มีประสิ ทธิ ภาพในการต่อต้านเชื้อรา และแบคทีเรี ยที่เป็ นโทษ ์ ส่ วนใหญ่เป็ นจุลินทรี ยที่ไม่ตองการอากาศหายใจ ทาหน้าที่เปลี่ยนสภาพดินเน่าเปื่ อย หรื อดินก่อโรคให้เป็ นดินที่ตานทานโรค ช่วยลด ์ ้ ้ จานวนจุลินทรี ยที่เป็ นสาเหตุของโรคพืชที่มีจานวนนับแสน หรื อให้หมดไป นอกจากนี้ยงช่วยย่อยสลายเปลือกเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยให้ ์ ั เมล็ดงอกได้ดีและแข็งแรงกว่าปกติอีกด้วย ลักษณะทัวไปของ EM ่ EM เป็ นจุลินทรี ย ์ กลุ่มสร้างสรรค์ เป็ นกลุ่มที่มีประโยชน์ หรื อ เรี ยกว่ากลุ่มธรรมะ ดังนั้น เวลาจะใช้ EM ต้องคานึงถึงอยูเ่ สมอว่า EMเป็ น สิ่ งมีชีวต EM มีลกษณะดังนี้ ั ิ      ่ ต้องการที่อยู่ ที่เหมาะสม ไม่ร้อนเกินไป หรื อเย็นเกินไป อยูในอุณหภูมิปกติ ต้องการอาหารจากธรรมชาติ เช่น น้ าตาล ราข้าว โปรตีน และสารประกอบอื่นๆ ที่ไม่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวต ิ เป็ นจุลินทรี ยจากธรรมชาติ ไม่สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีและ ยาฆ่าเชื้อต่างๆ ได้ ์ เป็ นตัวเอื้อประโยชน์แก่พืช สัตว์ และสิ่ งมีชีวตทั้งมวล ิ EM จะทางานในที่มืดได้ดี ดังนั้นควรใช้ช่วงเย็นของวัน เป็ นตัวทาลายความสกปรกทั้งหลาย
  • 14. กำรดูแลเก็บรักษำ หัวเชื้อ EM สามารถเก็บได้นานประมาณ 1 ปี โดยปิ ดฝา ให้สนิท อย่าทิ้ง EM ไว้กลางแดด และ อย่าเก็บไว้ในตูเ้ ย็น เก็บรักษา ไว้ในอุณหภูมิปกติ ทุกครั้งที่แบ่งไปใช้ตองรี บปิ ดฝาให้สนิท เพื่อไม่ให้เชื้อโรค หรื อจุลินทรี ยในอากาศที่เป็ นโทษ เข้าไปปะปน การนา ้ ์ EM ไปขยายต่อ ควรใช้ภาชนะที่สะอาด และใช้ให้หมดในระยะเวลาที่เหมาะสม ข้ อสั งเกตพิเศษ หาก EM เปลี่ยนเป็ นสี ดา มีกลิ่นเหม็นเน่า ถือว่า EM ตาย ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก ให้นา EM ที่เสี ยผสมน้ ารดกาจัดหญ้า ่ และวัชชพืชที่ไม่ตองการได้ กรณี เก็บไว้นานๆ จะมีฝ้าขาวเหนือผิวน้ า แสดงว่า EM พักตัว เมื่อเขย่าภาชนะ ฝ้ าสี ขาวจะสลายตัว กลับไปอยูในน้ า ้ เหมือนเดิมนาไปใช้ได้ เมื่อนาไปขยายเชื้อในน้ าและกากน้ าตาล จะมีกลิ่นหอมและ เป็ นฟองขาวๆ ภายใน 2-3 วัน ถ้าไม่มีฟอง น้ านิ่งสนิทแสดงว่า การหมักขยายเชื้อยังไม่ได้ผล
  • 15. ประโยชน์ ของจุลนทรีย์ในด้ ำนกำรเกษตร ิ 1. ช่วยปรับสภาพความเป็ นกรด – ด่างในดินและน้ า 2. ช่วยแก้ปัญหาจากแมลงศัตรู พืชและโรคระบาดต่างๆ 3. ช่วยปรับสภาพดินให้ร่วนซุ ย อุมน้ าและอากาศได้ดี ้ 4. ช่วยย่อยสลายอินทรี ยวัตถุ เพื่อให้เป็ นปุ๋ ย (อาหาร) พืชดูดซึ มไปเป็ นอาหารได้ดี ไม่ตองใช้พลังงานมากเหมือนการให้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ หรื อ ้ ปุ๋ ยเคมี 5. ช่วยสร้างฮอร์ โมนพืช พืชให้ผลผลิตสู งและคุณภาพดีข้ ึน 6. ช่วยให้ผลผลิตคงทน สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน มีประโยชน์ต่อการขนส่ งไกลๆ เช่น ส่ งออกต่างประเทศ 7. ช่วยกาจัดกลิ่นเหม็นจากฟาร์ มปศุสัตว์ ไก่และสุ กร ได้ภายใน 24 ชม. 8. ช่วยกาจัดน้ าเสี ยจากฟาร์ มได้ภายใน 1 – 2 สัปดาห์ 9. ช่วยกาจัดแมลงวัน โดยการตัดวงจรชีวตของหนอนแมลงวันไม่ให้เข้าดักแด้เกิดเป็ นตัวแมลงวัน ิ 10. ช่วยเสริ มสุ ขภาพสัตว์เลี้ยง ทาให้สัตว์แข็งแรงมีความต้านทานโรคสู ง ให้ผลผลิตสู งอัตราการตายต่า
  • 16. บทที่ 3 วิธีการทดลอง วัสดุอปกรณ์ ุ 1. ภาชนะหมัก ควรเป็ นภาชนะชนิดทึบแสงและมีฝาปิ ดสนิท ก่อนใช้ควรล้างให้สะอาดและถ้าตากแดดก่อนใช้ก็ยงดี ไม่ควรใช้ ิ่ ภาชนะที่เป็ นโลหะเนื่องจากเมื่อใช้ไปนาน ๆ จะถูกกัดจนทะลุได้ 2. ไม้พาย ควรเตรี ยมไว้ โดยล้างให้สะอาดพร้อมตากแดดก่อนใช้ ่ 3. น้ าตาลธรรมชาติ เช่น น้ าตาลอ้อย, น้ าตาลมะพร้าว, น้ าตาลโตนดที่ไม่ผานการฟอกสี หรื อเจือปนด้วยน้ ายากันเสี ย หรื อใช้ กากน้ าตาล จานวน 1 กิโลกรัม 4. เศษซากพืชสด อาทิ พืชอวบน้ าอวบน้ า ผัก ผลไม้ท้ งแก่และอ่อน รวมทั้งเปลือกผลไม้ ฯลฯ 3 กิโลกรัม ั 5. EM จุลินทรี ยที่ใช้ในการย่อยสลายพืช 3 ช้อนโต๊ะ ์ โดยทัวไปส่ วนผสมของการผลิตน้ าหมักชีวภาพ ถ้าใช้สูตรที่เป็ นเป็ นเศษซากพืช จะใช้ส่วนผสมระหว่างเศษซากพืชสดกับกากน้ าตาล ่ อัตราส่ วน 3: 1
  • 17. วิธีทำกำรทดลอง ใช้พืชที่มีลกษณะสด ใหม่ สมบูรณ์ อวบน้ า โตเร็ ว ไม่มีโรค (เน่า) ทุกส่ วนๆ ละไม่มากนัก จากพืชหลายๆ ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืชนามาสับ ั ให้เป็ นชิ้นเล็กๆ หรื อบดละเอียดให้ได้ปริ มาณ 3 กิโลกรัม แล้วบรรจุเศษพืชที่ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้ าตาลลงไป 1 ลิตร แล้วใส่ EM ลงไป คน ่ หรื อเขย่าให้เข้ากันให้เศษพืชจมอยูในกากน้ าตาลตลอดเวลา ปิ ดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืด อุณหภูมิหองนาน 7 วัน สามารถนาไปใช้ได้ ้ การปฏิบติระหว่างการหมัก เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิ ดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอมหวานแสดงว่า "ดี" ั สามารถนาไปได้ ถ้าบูดเปรี้ ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้ าตาล หรื อของที่ใส่ ครั้งแรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็ แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ ยวอีกให้เติมน้ าตาลอีกแล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้ าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้ อุณหภูมิหองเก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ ยวให้เติมกากน้ าตาลลงไป ้
  • 18. อัตรำและวิธีกำรใช้ นำหมักชีวภำพ ้ ั 1)พืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลยืนต้น ให้ทางใบ อัตราส่ วน 15-20 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ทุกๆ 5-7 วัน ควบคู่กบให้ทางราก 30-50 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ทุกๆ 15-20 วัน 2)เตรี ยมดินแปลกปลูก หรื อหลุมปลูกไม้ผล อัตราส่ วน 30-50 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ผสมกับปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมัก 3)ใช้แทนสารเร่ งปุ๋ ยหมัก อัตราส่ วน 75-100 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร พรมลงบนวัสดุทาปุ๋ ยหมัก 4) กาจัดน้ าเสี ยโดย อัตราส่ วน 75-100 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร ราดให้ทวบริ เวณน้ าเสี ยหรื อในคอกปศุสัตว์ ั่ 5) เพิ่มเปอร์ เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ อัตราส่ วน 15 - 20 ซี .ซี ./น้ า 20 ลิตร แช่เมล็ดพันธุ์พอท่วมก่อนเพราะเป็ นเวลา 12 ชัวโมง ่ การต่อเชื้อน้ าหมักชีวภาพ ใช้หวเชื้อน้ าหมักชีวภาพ 1 ส่ วน กากน้ าตาล 1 ส่ วน น้ าสะอาด 10 ส่ วน ผสมให้เข้ากันดี ปิ ดฝาภาชนะเก็บไว้ในที่ ั มืด ภายใต้อุณหภูมิหอง นาน 3 วัน ตรวจสอบกลิ่นตามครั้งแรก ้ ่ เคล็ดลับ เรื่ องน้ าหมักชีวภาพ หลังการหมัก 3 วันแรก เปิ ดฝาออกดูถามีแก๊สพุงออกมาแสดงว่า มีส่วนผสมดีพยายามเปิ ดฝาระบายแก๊สบ่อยๆ ้ ถ้าไม่เปิ ดภาชนะที่หมักอาจระเบิดได้ กรณี ถาไม่มีกากน้ าตาลสามารถใช้น้ าตาลทรายแดงได้ โดยเพิ่มปริ มาณน้ าตาลแดงเป็ น 1 ส่ วน: เศษพืช 1 ส่ วน ้ การใช้น้ าหมักชีวภาพทางราก ควรใช้ควบคู่ไปกับปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมักเสมอ โดยการใส่ ปุ๋ยคอกปุ๋ ยหมัก 6 เดือน/ครั้ง สู ตรนี้เหมาะสาหรับพืชกินใบ ตัวอย่างพืชสด ได้แก่ ผักบุง กวางตุง ผักขม ผักเสี้ ยน หน่อไม้ฝรั่ง ยอดชะอม ยอดกระถิน ยอดมันเทศยอดมะม่วง ้ ้ ยอดมะยม ผักตาลึงและผล เถาขี้กาและผล เงาะป่ าและผล ใบยอและผล ฯลฯ
  • 19. บทที่ 4 ผลการทดลอง ั ่ จากการทดลองการทาน้ าหมักชีวภาพ สู ตรฮอร์ โมน เพื่อนามาใช้กบแปลงการเกษตรเพื่อศึกษาดูวาอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพ ของผลผลิตเป็ นอย่างไร เมื่อนาไปเปรี ยบเทียบกับแปลงการเกษตรที่ใช้ปุ๋ยเคมี ว่ามีความเหมือน หรื อมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ดังจะแสดง ในตาราง ชนิดของปุ๋ ย ผลจำกกำรเปรียบเทียบ อัตรำกำรเจริญเติบโต คุณภำพของผลผลิต ปุ๋ ยหมักชีวภาพ มีการเจริ ญเติบโตของพืชดี แต่จะน้อยน้อย ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพดี กว่าปุ๋ ยเคมี ไม่มมากนัก ปุ๋ ยเคมี มีการเจริ ญเติบโตของพืชดีมาก ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพดี จากตารางการเปรี ยบเทียบอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช และคุณภาพของผลผลิตที่ได้น้ น คือ อัตราการเจริ ญเติบโตของพืชที่มีการใช้ปุ๋ยเคมีจะ ั มีการเจริ ญเติบโตที่เร็ วกว่าพืชที่มีการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ แต่ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ส่ วนคุณภาพที่ได้จากผลผลิตนั้นแปลงพืชทั้ง 2 แปลงให้คุณภาพ ของผลผลิตที่ไม่ได้ต่างกันเลย พืชมีความสวยงามทั้ง 2 แปลงเท่ากัน
  • 20. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง ่ จากการทาการทดลองข้างต้นนั้นจะเห็นได้วาคุณภาพของปุ๋ ยหมักชีวภาพและปุ๋ ยเคมี ไม่ได้มีความแตกต่างกันมากมาย อัตราการเจริ ญเติบ เติบโตและคุณภาพของผลผลิตที่ได้ก็ใกล้เคียงกัน แต่การที่เรานั้นใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพแทนการใช้ปุ๋ยเคมีน้ นจะทาให้เราประหยัดในการซื้ อปุ๋ ยเคมีที่มี ั ่ ั ราคาค่อนข้างสู ง และยังเป็ นการดารงชีวตแบบพอเพียงตามพระราชดาริ ของพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช หรื อพ่อหลวงของเราด้วย เป็ น ิ การบูรณาการโดยนาเศษพืช หรื อเศษอาหารที่ไม่ใช้แล้ว มาดัดแปลงจากขยะให้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าขึ้นมาได้โดยวิถีชาวบ้านนั้นเอง และการใช้ปุ๋ย หมักชีวภาพนี้ก็จะไม่ก่อผลเสี ยแก่สภาพแวดล้อมต่างๆ อาทิเช่น การเสื่ อมสภาพของดิน แม่น้ ามีสารเคมีตกค้างทาให้เกิดมลภาวะทางน้ า และที่สาคัญ คือ ไม่มีสารพิษตกค้างที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีในพืชผัก หรื อผลผลิตที่ได้จากการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ปัจจุบนได้มีการเรี ยกชื่อน้ าหมักชีวภาพที่แตกต่างกันออกไป เช่น น้ าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยน้ าจุลินทรี ย ์ เป็ นต้น และผูคิดค้นวิธีการทาน้ าหมัก ั ้ ่ ั ชีวภาพขึ้นมาขณะนี้ไม่ต่ากว่า 100 สู ตร โดยท่านอาจารย์นิกร สุ ขปรุ ง ด้วย ซึ่ งขึ้นอยูกบวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นและราคาถูก โดยผูสนใจสามารถ ้ ั ทดลองทา และเรี ยนรู ้นาไปใช้กบพืชผลของตนเอง ก็จะได้พบความมหัศจรรย์ของเจ้าน้ าหมักชีวภาพตัวนี้ ว่าสามารถดลบันดาลให้พืชผลของตนเอง ่ เจริ ญเติบโตงอกงามขึ้นอย่างรวดเร็ ว ในระยะเวลามิชามินาน ศัตรู พืชที่เคยเข้ามารบกวนพืชผลต่าง ๆ หลังจากปลูกไม่วาจะเป็ นโรคแมลง ้ ค่อย ๆ ลดน้อยถอยลงไปเป็ นลาดับ หลังจากที่ได้ใช้น้ าหมักชีวภาพนี้แล้ว จึงแสดงให้เห็นว่าน้ าหมักชีวภาพมีความสาคัญ และความจาเป็ นต่อ การทาเกษตรอินทรี ยอย่างแท้จริ ง นอกจากนี้ยงช่วยในการการจัดการย่อยสลายสิ่ งปฏิกล ลดความเน่าเสี ย กลิ่นเหม็น ในระบบบาบัดน้ าเสี ย การ ์ ั ู กาจัดขยะอินทรี ย ์ และถูกดัดแปลงเป็ นผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดในครัวเรื อน ได้แก่ น้ ายาถูบาน น้ ายาขัดส้วม น้ ายาซักผ้า น้ ายาล้างจาน และ ้ น้ ายาล้างผักผลไม้ เป็ นต้น