SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย
จัดทาโดย
นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์
คุณครูพิชญา พลศิริ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
รหัสวิชา ว30281 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย
จัดทาโดย
นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์
คุณครูพิชญา พลศิริ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
รหัสวิชา ว30281 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
ก
เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อเรื่อง : ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ว30281)
ผู้จัดทา : นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์
คุณครูพิชญา พลศิริ
สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจาก คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ และคุณครูพิชญา
พลศิริ คุณครูที่ปรึกษาโครงงานที่ได้สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทา
โครงงานในขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็น
อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา คาแนะนา
และถ่ายทอดวิชาความรู้แก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้โครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้
ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาหรับกาลังใจ
และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด
สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัว ที่ได้ช่วยเหลือ ให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็น
กาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง
นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
ตุลาคม 2561
ค
หัวข้อเรื่อง : ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย
ผู้จัดทา : นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
ที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์
คุณครูพิชญา พลศิริ
บทคัดย่อ
คณะผู้จัดทาได้ทาโครงงานการทดลอง เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย ซึ่งมุ่งเน้น
การทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและชะลอการไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดย
การใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับการให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา
โดยใช้ระบบน้าหยดแบบธรมดาและแบบที่เลียนแบบโครงสร้างต้นกล้วย แล้วทาการวัดระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้
น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดได้หมด
จากสมมติฐานที่ว่า ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา
สามารถสรุปได้ว่า ระบบน้าหยดของกล้วยช่วยประหยัดน้าได้มากกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา จากการ
สังเกตการทดลองระบบน้าหยดแบบธรรมดาใช้เวลาเฉลี่ยอยู่ที่ 117.75 นาที หรือ 1 ชั่วโมง 58 นาที เพื่อให้น้า
ปริมาณ 100 มิลลิลิตร ผ่านได้หมด ส่วนระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วยใช้เวลาเฉลี่ยอยู่ที่
137 นาที หรือ 2 ชั่วโมง 17 นาที โดยเมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้น
กล้วยช่วยประหยัดน้าได้มากกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาประมาณ 20 นาทีหรือประหยัดน้าได้มากกว่าร้อย
ละ 22
ง
สารบัญ
หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
สารบัญ ง
สารบัญภาพ ช
สารบัญตาราง ซ
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ 1
คาถามวิจัย 2
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา 2
2. ขอบเขตด้านระยะเวลา 3
นิยามศัพท์หรือนิยามเชิงปฏิบัติการ 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. วิธีการรดน้าต้นไม้ 4
2. ระบบน้าหยด 6
3. ต้นกล้วย 7
4. ลักษณะทั่วไปของต้นกล้วย 8
5. หยวกกล้วย 8
6. คุณสมบัติของหยวกกล้วย 9
7. อะคริลิค 10
8. กระจกใยแก้ว 11
กรอบแนวคิดโครงงาน 12
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
วัสดุอุปกรณ์ 13
สารวจสภาปัญหา 13
จ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ระบุปัญหา 14
สมมติฐาน 14
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 14
ระยะเวลาที่ทา 14
ขั้นตอนการประดิษฐ์ 15
ขั้นตอนการทดลอง 15
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
วัสดุอุปกรณ์ 15
สารวจสภาปัญหา 16
ระบุปัญหา 16
สมมติฐาน 16
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 16
ระยะเวลาที่ทา 16
วางแผนการทดลอง 17
ขั้นเตรียมการประดิษฐ์ 19
ขั้นตอนการประดิษฐ์ 19
ขั้นตอนการทดลอง 19
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
วัสดุอุปกรณ์ 20
สารวจสภาปัญหา 20
ระบุปัญหา 20
สมมติฐาน 20
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 21
ระยะเวลาที่ทา 21
ขั้นตอนการประดิษฐ์ 21
ขั้นตอนการทดลอง 21
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
วัสดุอุปกรณ์ 21
สารวจสภปัญหา 22
ระบุปัญหา 22
ฉ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
สมมติฐาน 22
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ผลงานสิ่งประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 26
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า 27
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 27
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 28
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน 29
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดาเนินงาน 30
อภิปรายผลการดาเนินงาน 31
ข้อเสนอแนะและแนวคิดต่อยอด 31
บรรณานุกรม 32
ภาคผนวก ก รูปภาพ 33
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 38
ภาคผนวก ค ตารางบันทึกผล 42
ภาคผนวก ง ผลการประเมิน 43
ประวัติผู้จัดทา
ช
สารบัญภาพ
หน้า
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 2.1 การรดน้าต้นไม้ 4
ภาพที่ 2.2 ผักที่ควรปลูกในแต่ละฤดูกาล 5
ภาพที่ 2.3 ระบบน้าหยดในแปลงเกษตร 6
ภาพที่ 2.4 ระบบน้าหยดที่โคนต้น 7
ภาพที่ 2.5 ต้นกล้วย 7
ภาพที่ 2.6 หยวกกล้วย 8
ภาพที่ 2.7 การปลูกพืชในต้นกล้วย 9
ภาพที่ 2.8 แผ่นอะคริลิค 10
ภาพที่ 2.9 ใยแก้ว 11
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน
ภาพที่ 3.1 จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ในการทาระบบน้าหยด 17
เลียนแบบโครงสร้างของกล้วย
ภาพที่ 3.2 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย 17
ภาพที่ 3.3 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย 17
ภาพที่ 3.4 แบบร่างด้านหน้า 18
ภาพที่ 3.5 แบบร่างด้านข้าง 18
ภาพที่ 3.6 แบบร่างด้านบน 18
ภาพที่ 3.7 แบบร่างด้านล่าง 18
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ภาพที่ 4.1 ผลงานการทดลองระบบน้าหยดจากกล้วย 26
ซ
สารบัญตาราง
หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ตารางที่ 4.1 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านหยวกกล้วยได้หมด 27
ตารางที่ 4.2 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านระบบน้าหยด 27
เลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
ตารางที่ 4.3 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา 28
ตารางที่ 4.4 เปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 28
ตารางที่ 4.5 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบน้าหยดของกล้วย 29
บทที่ 5
ตารางที่ 5.1 สรุปผลการเปรียบเทียบระยะเวลาที่น้าใช้เพื่อผ่านระบบน้าหยด 30
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้ง
ทางด้านการขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจาก
ธรรมชาติ ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่
สาคัญในตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึง
ทาให้น้ามีน้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.)
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ
คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้
และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ
ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่
บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ
จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา
ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ
ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น
เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก
กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงเลือกที่จะทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและชะลอการ
ไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดยการใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับการให้น้า
ผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา ดังนั้นโครงงานการทดลอง เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย
จึงมุ่งศึกษาเรื่อง แนวทางการประหยัดน้าด้วยการใช้ระบบน้าหยดจากที่มีการนาโครงสร้างของต้นกล้วยมาใช้
เพื่อชะลอการไหลของน้า โดยสร้างระบบน้าหยดที่มีการเลียนแบบโครงสร้างของต้นกล้วยเข้าไปในระบบเดิมที่
มีอยู่แล้ว
2
คาถามการวิจัย
ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้าสามารถประหยัดและชะลอการไหลของนา
ได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาหรือไม่
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
2. เพื่อประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
3. เพื่อทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
4. เพื่อนาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
สมมติฐาน น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้
ตัวแปรต้น หยวกกล้วย
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดผ่านต้นกล้วย
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ประเภทของต้นกล้วย,
ขนาดของหยวกกล้วย
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
สมมติฐาน ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง,
ขนาดรูที่เจาะบนสายยาง, ขนาดแก้ว, ขนาดของหยวกกล้วย
3
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย, ระบบน้าหยดแบบธรรมดา
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง,
ขนาดรูที่เจาะบนสายยาง, ขนาดแก้ว, ขนาดของหยวกกล้วย
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดี
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย
ตัวแปรตาม ระดับความพึงพอใจในผลงานสิ่งประดิษฐ์
ตัวแปรควบคุม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประดิษฐ์ระบบน้าหยดของกล้วย
2. ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระยะเวลาที่ในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2561
นิยามศัพท์หรือนิยามเชิงปฏิบัติการ
1. ระบบน้าหยด หมายถึง เทคโนโลยีการชลประทานในการให้น้าแก่พืช โดยส่งน้าผ่านท่อและปล่อย
น้าออกทางหัวน้าหยด ซึ่งติดตั้งบริเวณโคนต้นพืช
2. หยวกกล้วย หมายถึง ส่วนที่เป็นลาต้นของต้นกล้วย มีสีขาว มีเส้นใยอยู่จานวนมาก ลักษณะ
โครงสร้างเป็นแบบกล่องย่อย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
2. ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
3. ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
4. นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดทาโครงงาน เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษา
ค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน ดังนี้
แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. วิธีการรดน้าต้นไม้
2. ระบบน้าหยด
3. ต้นกล้วย
4. หยวกกล้วย
5. คุณสมบัติของหยวกกล้วย
6. แผ่นอะคริลิค
7. กระจกใยแก้ว
กรอบแนวคิดงานวิจัย
แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. วิธีการรดน้าต้นไม้
ภาพที่ 2.1 การรดน้าต้นไม้
(ที่มา : http://guide.dohome.co.th/how-to-care-for-the-garden-in-hot-weather/ourhouse-biz/)
โดยปกติแล้วควรรดน้าต้นไม้วันละ 2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็นที่อากาศไม่ร้อนเกินไป ตอนเช้าควรรด
ขณะที่ยังมีแดดอ่อนๆ ประมาณ 6.00 น. – 8.00 น. ส่วนตอนเย็นควรรดน้าก่อนพระอาทิตย์ตกประมาณ
16.00 น. – 18.00 น. เพื่อให้น้าในดินระเหยออกไปบ้างบางส่วน ไม่เก็บความชื้นไว้มากเกินไป เพราะถ้าเลย
ช่วงเวลานี้ ไปแล้วความชื้นที่สะสมมากอาจจะทาให้ต้นไม้เน่าได้ แต่ก็มีข้อควรระวังคือ ไม่ควรรดน้าใน
ตอนกลางวันที่แดดจัด
5
การให้น้าต้นไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้หากขาดน้า ดังนั้นจึงควรรดน้าอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ในช่วง
เช้า ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความต้องการน้าของต้นไม้แต่ละประเภท บางชนิดชอบน้ามากและบางชนิดชอบน้าน้อยไป
จนถึงน้อยมาก ดังนั้นก่อนลงมือปลูกควรศึกษาข้อมูลพื้นฐานของต้นไม้ชนิดนั้นให้ดีเสียก่อน เพื่อให้พรรณไม้
ของเราคงความสวยงามอยู่เสมอ
การรดน้าตามฤดูกาลการรดน้าตามฤดูกาล
ภาพที่ 2.2 ผักที่ควรปลูกในแต่ละฤดูกาล
(ที่มา : http://numchok-farm.lnwshop.com/)
ช่วงหน้าร้อนอุณหภูมิของน้าที่ค้างอยู่ในท่อหรือแท็งก์น้าจะค่อนข้างสูง เมื่อเปิดก๊อกรดน้าลงไปก็ไม่
ต่างอะไรกับการเอาน้าร้อนมารดต้นไม้ จึงควรนาน้าไปพักในถังให้เย็นตัวลงก่อนแล้วรดที่บริเวณโคนต้น เพื่อ
ไม่ให้เกิดหยดน้าตกค้างบนใบซึ่งอาจทาให้เกิดปัญหาใบไหม้ตามมาได้ โดยรดให้ชุ่มตั้งแต่เรือนยอดต้นไม้ลงมา
ชะล้างสิ่งสกปรกตกค้างบนใบ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับน้า และลดการคายน้า แถมยังช่วยให้การ
สังเคราะห์แสงดีขึ้นด้วย
ในช่วงฤดูฝนให้รดน้าตามความเหมาะสม ฝนตกก็ใช่ว่าจะไม่ต้องรดน้าต้นไม้ เพราะปริมาณน้าฝนอาจ
ไม่เพียงพอที่จะซึมลงถึงราก จึงจาเป็นต้องให้น้าเพิ่มเติม
ขณะเดียวกันในช่วงฤดูหนาว อากาศแห้งเราก็จาเป็นต้องรดน้าให้ถี่ขึ้น หรือให้น้าแบบสปริงเกลอร์
โดยเว้นช่วงให้ผิวดินแห้งบ้าง เพื่อให้รากพืชได้หายใจ หากดินยังชื้นอยู่ก็ไม่จาเป็นต้องรดน้าซ้า แม้ว่าช่วงฤดู
หนาวสั้นๆ ของบ้านเราอากาศจะแห้ง แต่น้าในดินก็ไม่ระเหยเร็วเท่าฤดูร้อน ดังนั้นต้องคอยสังเกตให้ดี เพราะ
ถ้าให้น้ามากเกินความจาเป็นอาจเกิดโรคพืชตามมาได้ นอกจากนี้ยังมีวิธีรักษาความชื้นในดินด้วยการใช้วัสดุ
เช่น ฟางข้าว ขุยมะพร้าวสับ ใบไผ่ ใบไม้สดหรือแห้ง คลุมแปลงปลูก (บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
จากัด (มหาชน), 2561)
6
2. ระบบน้าหยด
ภาพที่ 2.3 ระบบน้าหยดในแปลงเกษตร
(ที่มา : https://roongee.com/2879)
ระบบน้าหยด เป็นระบบที่ผมมักจะใช้เป็นตัวเลือกเเรกๆ ในการวางระบบรดต้นไม้ริมรั้วที่เป็นเเนว
เช่น โมก ไทร สน คริสติน่า หรือ การให้น้าในกระถาง ฯลฯ
จุดเด่นของระบบน้าหยด
1. ให้น้าได้ตรงจุด ไม่เลอะเทอะ ฟุ้งเหมือนหัวพ่น
2. ไม่ต้องการเเรงดันน้ามาก
3. ค่อยๆปล่อยน้า ทาให้ดินรับน้าได้ทัน น้าไม่ไหลไปจุดอื่น
4. ความคุมปริมาณการจ่ายน้าได้ดี ทาให้ประหยัดน้า
ภาพที่ 2.4 ระบบน้าหยดที่โคนต้น
(ที่มา : https://www.organicfarmthailand.com/how-to-make-a-drip-system/)
โดยระบบน้าหยดจะเหมาะสาหรับการรดน้าบริเวณโค่นต้นไม้กระถาง พื้นที่ต่างระดับ (มีเวลาให้น้าซึม
ลงดินช้าๆ ทาให้น้าไม่ไหลไปพื้นที่ต่ากว่า) ระบบน้าหยดไม่ต้องการเเรงดันน้าในการทางานมาก ทาให้ติดตั้งได้
หลายจุด (เเต่ก็ขึ้นอยู่กับปริมาณ เเละ เเรงดันน้า) (………)
7
3. ต้นกล้วย
ภาพที่ 2.5 ต้นกล้วย
(ที่มา : https://deavita.fr/design-exterieur/jardin-deco/plante-exotique-bananiers/)
กล้วย เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่ในแถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้พื้นเมือง
ทั้งที่มีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลของการย้ายถิ่นฐานในการทามาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชีย
ตอนใต้ไปยังหมู่เกาะแปซิฟิก ตั้งแต่ต้นศริสต์ศักราชเป็นต้นมา ในการอพยพแต่ละครั้งจะต้องมีการนาเอา
เสบียงอาหารติดตัวไปด้วย จึงได้มีการนากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก
สาหรับประวัติกล้วยในประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเป็นแหล่งกาเนิดของกล้วยป่าและต่อมาได้มี
การนากล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่นในช่วงที่มีการอพยพของคนไทยในการตั้งถิ่นฐานของจังหวัดสุโขทัย มี
เอกสารกล่าวว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วยร้อยหวี
4. ลักษณะทั่วไปของต้นกล้วย
กล้วย เป็นไม้ผล ลาต้น เกิดจากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ 2-5 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวเกิดกระจาย
ส่วนปลายของลาต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่นใบกว้างเส้นของใบขนานกันปลายใบมน
มีติ่ง ผิวใบเรียบลื่น ใบสีเขียงด้านล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุมเส้นและขอบใบเรียบขนาดและความยาวของใบ
ขึ้นอยู่กับแต่ละพันธ์ ดอกเป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซึ่งเรียกหัวปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสี
แดงเป็นรูปวงรี ยาว 25- 30 ซม. ช่อดอกที่มีการเจริญก็จะกลายเป็นผล ผลเป็นผลสดจะประกอบไปด้วยหวี
กล้วย เครือละ 7- 8 หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ 10 กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยมีลักษณะแตกต่างกัน
ออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิดมีผล เหลือง, เขียว,แดง แต่ละต้นให้ผลครั้งเดี่ยวเท่านั้น เมล็ด มี
ลักษณะกลมขรุขระเปลือกหุ้มเมล็ดมีสีดาหนาเหนียวเนื้อเมล็ดสีขาว ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อหรือแยกเหง้า
รสชาติฝาด (…., 2558)
8
5. หยวกกล้วย
ภาพที่ 2.6 หยวกกล้วย
(ที่มา : http://kaset-lifestyle.com/10518)
หยวกกล้วย คือส่วนที่อยู่ภายในต้นกล้วย หรือจะเรียกว่าเป็นแกนของต้นกล้วย หยวกกล้วยจะมีสีขาว
ขุ่น อย่างที่หลายๆคนได้ยินคาที่ว่าขาวเหมือนหยวกกล้วย
โดยหยวกกล้วยก็มีประโยชน์ในเรื่องของการที่คนส่วนใหญ่นาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร โดย
ต้องตัดส่วนของต้นกล้วย แล้วลอกเอากาบรอบนอกออก ให้เหลือเฉพาะกาบอ่อนด้านในหยวกกล้วยส่วนใหญ่ที่
คนนิยมนามาใช้รับประทานหรือปรุงอาหารนั้นจะเป็นหยวกกล้วยป่า หยวกกล้วยตานี หยวกกล้วยน้าว้า และ
ควรเป็นหยวกกล้วยที่ยังไม่ออกปลี ในการนามาใช้ทาอาหารก็เพียงแค่หั่นให้ได้ขนาดที่พอเหมาะ
หยวกกล้วย เป็นส่วนของกล้วยที่มีใยอาหารช่วยดูดซับสิ่งสกปรกและสารพิษตามลาไส้ กระเพาะ
อาหาร แล้วขับออกมา โดยการถ่ายท้อง อีกทั้งมีธาตุเหล็กช่วยในการกระตุ้นผลิตฮีโมโกลบิลในเลือด ช่วยใน
กรณีที่มีสภาวะขาดกาลังหรือโลหิตจาง ช่วยบรรเทาอาการเสียดท้อง ป้องกันโรคลาไส้เป็นแผลได้ด้วย (………)
9
6. คุณสมบัติของหยวกกล้วย
ภาพที่ 2.7 การปลูกพืชในต้นกล้วย
(ที่มา : https://www.iurban.in.th/greenery/grow-vegetale-banana-trunk/)
กล้วยมีบทบาทสาคัญในการ รักษาความชุ่มชื้นใน ป่า ความชุ่มชื้นในป่าเป็นเรื่องสาคัญมากเพราะถ้าไม่มี
ความชื้นการย่อยสลายจะไม่ เกิด ถ้าการย่อยสลายไม่เกิด ชีวิตก็ไม่เกิด การย่อยสลายเป็นเรื่องที่สลับซับซ้อน
มาก ใบไม้ที่ร่วงลงมาเหมือนห่มดินเลยนะ ช่วยรักษาความชื้น อุณหภูมิ ปลวก มดจะช่วยย่อยสลายใบไม้ในขั้น
แรก แล้วก็จะมีรา จุลินทรีย์มาย่อยสลายอีกที ให้กลายเป็นปุ๋ยของต้นไม้ พอเมล็ดพันธุ์ใหม่ๆ มาเจอปุ๋ย เจอ
ความชื้น มันถึงเจริญงอกงาม ในดงกล้วยมีความชื้น เมื่อเกิดไฟป่า ไฟก็แค่ลวกต้นกล้วย พอถึงฤดูฝนกล้วยก็
เจริญเติบโตขึ้นมาใหม่ หรือถ้าตรงไหนมีดงกล้วยหนาทึบ ไฟป่าจะมาหยุดตรงขอบดงกล้วย เป็นแนวกันไฟแบบ
ธรรมชาติ
กล้วยเป็นตัวกัก เก็บน้าด้วย ในฤดูฝนพอฝนตกลงมา กล้วยจะเก็บน้าไว้ พอเก็บเต็มที่ไม่ไหวแล้วก็จะสร้าง
ลูกหลานขึ้นมาอย่างรวดเร็ว มีหน่อกล้วยออกมามากมายในฤดูฝน พอถึงฤดูแล้งก็คายน้าออกมาทางใบ ทางลา
ต้น เป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่ละเอียดอ่อนมาก (……….)
7. แผ่นอะคริลิค
ภาพที่ 2.8 แผ่นอะคริลิค
(ที่มา : http://xn--42ca5dl1bm7cya2bb8kqd.blogspot.com/2018/03/acrylic.html)
10
อะคริลิค เป็นพลาสติกที่มีความทนทาน และได้รับความนิยมในการนามาใช้งานอย่างแพร่หลาย ซึ่ง
อะคริลิคก็มักจะมีหลายชื่อด้วยกัน โดยชื่อเรียกที่ได้ยินบ่อยที่สุด ก็คือ อะคริลิคพลาสติก กระจกอะคริลิคหรือ
แผ่นอะคริลิค เป็นต้น สาหรับคุณสมบัติของอะคริลิค ก็คือ เป็นวัสดุที่มีความทนทานแข็งแรง สามารถทนต่อ
แรงกระแทกได้ดีกว่ากระจก ทั้งมีความหนาตั้งแต่ 2 มิลลิเมตร-100 มิลลิเมตร ขึ้นไป จึงสามารถนามาใช้งานได้
อย่างหลากหลาย ตัวอย่างชิ้นงานจากอะคริลิค เช่น กรอบรูป ป้ายโฆษณาและชั้นวางโชว์ เป็นต้น
สมบัติทั่วไปของแผ่นอะคริลิก
1. มีความโปร่งใสคล้ายกระจก
2. ทนทานต่อแรงกระแทก แรงกด และสภาพแวดล้อมดินฟ้าอากาศ
3. ทนทานต่อสารเคมีหลายชนิด ยกเว้นสารตัวทาละลาย และกรด รวมถึงด่างแก่ทุกชนิด
4. สามารถเติมแต่งด้วยสี ให้มีสีสันได้ตามความต้องการ
5. มีจุดอ่อนตัวต่า ทนต่อความร้อน และมีความเหนียว
6. มีสภาพคงรูปที่ดี และทนต่อการขีดข่วน
7. เป็นฉนวนไฟฟ้า และฉนวนป้องกันความร้อนที่ดี
8. ไม่ดูดความชื้น
การประยุกต์ใช้งาน
1. ประยุกต์ใช้ในงานก่อสร้าง เช่น ตู้โชว์ ประตูหน้าต่างกันเสียง หลังคาอะคริลิค ตู้โทรศัพท์เป็นต้น
2. ประยุกต์ใช้ในงานโฆษณา เช่นป้ายกล่องไฟ ป้ายหน้าร้าน ป้ายสัญลักษณ์ ป้ายโชว์ เป็นต้น
3. ประยุกต์ใช้กับงานคมนาคมขนส่ง เช่น ประตูหน้าต่างรถไฟหรือรถยนต์เป็นต้น
4. ประยุกต์ใช้ในวงการแพทย์ เช่น ตู้อบทารก อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ
5. ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่นอุปกรณ์ในห้องน้า งานศิลปหัตถกรรม เครื่องสาอางค์ หลอดเลือด
เทียม ตู้ปลา เป็นต้น
6. ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม เช่นแผงหน้าจอและฝาครอบเครื่องมือวัด
7. การประยุกต์ใช้ในอุปกรณ์ให้แสงไฟ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ โคมไฟระย้า ฝาครอบโคมไฟถนน
เป็นต้น
11
8. กระจกใยแก้ว
ภาพที่ 2.9 ใยแก้ว
(ที่มา : https://www.alibaba.com/product-detail/Fiberglass-chopped-strand-e-glass-for_60341784767.html)
ใยแก้ว (Fiberglass) เป็นวัสดุที่ทามาจากใยแก้ว ที่มีเส้นใยเล็กมาก เกิดจากการหลอมละลาย และ
แข็งตัวของซิลิก้า ซึ่งเป็นวัตถุดิบจากแก้วที่ผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูง 1000 องศาขึ้นไป ตั้งแต่ 50-900นาที
เส้นใยแก้วใช้ในงานเสริมรงโพลิเมอร์ได้หลากหลายชนิด เราเรียกการเสริมแรงนี้ว่า “เอส อาร์พี FRP”
(Fiber-reinforced Plastic ) และ “จี อาร์ พี GRP” (Glass-reinforced Plastic ) หรือ ที่คนไทยคุ้นชินคือ
คาว่า “งานไฟเบอร์กล๊าส” เมื่อเราใช้ผสานกับเรซิ่น เราเรียกการรวมตัวของวัตถุดิบ 2 ชนิดนี้ว่า “การ
คอมโพสิท”
ใยแก้วมีราคาไม่สูงนัก สามารถนามาใช้ได้กับหลายๆผลิตภัณฑ์
คุณสมบัติของใยแก้ว
ไม่ติดไฟและเป็นฉนวนไฟฟ้าชั้นยอด ทนความร้อนได้ดีมาก คงรูปเดิมได้ดี ไม่มีการยืดหยุ่น ไม่เน่าเปื่อย
ไม่ผุกร่อน ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อน ไม่เกิดการแข็งตัวจากอากาศหนาวจัด มีความแข็งแรงกว่าเหล็กใน
ด้านความทนทานต่อแรงดึง ใช้ผสานกับเรซิ่น
12
กรอบแนวคิดงานวิจัย
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
ตัวแปรต้น หยวกกล้วย
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดผ่านต้นกล้วย
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าต้งต้น, ประเภทของต้นกล้วย, ขนาดของหยวกกล้วย
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสาย
ยาง, ขนาดแก้ว/กระถาง, ขนาดของหยวกกล้วย
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย, ระบบน้าหยดแบบธรรมดา
ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสาย
ยาง, ขนาดแก้ว/กระถาง, ขนาดของหยวกกล้วย
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย
ตัวแปรตาม ระดบความพึงพอใจในผลงานสิ่งประดิษฐ์
ตัวแปรควบคุม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประดิษฐ์ระบบน้าหยด
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย เป็นการทาโครงงาน
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้โดยใช้ระบบน้าหยดที่เลียนแบบการลาเลียงน้าของต้น
กล้วย กับระบบน้าหยดแบบธรรมดา ด้วยการทดลองเปรียบเทียบปริมาณน้าที่หยดออกมาในระยะเวลาที่
เท่ากัน
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า
วัสดุอุปกรณ์
1. แก้วน้าพลาสติกใส ขนาด 20 ออนซ์ จานวน 3 ใบ
2. สายยางใส ขนาดเล็ก ยาว 60 เซนติเมตร จานวน 1 เส้น
3. กระปุกพลาสติก ขนาด 700 มิลลิลิตร จานวน 1กระปุก
4. เครื่องมือเจาะรู
5. ปืนกาว
6. มีดและเครื่องมือคว้าน
7. เครื่องมือวัด
8. น้าเปล่า
9. เครื่องมือจับเวลา
สารวจสภาพปัญหา
ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งทางด้าน
การขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากธรรมชาติ
ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่สาคัญใน
ตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับผลกระทบ
จากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึงทาให้น้ามี
น้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.)
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะ
ผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และ
ช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการไหล
หนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
14
ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่
บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ
จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา
ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ
ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น
เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก
กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี
ระบุปัญหา
น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้หรือไม่
สมมติฐาน
น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง
1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18
บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120
ระยะเวลาที่ทา
ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2561
ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561
ช่วงทาการทดลอง ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2561
15
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1. ตัดหยวกกล้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากระปุก (10 เซนติเมตร) หนา 2 เซนติเมตร
2. คว้านกลางหยวกกล้วยให้เป็นรูเว้าลงไปแต่ไม่ทะลุ แล้วใส่หยวกกล้วยในกระปุก
3. เจาะรูที่ก้นกระปุกพลาสติก 1 รู และเจาะรูที่ปากแก้ว แก้วละ 2 รู (ตรงช้ามกัน)
4. ใส่สายยางที่รูบนกระปุกและต่อไปที่แก้วพลาสติก
5. ใช้ปืนกาวปิดร่องรอบสายยางที่เสียบอยู่บนกระปุกพลาสติก และปิดที่ปลายสายยาง
6. ใช้เข็มเจาะรูที่สายยางเหนือแก้วพลาสติก แก้วละ 1 รู
ขั้นตอนการทดลอง
บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านหยวกกล้วยได้หมด
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
วัสดุอุปกรณ์
1. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 10*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
2. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
3. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*9.4 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
4. แผ่นอะคริลิค หนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 3*15 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
5. แผ่นอะคริลิค หนา 1 มิลลิเมตร ขนาด 3*3 เซนติเมตร จานวน 26 แผ่น
6. น้ายาเชื่อมอะคริลิค (Dichloromethane)
7. เข็มฉีดยา และพู่กัน
8. ใยแก้วกรองน้า
9. วาล์วปรับลม จานวน 1 อัน
10. สว่านเจาะรู ขนาด 3/64
11. หัวเจียร ลูกหมู
12. คัตเตอร์ และแผ่นรองตัด
13. คีบหนีบ
14. ปืนกาว และแท่งกาว
สารวจสภาพปัญหา
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ
คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้
16
และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ
ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่
บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ
จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา
ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ
ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น
เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก
กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี
ระบุปัญหา
ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้ดีหรือไม่
สมมติฐาน
ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง
1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18
บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120
ระยะเวลาที่ทา
ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ช่วงทาการทดลอง วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
17
วางแผนการประดิษฐ์
ภาพที่ 3.1 จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ในการทาระบบน้าหยดเลียนแบบโครงสร้างของกล้วย
จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ทาสิ่งประดิษฐ์
ภาพที่ 3.2 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย ภาพที่ 3.3 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย
แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย
18
วางแผนการประดิษฐ์
ภาพที่ 3.4 แบบร่างด้านหน้า ภาพที่ 3.5 แบบร่างด้านข้าง
ด้านหน้า ด้านข้าง
ภาพที่ 3.6 แบบร่างด้านบน ภาพที่ 3.7 แบบร่างด้านล่าง
ด้านบน ด้านล่าง
19
ขั้นเตรียมการประดิษฐ์
1. ตัดแผ่นอะคริลิคขนาดดังต่อไปนี้
1.1. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 10*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
1.2. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
1.3. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*9.4 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
1.4. แผ่นอะคริลิค หนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 3*15 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
1.5. แผ่นอะคริลิค หนา 1 มิลลิเมตร ขนาด 3*3 เซนติเมตร จานวน 26 แผ่น
2. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตร 1 รูตรงกลางสาหรับใส่วาวล์ 1 แผ่น
3. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตร 3 รูขนาดเล็ก 1 แผ่น
4. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*3 เซนติเมตร แผ่นละ 1 รูเล็ก จานวน 26 แผ่น
5. เจียรแผ่นอะคริลิคแต่ละแผ่นให้เรียบ
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1. ตัดแผ่นอะคริลิค หนา 3 และ 2 มิลลิเมตรด้วยเลื่อยวงเดือน และตัดแผ่นอะคริลิคหนา 1 มิลลิเมตร
ด้วยคัตเตอร์ ตามขนาดที่กาหนดไว้
2. ติดแผ่นอะคริลิคขนาด 3*3 เซนติเมตร กับแผ่นอะคริลิคขนาด 3*15 เซนติเมตร แบบสับหว่าง เว้น
ระยะห่างระหว่างช่องเล็ก 1 เซนติเมตร และช่องใหญ่ 2 เซนติเมตรด้วยน้ายาเชื่อม
3. ประกอบแผ่นอะคริลิคขนาด 10*24.5 เซนติเมตร กับขนาด 3*24.5 เซนติเมตรเป็นกล่อง
4. ประกอบข้อที่ 3 กับข้อที่ 4 เข้าด้วยกัน และใช้ปืนกาวปิดระหว่างร่องรอยต่อ
5. ใส่ใยแก้วกรองน้าลงไประหว่างช่องแผ่นอะคริลิคที่สับหว่าง
6. ใช้แผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตรปิดท้ายกล่องด้วยน้ายาเชื่อมอะคริลิค และปิดรอยต่อด้าน
นอกด้วยปืนกาว
7. ติดวาล์วปรับลมที่ท้ายกล่องสาหรับไว้ปล่อยน้า
8. ใช้ปืนกาวและน้ายาเชื่อมอะคริลิคปิดรอยต่อรอบกล่องซ้าอีกครั้งเพื่อกันน้าซึม
ขั้นตอนการทดลอง
บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของ
ต้นกล้วยได้หมด
20
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
วัสดุอุปกรณ์
1. ระบบน้าหยดของกล้วย
2. ระบบน้าหยดแบบธรรมดา
3. น้าเปล่า
4. เครื่องมือจับเวลา
5. แก้วน้าพลาสติก
สารวจสภาพปัญหา
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ
คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้
และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ
ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่
บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ
จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา
ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ
ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น
เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก
กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี
ระบุปัญหา
ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาหรือไม่
สมมติฐาน
ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา
21
สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง
1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18
บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120
ระยะเวลาที่ทา
ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ช่วงทาการทดลอง วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ขั้นตอนการประดิษฐ์ (ระบบน้าหยดแบบธรรมดา)
1. เจาะรูที่ก้นกระปุกพลาสติก 1 รู และเจาะรูที่ปากแก้ว แก้วละ 2 รู (ตรงช้ามกัน)
2. ใส่สายยางที่รูบนกระปุกและต่อไปที่แก้วพลาสติก
3. ใช้ปืนกาวปิดร่องรอบสายยางที่เสียบอยู่บนกระปุกพลาสติก
4. ใช้เข็มเจาะรูที่สายยางเหนือแก้วพลาสติก แก้วละ 1 รู
5. ใช้ดินน้ามันปิดรู้ที่ปลายสายยาง
ขั้นตอนการทดลอง
1. บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียง
น้าของต้นกล้วยได้หมด
2. บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา
3. เปรียบเทียบระยะเวลาที่ต้องใช้ในระบบน้าหยดทั้ง 2 แบบ
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
วัสดุอุปกรณ์
1. ระบบน้าหยดเลียนแบบโครงสร้างของต้นกล้วย
2. แบบสอบถามความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
สารวจสภาพปัญหา
ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งทางด้าน
การขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากธรรมชาติ
ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่สาคัญใน
22
ตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับผลกระทบ
จากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึงทาให้น้ามี
น้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.)
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะ
ผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และ
ช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการไหล
หนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่
บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ
จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา
ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ
ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น
เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก
กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี
ระบุปัญหา
ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดีหรือไม่
สมมติฐาน
ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดี
23
เลขที่แบบสอบถาม __ __ __
แบบสอบถาม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
คาชี้แจง
แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “ระบบน้าหยดเลียนแบบการ
ลาเลียงน้าของต้นกล้วย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและ
ชะลอการไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดยการใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับ
การให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา
โดยแบบสอบชุดนี้ประกอบด้วยรายละเอียด 4 ส่วน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และการได้รับข้อมูลข่าวสาร
ส่วนที่ 2 การทาระบบน้าหยดด้วยตนเอง
ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ
ขอแสดงความนับถือ
นายภูมินทร์ จันทานวน
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
24
เลขที่แบบสอบถาม __ __ __
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ตรงกับความเป็นจริง หรือความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และการได้รับข้อมูลข่าวสาร
1. เพศ
( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ....................ปี
3. อาชีพ
( ) นักเรียน นักศึกษา ( ) อาชีพอิสระ ( ) ราชการ
( ) พนักงานบริษัท ( ) รัฐวิสาหกิจ ( ) รับจ้างทั่วไป
( ) ธุรกิจส่วนตัว ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ ................................
4. การได้รับข้อมูลข่าวสาร
4.1. ท่านเคยได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องระบบน้าหยดจากสื่อต่าง ๆ หรื่อไม่
( ) ไม่เคย
( ) เคย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
( ) โทรทัศน์/วิทยุ ( ) อินเตอร์เน็ต
( ) หนังสือพิมพ์/หนังสือ/วารสาร/นิตยสาร ( ) การสนทนากับบุคคลอื่น
( ) แผ่นพับ/ใบปลิว/ป้ายโฆษณา ( ) หน่วยงานราชการ/เอกชน
( ) นิทรรศการต่าง ๆ ( ) อื่น ๆ (ระบุ) ....................
ส่วนที่ 2 การทาระบบน้าหยดด้วยตนเอง
ท่านเคยทาระบบน้าหยดด้วยตนเองหรือไม่
( ) ไม่เคย
( ) เคย หากเคยทา ท่านมีจุดประสงค์ในการทาเพื่ออะไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
( ) นาไปจาหน่าย
( ) นาไปใช้ในครัวเรือน
( ) นาไปใช้ในแปลงเกษตร/ไร่/สวน
( ) อื่นๆ (ระบุ) ……………………………………………
25
เลขที่แบบสอบถาม __ __ __
ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
โดยมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้
(5) = มากที่สุด (4) = มาก (3) = ปานกลาง
(2) = น้อย (1) = น้อยที่สุด
ลาดับ รายละเอียดความพึงพอใจต่อระบบน้าหยดจากโครงสร้างต้นกล้วย
ระดับความพอใจ
5 4 3 2 1
1 สามารถใช้งานได้จริงและเกิดประโยชน์ทางการเกษตร
2 เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสมกับชิ้นงาน
3 ชิ้นงานสามารถใช้งานง่าย และมีความปลอดภัย
4 ลักษณะการใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์
5 สามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา
ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ
ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย เป็นการทาโครงงาน
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้โดยใช้ระบบน้าหยดที่ผ่านหยวกกล้วยกับระบบน้าหยด
แบบธรรมดา ด้วยการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าในปริมาณหนึ่งผ่าน
การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล และผลการดาเนินงานของการทาโครงงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทา
จะนาเสนอข้อมูลแบ่งเป็น 4 ส่วน ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยว้า
ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น
ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
ผลงานสิ่งประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า
ภาพที่ 4.1 ผลงานระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย

More Related Content

What's hot

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 

What's hot (20)

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์supansa phuprasong
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานMind Kyn
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14minimalistknont
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14Nontt' Panich
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14mina612
 
โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว
 โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว
โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัวbipooh pooh
 
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341PontakornPrasertsuk
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย (20)

Gst uprojectlearningunit
Gst uprojectlearningunitGst uprojectlearningunit
Gst uprojectlearningunit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
 
652 pre5
652 pre5652 pre5
652 pre5
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว
 โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว
โจทย์ปัญหาการหารแบบลงตัว
 
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล (8)

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย จัดทาโดย นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ คุณครูพิชญา พลศิริ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว30281 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย จัดทาโดย นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ คุณครูพิชญา พลศิริ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว30281 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
  • 3. ก เกี่ยวกับโครงงาน ชื่อเรื่อง : ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ระเบียบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ว30281) ผู้จัดทา : นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ คุณครูพิชญา พลศิริ สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจาก คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ และคุณครูพิชญา พลศิริ คุณครูที่ปรึกษาโครงงานที่ได้สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทา โครงงานในขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็น อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา คาแนะนา และถ่ายทอดวิชาความรู้แก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้โครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้ ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาหรับกาลังใจ และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัว ที่ได้ช่วยเหลือ ให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็น กาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ตุลาคม 2561
  • 5. ค หัวข้อเรื่อง : ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย ผู้จัดทา : นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูมนต์รวี บรรจงจิตต์ คุณครูพิชญา พลศิริ บทคัดย่อ คณะผู้จัดทาได้ทาโครงงานการทดลอง เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย ซึ่งมุ่งเน้น การทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและชะลอการไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดย การใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับการให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา โดยใช้ระบบน้าหยดแบบธรมดาและแบบที่เลียนแบบโครงสร้างต้นกล้วย แล้วทาการวัดระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้ น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดได้หมด จากสมมติฐานที่ว่า ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา สามารถสรุปได้ว่า ระบบน้าหยดของกล้วยช่วยประหยัดน้าได้มากกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา จากการ สังเกตการทดลองระบบน้าหยดแบบธรรมดาใช้เวลาเฉลี่ยอยู่ที่ 117.75 นาที หรือ 1 ชั่วโมง 58 นาที เพื่อให้น้า ปริมาณ 100 มิลลิลิตร ผ่านได้หมด ส่วนระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วยใช้เวลาเฉลี่ยอยู่ที่ 137 นาที หรือ 2 ชั่วโมง 17 นาที โดยเมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้น กล้วยช่วยประหยัดน้าได้มากกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาประมาณ 20 นาทีหรือประหยัดน้าได้มากกว่าร้อย ละ 22
  • 6. ง สารบัญ หน้า เกี่ยวกับโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบัญ ง สารบัญภาพ ช สารบัญตาราง ซ บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ 1 คาถามวิจัย 2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา 2 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา 3 นิยามศัพท์หรือนิยามเชิงปฏิบัติการ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. วิธีการรดน้าต้นไม้ 4 2. ระบบน้าหยด 6 3. ต้นกล้วย 7 4. ลักษณะทั่วไปของต้นกล้วย 8 5. หยวกกล้วย 8 6. คุณสมบัติของหยวกกล้วย 9 7. อะคริลิค 10 8. กระจกใยแก้ว 11 กรอบแนวคิดโครงงาน 12 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า วัสดุอุปกรณ์ 13 สารวจสภาปัญหา 13
  • 7. จ สารบัญ (ต่อ) หน้า ระบุปัญหา 14 สมมติฐาน 14 สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 14 ระยะเวลาที่ทา 14 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 15 ขั้นตอนการทดลอง 15 ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า วัสดุอุปกรณ์ 15 สารวจสภาปัญหา 16 ระบุปัญหา 16 สมมติฐาน 16 สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 16 ระยะเวลาที่ทา 16 วางแผนการทดลอง 17 ขั้นเตรียมการประดิษฐ์ 19 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 19 ขั้นตอนการทดลอง 19 ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น วัสดุอุปกรณ์ 20 สารวจสภาปัญหา 20 ระบุปัญหา 20 สมมติฐาน 20 สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 21 ระยะเวลาที่ทา 21 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 21 ขั้นตอนการทดลอง 21 ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน วัสดุอุปกรณ์ 21 สารวจสภปัญหา 22 ระบุปัญหา 22
  • 8. ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า สมมติฐาน 22 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลงานสิ่งประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 26 ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า 27 ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 27 ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 28 ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน 29 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการดาเนินงาน 30 อภิปรายผลการดาเนินงาน 31 ข้อเสนอแนะและแนวคิดต่อยอด 31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก ก รูปภาพ 33 ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 38 ภาคผนวก ค ตารางบันทึกผล 42 ภาคผนวก ง ผลการประเมิน 43 ประวัติผู้จัดทา
  • 9. ช สารบัญภาพ หน้า บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 2.1 การรดน้าต้นไม้ 4 ภาพที่ 2.2 ผักที่ควรปลูกในแต่ละฤดูกาล 5 ภาพที่ 2.3 ระบบน้าหยดในแปลงเกษตร 6 ภาพที่ 2.4 ระบบน้าหยดที่โคนต้น 7 ภาพที่ 2.5 ต้นกล้วย 7 ภาพที่ 2.6 หยวกกล้วย 8 ภาพที่ 2.7 การปลูกพืชในต้นกล้วย 9 ภาพที่ 2.8 แผ่นอะคริลิค 10 ภาพที่ 2.9 ใยแก้ว 11 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน ภาพที่ 3.1 จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ในการทาระบบน้าหยด 17 เลียนแบบโครงสร้างของกล้วย ภาพที่ 3.2 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย 17 ภาพที่ 3.3 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย 17 ภาพที่ 3.4 แบบร่างด้านหน้า 18 ภาพที่ 3.5 แบบร่างด้านข้าง 18 ภาพที่ 3.6 แบบร่างด้านบน 18 ภาพที่ 3.7 แบบร่างด้านล่าง 18 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ภาพที่ 4.1 ผลงานการทดลองระบบน้าหยดจากกล้วย 26
  • 10. ซ สารบัญตาราง หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ตารางที่ 4.1 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านหยวกกล้วยได้หมด 27 ตารางที่ 4.2 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านระบบน้าหยด 27 เลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย ตารางที่ 4.3 บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา 28 ตารางที่ 4.4 เปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 28 ตารางที่ 4.5 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบน้าหยดของกล้วย 29 บทที่ 5 ตารางที่ 5.1 สรุปผลการเปรียบเทียบระยะเวลาที่น้าใช้เพื่อผ่านระบบน้าหยด 30
  • 11. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้ง ทางด้านการขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจาก ธรรมชาติ ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่ สาคัญในตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึง ทาให้น้ามีน้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.) จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่ บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี กลุ่มของข้าพเจ้าจึงเลือกที่จะทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและชะลอการ ไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดยการใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับการให้น้า ผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา ดังนั้นโครงงานการทดลอง เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย จึงมุ่งศึกษาเรื่อง แนวทางการประหยัดน้าด้วยการใช้ระบบน้าหยดจากที่มีการนาโครงสร้างของต้นกล้วยมาใช้ เพื่อชะลอการไหลของน้า โดยสร้างระบบน้าหยดที่มีการเลียนแบบโครงสร้างของต้นกล้วยเข้าไปในระบบเดิมที่ มีอยู่แล้ว
  • 12. 2 คาถามการวิจัย ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้าสามารถประหยัดและชะลอการไหลของนา ได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาหรือไม่ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า 2. เพื่อประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 3. เพื่อทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 4. เพื่อนาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า สมมติฐาน น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้ ตัวแปรต้น หยวกกล้วย ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดผ่านต้นกล้วย ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ประเภทของต้นกล้วย, ขนาดของหยวกกล้วย ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า สมมติฐาน ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้ ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสายยาง, ขนาดแก้ว, ขนาดของหยวกกล้วย
  • 13. 3 ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย, ระบบน้าหยดแบบธรรมดา ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสายยาง, ขนาดแก้ว, ขนาดของหยวกกล้วย ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดี ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย ตัวแปรตาม ระดับความพึงพอใจในผลงานสิ่งประดิษฐ์ ตัวแปรควบคุม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประดิษฐ์ระบบน้าหยดของกล้วย 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาที่ในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2561 นิยามศัพท์หรือนิยามเชิงปฏิบัติการ 1. ระบบน้าหยด หมายถึง เทคโนโลยีการชลประทานในการให้น้าแก่พืช โดยส่งน้าผ่านท่อและปล่อย น้าออกทางหัวน้าหยด ซึ่งติดตั้งบริเวณโคนต้นพืช 2. หยวกกล้วย หมายถึง ส่วนที่เป็นลาต้นของต้นกล้วย มีสีขาว มีเส้นใยอยู่จานวนมาก ลักษณะ โครงสร้างเป็นแบบกล่องย่อย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า 2. ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า 3. ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น 4. นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน
  • 14. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงาน เรื่อง ระบบน้าหยดประหยัดน้าเลียนแบบต้นกล้วย คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษา ค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน ดังนี้ แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. วิธีการรดน้าต้นไม้ 2. ระบบน้าหยด 3. ต้นกล้วย 4. หยวกกล้วย 5. คุณสมบัติของหยวกกล้วย 6. แผ่นอะคริลิค 7. กระจกใยแก้ว กรอบแนวคิดงานวิจัย แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. วิธีการรดน้าต้นไม้ ภาพที่ 2.1 การรดน้าต้นไม้ (ที่มา : http://guide.dohome.co.th/how-to-care-for-the-garden-in-hot-weather/ourhouse-biz/) โดยปกติแล้วควรรดน้าต้นไม้วันละ 2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็นที่อากาศไม่ร้อนเกินไป ตอนเช้าควรรด ขณะที่ยังมีแดดอ่อนๆ ประมาณ 6.00 น. – 8.00 น. ส่วนตอนเย็นควรรดน้าก่อนพระอาทิตย์ตกประมาณ 16.00 น. – 18.00 น. เพื่อให้น้าในดินระเหยออกไปบ้างบางส่วน ไม่เก็บความชื้นไว้มากเกินไป เพราะถ้าเลย ช่วงเวลานี้ ไปแล้วความชื้นที่สะสมมากอาจจะทาให้ต้นไม้เน่าได้ แต่ก็มีข้อควรระวังคือ ไม่ควรรดน้าใน ตอนกลางวันที่แดดจัด
  • 15. 5 การให้น้าต้นไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้หากขาดน้า ดังนั้นจึงควรรดน้าอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ในช่วง เช้า ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความต้องการน้าของต้นไม้แต่ละประเภท บางชนิดชอบน้ามากและบางชนิดชอบน้าน้อยไป จนถึงน้อยมาก ดังนั้นก่อนลงมือปลูกควรศึกษาข้อมูลพื้นฐานของต้นไม้ชนิดนั้นให้ดีเสียก่อน เพื่อให้พรรณไม้ ของเราคงความสวยงามอยู่เสมอ การรดน้าตามฤดูกาลการรดน้าตามฤดูกาล ภาพที่ 2.2 ผักที่ควรปลูกในแต่ละฤดูกาล (ที่มา : http://numchok-farm.lnwshop.com/) ช่วงหน้าร้อนอุณหภูมิของน้าที่ค้างอยู่ในท่อหรือแท็งก์น้าจะค่อนข้างสูง เมื่อเปิดก๊อกรดน้าลงไปก็ไม่ ต่างอะไรกับการเอาน้าร้อนมารดต้นไม้ จึงควรนาน้าไปพักในถังให้เย็นตัวลงก่อนแล้วรดที่บริเวณโคนต้น เพื่อ ไม่ให้เกิดหยดน้าตกค้างบนใบซึ่งอาจทาให้เกิดปัญหาใบไหม้ตามมาได้ โดยรดให้ชุ่มตั้งแต่เรือนยอดต้นไม้ลงมา ชะล้างสิ่งสกปรกตกค้างบนใบ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับน้า และลดการคายน้า แถมยังช่วยให้การ สังเคราะห์แสงดีขึ้นด้วย ในช่วงฤดูฝนให้รดน้าตามความเหมาะสม ฝนตกก็ใช่ว่าจะไม่ต้องรดน้าต้นไม้ เพราะปริมาณน้าฝนอาจ ไม่เพียงพอที่จะซึมลงถึงราก จึงจาเป็นต้องให้น้าเพิ่มเติม ขณะเดียวกันในช่วงฤดูหนาว อากาศแห้งเราก็จาเป็นต้องรดน้าให้ถี่ขึ้น หรือให้น้าแบบสปริงเกลอร์ โดยเว้นช่วงให้ผิวดินแห้งบ้าง เพื่อให้รากพืชได้หายใจ หากดินยังชื้นอยู่ก็ไม่จาเป็นต้องรดน้าซ้า แม้ว่าช่วงฤดู หนาวสั้นๆ ของบ้านเราอากาศจะแห้ง แต่น้าในดินก็ไม่ระเหยเร็วเท่าฤดูร้อน ดังนั้นต้องคอยสังเกตให้ดี เพราะ ถ้าให้น้ามากเกินความจาเป็นอาจเกิดโรคพืชตามมาได้ นอกจากนี้ยังมีวิธีรักษาความชื้นในดินด้วยการใช้วัสดุ เช่น ฟางข้าว ขุยมะพร้าวสับ ใบไผ่ ใบไม้สดหรือแห้ง คลุมแปลงปลูก (บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน), 2561)
  • 16. 6 2. ระบบน้าหยด ภาพที่ 2.3 ระบบน้าหยดในแปลงเกษตร (ที่มา : https://roongee.com/2879) ระบบน้าหยด เป็นระบบที่ผมมักจะใช้เป็นตัวเลือกเเรกๆ ในการวางระบบรดต้นไม้ริมรั้วที่เป็นเเนว เช่น โมก ไทร สน คริสติน่า หรือ การให้น้าในกระถาง ฯลฯ จุดเด่นของระบบน้าหยด 1. ให้น้าได้ตรงจุด ไม่เลอะเทอะ ฟุ้งเหมือนหัวพ่น 2. ไม่ต้องการเเรงดันน้ามาก 3. ค่อยๆปล่อยน้า ทาให้ดินรับน้าได้ทัน น้าไม่ไหลไปจุดอื่น 4. ความคุมปริมาณการจ่ายน้าได้ดี ทาให้ประหยัดน้า ภาพที่ 2.4 ระบบน้าหยดที่โคนต้น (ที่มา : https://www.organicfarmthailand.com/how-to-make-a-drip-system/) โดยระบบน้าหยดจะเหมาะสาหรับการรดน้าบริเวณโค่นต้นไม้กระถาง พื้นที่ต่างระดับ (มีเวลาให้น้าซึม ลงดินช้าๆ ทาให้น้าไม่ไหลไปพื้นที่ต่ากว่า) ระบบน้าหยดไม่ต้องการเเรงดันน้าในการทางานมาก ทาให้ติดตั้งได้ หลายจุด (เเต่ก็ขึ้นอยู่กับปริมาณ เเละ เเรงดันน้า) (………)
  • 17. 7 3. ต้นกล้วย ภาพที่ 2.5 ต้นกล้วย (ที่มา : https://deavita.fr/design-exterieur/jardin-deco/plante-exotique-bananiers/) กล้วย เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่ในแถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้พื้นเมือง ทั้งที่มีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลของการย้ายถิ่นฐานในการทามาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชีย ตอนใต้ไปยังหมู่เกาะแปซิฟิก ตั้งแต่ต้นศริสต์ศักราชเป็นต้นมา ในการอพยพแต่ละครั้งจะต้องมีการนาเอา เสบียงอาหารติดตัวไปด้วย จึงได้มีการนากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก สาหรับประวัติกล้วยในประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเป็นแหล่งกาเนิดของกล้วยป่าและต่อมาได้มี การนากล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่นในช่วงที่มีการอพยพของคนไทยในการตั้งถิ่นฐานของจังหวัดสุโขทัย มี เอกสารกล่าวว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วยร้อยหวี 4. ลักษณะทั่วไปของต้นกล้วย กล้วย เป็นไม้ผล ลาต้น เกิดจากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ 2-5 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวเกิดกระจาย ส่วนปลายของลาต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่นใบกว้างเส้นของใบขนานกันปลายใบมน มีติ่ง ผิวใบเรียบลื่น ใบสีเขียงด้านล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุมเส้นและขอบใบเรียบขนาดและความยาวของใบ ขึ้นอยู่กับแต่ละพันธ์ ดอกเป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซึ่งเรียกหัวปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสี แดงเป็นรูปวงรี ยาว 25- 30 ซม. ช่อดอกที่มีการเจริญก็จะกลายเป็นผล ผลเป็นผลสดจะประกอบไปด้วยหวี กล้วย เครือละ 7- 8 หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ 10 กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยมีลักษณะแตกต่างกัน ออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิดมีผล เหลือง, เขียว,แดง แต่ละต้นให้ผลครั้งเดี่ยวเท่านั้น เมล็ด มี ลักษณะกลมขรุขระเปลือกหุ้มเมล็ดมีสีดาหนาเหนียวเนื้อเมล็ดสีขาว ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อหรือแยกเหง้า รสชาติฝาด (…., 2558)
  • 18. 8 5. หยวกกล้วย ภาพที่ 2.6 หยวกกล้วย (ที่มา : http://kaset-lifestyle.com/10518) หยวกกล้วย คือส่วนที่อยู่ภายในต้นกล้วย หรือจะเรียกว่าเป็นแกนของต้นกล้วย หยวกกล้วยจะมีสีขาว ขุ่น อย่างที่หลายๆคนได้ยินคาที่ว่าขาวเหมือนหยวกกล้วย โดยหยวกกล้วยก็มีประโยชน์ในเรื่องของการที่คนส่วนใหญ่นาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร โดย ต้องตัดส่วนของต้นกล้วย แล้วลอกเอากาบรอบนอกออก ให้เหลือเฉพาะกาบอ่อนด้านในหยวกกล้วยส่วนใหญ่ที่ คนนิยมนามาใช้รับประทานหรือปรุงอาหารนั้นจะเป็นหยวกกล้วยป่า หยวกกล้วยตานี หยวกกล้วยน้าว้า และ ควรเป็นหยวกกล้วยที่ยังไม่ออกปลี ในการนามาใช้ทาอาหารก็เพียงแค่หั่นให้ได้ขนาดที่พอเหมาะ หยวกกล้วย เป็นส่วนของกล้วยที่มีใยอาหารช่วยดูดซับสิ่งสกปรกและสารพิษตามลาไส้ กระเพาะ อาหาร แล้วขับออกมา โดยการถ่ายท้อง อีกทั้งมีธาตุเหล็กช่วยในการกระตุ้นผลิตฮีโมโกลบิลในเลือด ช่วยใน กรณีที่มีสภาวะขาดกาลังหรือโลหิตจาง ช่วยบรรเทาอาการเสียดท้อง ป้องกันโรคลาไส้เป็นแผลได้ด้วย (………)
  • 19. 9 6. คุณสมบัติของหยวกกล้วย ภาพที่ 2.7 การปลูกพืชในต้นกล้วย (ที่มา : https://www.iurban.in.th/greenery/grow-vegetale-banana-trunk/) กล้วยมีบทบาทสาคัญในการ รักษาความชุ่มชื้นใน ป่า ความชุ่มชื้นในป่าเป็นเรื่องสาคัญมากเพราะถ้าไม่มี ความชื้นการย่อยสลายจะไม่ เกิด ถ้าการย่อยสลายไม่เกิด ชีวิตก็ไม่เกิด การย่อยสลายเป็นเรื่องที่สลับซับซ้อน มาก ใบไม้ที่ร่วงลงมาเหมือนห่มดินเลยนะ ช่วยรักษาความชื้น อุณหภูมิ ปลวก มดจะช่วยย่อยสลายใบไม้ในขั้น แรก แล้วก็จะมีรา จุลินทรีย์มาย่อยสลายอีกที ให้กลายเป็นปุ๋ยของต้นไม้ พอเมล็ดพันธุ์ใหม่ๆ มาเจอปุ๋ย เจอ ความชื้น มันถึงเจริญงอกงาม ในดงกล้วยมีความชื้น เมื่อเกิดไฟป่า ไฟก็แค่ลวกต้นกล้วย พอถึงฤดูฝนกล้วยก็ เจริญเติบโตขึ้นมาใหม่ หรือถ้าตรงไหนมีดงกล้วยหนาทึบ ไฟป่าจะมาหยุดตรงขอบดงกล้วย เป็นแนวกันไฟแบบ ธรรมชาติ กล้วยเป็นตัวกัก เก็บน้าด้วย ในฤดูฝนพอฝนตกลงมา กล้วยจะเก็บน้าไว้ พอเก็บเต็มที่ไม่ไหวแล้วก็จะสร้าง ลูกหลานขึ้นมาอย่างรวดเร็ว มีหน่อกล้วยออกมามากมายในฤดูฝน พอถึงฤดูแล้งก็คายน้าออกมาทางใบ ทางลา ต้น เป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่ละเอียดอ่อนมาก (……….) 7. แผ่นอะคริลิค ภาพที่ 2.8 แผ่นอะคริลิค (ที่มา : http://xn--42ca5dl1bm7cya2bb8kqd.blogspot.com/2018/03/acrylic.html)
  • 20. 10 อะคริลิค เป็นพลาสติกที่มีความทนทาน และได้รับความนิยมในการนามาใช้งานอย่างแพร่หลาย ซึ่ง อะคริลิคก็มักจะมีหลายชื่อด้วยกัน โดยชื่อเรียกที่ได้ยินบ่อยที่สุด ก็คือ อะคริลิคพลาสติก กระจกอะคริลิคหรือ แผ่นอะคริลิค เป็นต้น สาหรับคุณสมบัติของอะคริลิค ก็คือ เป็นวัสดุที่มีความทนทานแข็งแรง สามารถทนต่อ แรงกระแทกได้ดีกว่ากระจก ทั้งมีความหนาตั้งแต่ 2 มิลลิเมตร-100 มิลลิเมตร ขึ้นไป จึงสามารถนามาใช้งานได้ อย่างหลากหลาย ตัวอย่างชิ้นงานจากอะคริลิค เช่น กรอบรูป ป้ายโฆษณาและชั้นวางโชว์ เป็นต้น สมบัติทั่วไปของแผ่นอะคริลิก 1. มีความโปร่งใสคล้ายกระจก 2. ทนทานต่อแรงกระแทก แรงกด และสภาพแวดล้อมดินฟ้าอากาศ 3. ทนทานต่อสารเคมีหลายชนิด ยกเว้นสารตัวทาละลาย และกรด รวมถึงด่างแก่ทุกชนิด 4. สามารถเติมแต่งด้วยสี ให้มีสีสันได้ตามความต้องการ 5. มีจุดอ่อนตัวต่า ทนต่อความร้อน และมีความเหนียว 6. มีสภาพคงรูปที่ดี และทนต่อการขีดข่วน 7. เป็นฉนวนไฟฟ้า และฉนวนป้องกันความร้อนที่ดี 8. ไม่ดูดความชื้น การประยุกต์ใช้งาน 1. ประยุกต์ใช้ในงานก่อสร้าง เช่น ตู้โชว์ ประตูหน้าต่างกันเสียง หลังคาอะคริลิค ตู้โทรศัพท์เป็นต้น 2. ประยุกต์ใช้ในงานโฆษณา เช่นป้ายกล่องไฟ ป้ายหน้าร้าน ป้ายสัญลักษณ์ ป้ายโชว์ เป็นต้น 3. ประยุกต์ใช้กับงานคมนาคมขนส่ง เช่น ประตูหน้าต่างรถไฟหรือรถยนต์เป็นต้น 4. ประยุกต์ใช้ในวงการแพทย์ เช่น ตู้อบทารก อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ 5. ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่นอุปกรณ์ในห้องน้า งานศิลปหัตถกรรม เครื่องสาอางค์ หลอดเลือด เทียม ตู้ปลา เป็นต้น 6. ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม เช่นแผงหน้าจอและฝาครอบเครื่องมือวัด 7. การประยุกต์ใช้ในอุปกรณ์ให้แสงไฟ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ โคมไฟระย้า ฝาครอบโคมไฟถนน เป็นต้น
  • 21. 11 8. กระจกใยแก้ว ภาพที่ 2.9 ใยแก้ว (ที่มา : https://www.alibaba.com/product-detail/Fiberglass-chopped-strand-e-glass-for_60341784767.html) ใยแก้ว (Fiberglass) เป็นวัสดุที่ทามาจากใยแก้ว ที่มีเส้นใยเล็กมาก เกิดจากการหลอมละลาย และ แข็งตัวของซิลิก้า ซึ่งเป็นวัตถุดิบจากแก้วที่ผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูง 1000 องศาขึ้นไป ตั้งแต่ 50-900นาที เส้นใยแก้วใช้ในงานเสริมรงโพลิเมอร์ได้หลากหลายชนิด เราเรียกการเสริมแรงนี้ว่า “เอส อาร์พี FRP” (Fiber-reinforced Plastic ) และ “จี อาร์ พี GRP” (Glass-reinforced Plastic ) หรือ ที่คนไทยคุ้นชินคือ คาว่า “งานไฟเบอร์กล๊าส” เมื่อเราใช้ผสานกับเรซิ่น เราเรียกการรวมตัวของวัตถุดิบ 2 ชนิดนี้ว่า “การ คอมโพสิท” ใยแก้วมีราคาไม่สูงนัก สามารถนามาใช้ได้กับหลายๆผลิตภัณฑ์ คุณสมบัติของใยแก้ว ไม่ติดไฟและเป็นฉนวนไฟฟ้าชั้นยอด ทนความร้อนได้ดีมาก คงรูปเดิมได้ดี ไม่มีการยืดหยุ่น ไม่เน่าเปื่อย ไม่ผุกร่อน ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อน ไม่เกิดการแข็งตัวจากอากาศหนาวจัด มีความแข็งแรงกว่าเหล็กใน ด้านความทนทานต่อแรงดึง ใช้ผสานกับเรซิ่น
  • 22. 12 กรอบแนวคิดงานวิจัย ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า ตัวแปรต้น หยวกกล้วย ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดผ่านต้นกล้วย ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าต้งต้น, ประเภทของต้นกล้วย, ขนาดของหยวกกล้วย ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสาย ยาง, ขนาดแก้ว/กระถาง, ขนาดของหยวกกล้วย ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย, ระบบน้าหยดแบบธรรมดา ตัวแปรตาม ปริมาณน้าที่หยดลงในแก้ว ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา, ปริมาณน้าตั้งต้น, ความยาวและขนาดของสายยาง, ขนาดรูที่เจาะบนสาย ยาง, ขนาดแก้ว/กระถาง, ขนาดของหยวกกล้วย ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน ตัวแปรต้น ระบบน้าหยดของกล้วย ตัวแปรตาม ระดบความพึงพอใจในผลงานสิ่งประดิษฐ์ ตัวแปรควบคุม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประดิษฐ์ระบบน้าหยด
  • 23. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย เป็นการทาโครงงาน เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้โดยใช้ระบบน้าหยดที่เลียนแบบการลาเลียงน้าของต้น กล้วย กับระบบน้าหยดแบบธรรมดา ด้วยการทดลองเปรียบเทียบปริมาณน้าที่หยดออกมาในระยะเวลาที่ เท่ากัน ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยน้าว้า วัสดุอุปกรณ์ 1. แก้วน้าพลาสติกใส ขนาด 20 ออนซ์ จานวน 3 ใบ 2. สายยางใส ขนาดเล็ก ยาว 60 เซนติเมตร จานวน 1 เส้น 3. กระปุกพลาสติก ขนาด 700 มิลลิลิตร จานวน 1กระปุก 4. เครื่องมือเจาะรู 5. ปืนกาว 6. มีดและเครื่องมือคว้าน 7. เครื่องมือวัด 8. น้าเปล่า 9. เครื่องมือจับเวลา สารวจสภาพปัญหา ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งทางด้าน การขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากธรรมชาติ ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่สาคัญใน ตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึงทาให้น้ามี น้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.) จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะ ผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และ ช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการไหล หนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า
  • 24. 14 ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่ บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี ระบุปัญหา น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้หรือไม่ สมมติฐาน น้าสามารถลาเลียงผ่านต้นกล้วยได้ สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18 บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120 ระยะเวลาที่ทา ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2561 ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 ช่วงทาการทดลอง ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2561
  • 25. 15 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 1. ตัดหยวกกล้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากระปุก (10 เซนติเมตร) หนา 2 เซนติเมตร 2. คว้านกลางหยวกกล้วยให้เป็นรูเว้าลงไปแต่ไม่ทะลุ แล้วใส่หยวกกล้วยในกระปุก 3. เจาะรูที่ก้นกระปุกพลาสติก 1 รู และเจาะรูที่ปากแก้ว แก้วละ 2 รู (ตรงช้ามกัน) 4. ใส่สายยางที่รูบนกระปุกและต่อไปที่แก้วพลาสติก 5. ใช้ปืนกาวปิดร่องรอบสายยางที่เสียบอยู่บนกระปุกพลาสติก และปิดที่ปลายสายยาง 6. ใช้เข็มเจาะรูที่สายยางเหนือแก้วพลาสติก แก้วละ 1 รู ขั้นตอนการทดลอง บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านหยวกกล้วยได้หมด ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า วัสดุอุปกรณ์ 1. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 10*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 2. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 3. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*9.4 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 4. แผ่นอะคริลิค หนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 3*15 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 5. แผ่นอะคริลิค หนา 1 มิลลิเมตร ขนาด 3*3 เซนติเมตร จานวน 26 แผ่น 6. น้ายาเชื่อมอะคริลิค (Dichloromethane) 7. เข็มฉีดยา และพู่กัน 8. ใยแก้วกรองน้า 9. วาล์วปรับลม จานวน 1 อัน 10. สว่านเจาะรู ขนาด 3/64 11. หัวเจียร ลูกหมู 12. คัตเตอร์ และแผ่นรองตัด 13. คีบหนีบ 14. ปืนกาว และแท่งกาว สารวจสภาพปัญหา จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้
  • 26. 16 และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่ บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี ระบุปัญหา ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้ดีหรือไม่ สมมติฐาน ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยสามารถใช้งานได้ สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18 บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120 ระยะเวลาที่ทา ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ช่วงทาการทดลอง วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
  • 27. 17 วางแผนการประดิษฐ์ ภาพที่ 3.1 จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ในการทาระบบน้าหยดเลียนแบบโครงสร้างของกล้วย จานวนและขนาดแผ่นอะคริลิคที่ใช้ทาสิ่งประดิษฐ์ ภาพที่ 3.2 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย ภาพที่ 3.3 แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย แบบร่างระบบน้าหยดของกล้วย
  • 28. 18 วางแผนการประดิษฐ์ ภาพที่ 3.4 แบบร่างด้านหน้า ภาพที่ 3.5 แบบร่างด้านข้าง ด้านหน้า ด้านข้าง ภาพที่ 3.6 แบบร่างด้านบน ภาพที่ 3.7 แบบร่างด้านล่าง ด้านบน ด้านล่าง
  • 29. 19 ขั้นเตรียมการประดิษฐ์ 1. ตัดแผ่นอะคริลิคขนาดดังต่อไปนี้ 1.1. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 10*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 1.2. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*24.5 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 1.3. แผ่นอะคริลิค หนา 3 มิลลิเมตร ขนาด 3*9.4 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 1.4. แผ่นอะคริลิค หนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 3*15 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น 1.5. แผ่นอะคริลิค หนา 1 มิลลิเมตร ขนาด 3*3 เซนติเมตร จานวน 26 แผ่น 2. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตร 1 รูตรงกลางสาหรับใส่วาวล์ 1 แผ่น 3. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตร 3 รูขนาดเล็ก 1 แผ่น 4. เจาะรูแผ่นอะคริลิคขนาด 3*3 เซนติเมตร แผ่นละ 1 รูเล็ก จานวน 26 แผ่น 5. เจียรแผ่นอะคริลิคแต่ละแผ่นให้เรียบ ขั้นตอนการประดิษฐ์ 1. ตัดแผ่นอะคริลิค หนา 3 และ 2 มิลลิเมตรด้วยเลื่อยวงเดือน และตัดแผ่นอะคริลิคหนา 1 มิลลิเมตร ด้วยคัตเตอร์ ตามขนาดที่กาหนดไว้ 2. ติดแผ่นอะคริลิคขนาด 3*3 เซนติเมตร กับแผ่นอะคริลิคขนาด 3*15 เซนติเมตร แบบสับหว่าง เว้น ระยะห่างระหว่างช่องเล็ก 1 เซนติเมตร และช่องใหญ่ 2 เซนติเมตรด้วยน้ายาเชื่อม 3. ประกอบแผ่นอะคริลิคขนาด 10*24.5 เซนติเมตร กับขนาด 3*24.5 เซนติเมตรเป็นกล่อง 4. ประกอบข้อที่ 3 กับข้อที่ 4 เข้าด้วยกัน และใช้ปืนกาวปิดระหว่างร่องรอยต่อ 5. ใส่ใยแก้วกรองน้าลงไประหว่างช่องแผ่นอะคริลิคที่สับหว่าง 6. ใช้แผ่นอะคริลิคขนาด 3*9.4 เซนติเมตรปิดท้ายกล่องด้วยน้ายาเชื่อมอะคริลิค และปิดรอยต่อด้าน นอกด้วยปืนกาว 7. ติดวาล์วปรับลมที่ท้ายกล่องสาหรับไว้ปล่อยน้า 8. ใช้ปืนกาวและน้ายาเชื่อมอะคริลิคปิดรอยต่อรอบกล่องซ้าอีกครั้งเพื่อกันน้าซึม ขั้นตอนการทดลอง บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของ ต้นกล้วยได้หมด
  • 30. 20 ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น วัสดุอุปกรณ์ 1. ระบบน้าหยดของกล้วย 2. ระบบน้าหยดแบบธรรมดา 3. น้าเปล่า 4. เครื่องมือจับเวลา 5. แก้วน้าพลาสติก สารวจสภาพปัญหา จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการ ไหลหนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่ บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี ระบุปัญหา ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดาหรือไม่ สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา
  • 31. 21 สถานที่ประดิษฐ์และทาการทดลอง 1. อาคารคณิตศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 2. บ้านของนางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ชั้นม.4/4 เลขที่ 18 บ้านเลขที่ 184/8 หมู่ที่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 21120 ระยะเวลาที่ทา ช่วงสารวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ช่วงทาการประดิษฐ์ ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ช่วงทาการทดลอง วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขั้นตอนการประดิษฐ์ (ระบบน้าหยดแบบธรรมดา) 1. เจาะรูที่ก้นกระปุกพลาสติก 1 รู และเจาะรูที่ปากแก้ว แก้วละ 2 รู (ตรงช้ามกัน) 2. ใส่สายยางที่รูบนกระปุกและต่อไปที่แก้วพลาสติก 3. ใช้ปืนกาวปิดร่องรอบสายยางที่เสียบอยู่บนกระปุกพลาสติก 4. ใช้เข็มเจาะรูที่สายยางเหนือแก้วพลาสติก แก้วละ 1 รู 5. ใช้ดินน้ามันปิดรู้ที่ปลายสายยาง ขั้นตอนการทดลอง 1. บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียง น้าของต้นกล้วยได้หมด 2. บันทึกผลระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าปริมาณ 100 มิลลิลิตรผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา 3. เปรียบเทียบระยะเวลาที่ต้องใช้ในระบบน้าหยดทั้ง 2 แบบ ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน วัสดุอุปกรณ์ 1. ระบบน้าหยดเลียนแบบโครงสร้างของต้นกล้วย 2. แบบสอบถามความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย สารวจสภาพปัญหา ในปัจจุบัน ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งทางด้าน การขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภคบริโภค และด้านผลิตผลทางการเกษตรที่ต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากธรรมชาติ ประกอบกับประเทศไทย เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรที่สาคัญใน
  • 32. 22 ตลาดโลก ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางการเกษตรของไทย ผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากภัยแล้งโดยตรงคือ ชาวนาและเกษตรกรที่เพาะปลูกพืช แต่เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นจึงทาให้น้ามี น้อย และหายาก (สิตาวีร์ ธีรวิฬห์. 2558.) จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดน้าที่ใช้ในการรดน้าต้นไม้ในแบบต่าง ๆ คณะ ผู้จัดทาได้ข้อมูลดังนี้ ระบบน้าหยดเป็นตัวเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเรื่องการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้ และ ช่วยให้ใช้น้าได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งได้ผลดี ทั้งนี้ยังช่วยให้น้าหยดลงดินอย่างสม่าเสมอและไม่มีการไหล หนีของน้า นอกจากนี้ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชผักได้ในแปลงทุกขนาด ทุกพื้นที่ ซึ่งใช้น้า ปริมาณน้อย ประหยัดต้นทุน บารุงรักษาง่าย อุปกรณ์หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปและต้นทุนลงทุนน้อย แต่ บางครั้งการที่น้าจากระบบน้าหยดจะหยดอยู่ตลอดเวลาอาจทาให้พืชได้น้ามากเกินความจาเป็น หรืออาจ จาเป็นต้องมีการเปิดปิดระบบอยู่เป็นระยะ ๆ เพื่อให้พืชได้น้าที่พอเหมาะ ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะทาให้เสียเวลา ในการเปิดปิดอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างที่ช่วยในเรื่องการชะลอการ ไหลของน้าหรือโครงสร้างที่สามารถอุ้มน้าได้ดี พบว่า ลักษณะโครงสร้างของต้นกล้วยนั้น จะมีโครงสร้างลาต้น เป็นแบบโครงสร้างกล่องย่อย ที่จะเป็นทรงสี่เหลี่ยมวางสลับซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งโครงสร้างนี้จะช่วยให้หยวก กล้วยสามารถกักเก็บและอุ้มน้าได้ดี ระบุปัญหา ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดีหรือไม่ สมมติฐาน ระบบน้าหยดของกล้วยสามารถใช้งานได้จริง และมีประสิทธิภาพดี
  • 33. 23 เลขที่แบบสอบถาม __ __ __ แบบสอบถาม โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย คาชี้แจง แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “ระบบน้าหยดเลียนแบบการ ลาเลียงน้าของต้นกล้วย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองทาระบบน้าหยดที่เพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บและ ชะลอการไหลของน้าไปสู่แปลงพืชผัก โดยการใช้โครงสร้างของต้นกล้วยมาเป็นตัวแปรสาคัญ เปรียบเทียบกับ การให้น้าผ่านระบบน้าหยดแบบธรรมดา โดยแบบสอบชุดนี้ประกอบด้วยรายละเอียด 4 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และการได้รับข้อมูลข่าวสาร ส่วนที่ 2 การทาระบบน้าหยดด้วยตนเอง ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ ขอแสดงความนับถือ นายภูมินทร์ จันทานวน นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
  • 34. 24 เลขที่แบบสอบถาม __ __ __ คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ตรงกับความเป็นจริง หรือความคิดเห็นของท่านมากที่สุด ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และการได้รับข้อมูลข่าวสาร 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ....................ปี 3. อาชีพ ( ) นักเรียน นักศึกษา ( ) อาชีพอิสระ ( ) ราชการ ( ) พนักงานบริษัท ( ) รัฐวิสาหกิจ ( ) รับจ้างทั่วไป ( ) ธุรกิจส่วนตัว ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ ................................ 4. การได้รับข้อมูลข่าวสาร 4.1. ท่านเคยได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องระบบน้าหยดจากสื่อต่าง ๆ หรื่อไม่ ( ) ไม่เคย ( ) เคย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) โทรทัศน์/วิทยุ ( ) อินเตอร์เน็ต ( ) หนังสือพิมพ์/หนังสือ/วารสาร/นิตยสาร ( ) การสนทนากับบุคคลอื่น ( ) แผ่นพับ/ใบปลิว/ป้ายโฆษณา ( ) หน่วยงานราชการ/เอกชน ( ) นิทรรศการต่าง ๆ ( ) อื่น ๆ (ระบุ) .................... ส่วนที่ 2 การทาระบบน้าหยดด้วยตนเอง ท่านเคยทาระบบน้าหยดด้วยตนเองหรือไม่ ( ) ไม่เคย ( ) เคย หากเคยทา ท่านมีจุดประสงค์ในการทาเพื่ออะไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) นาไปจาหน่าย ( ) นาไปใช้ในครัวเรือน ( ) นาไปใช้ในแปลงเกษตร/ไร่/สวน ( ) อื่นๆ (ระบุ) ……………………………………………
  • 35. 25 เลขที่แบบสอบถาม __ __ __ ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย โดยมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้ (5) = มากที่สุด (4) = มาก (3) = ปานกลาง (2) = น้อย (1) = น้อยที่สุด ลาดับ รายละเอียดความพึงพอใจต่อระบบน้าหยดจากโครงสร้างต้นกล้วย ระดับความพอใจ 5 4 3 2 1 1 สามารถใช้งานได้จริงและเกิดประโยชน์ทางการเกษตร 2 เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสมกับชิ้นงาน 3 ชิ้นงานสามารถใช้งานง่าย และมีความปลอดภัย 4 ลักษณะการใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์ 5 สามารถประหยัดน้าได้ดีกว่าระบบน้าหยดแบบธรรมดา ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ
  • 36. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย เป็นการทาโครงงาน เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการประหยัดน้าในการรดน้าต้นไม้โดยใช้ระบบน้าหยดที่ผ่านหยวกกล้วยกับระบบน้าหยด แบบธรรมดา ด้วยการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้น้าในปริมาณหนึ่งผ่าน การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล และผลการดาเนินงานของการทาโครงงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทา จะนาเสนอข้อมูลแบ่งเป็น 4 ส่วน ดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ศึกษาการลาเลียงน้าของต้นกล้วยว้า ตอนที่ 2 ประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า ตอนที่ 3 ทดสอบเปรียบเทียบระบบน้าหยดของกล้วยกับสิ่งประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น ตอนที่ 4 นาสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นไปใช้ในการระบบเกษตรในชุมชน ผลงานสิ่งประดิษฐ์ระบบน้าหยดตามโครงสร้างของต้นกล้วยน้าว้า ภาพที่ 4.1 ผลงานระบบน้าหยดเลียนแบบการลาเลียงน้าของต้นกล้วย