SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง : เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา
โดย
1. นางสาวระพีพรรณ โทนะหงษา
2. นางสาวธันยพร บัวสิงห์
3. นางสาววิภาดา มุ่งรายกลาง
ครูที่ปรึกษา
1. นายศิริวุฒิ บัวสมาน
2. นางกรนันท์ วรรณทวี
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ชื่อโครงงาน เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา
ผู้ทาโครงงาน นางสาวระพีพรรณ โทนะหงษา นางสาวธันยพร บัวสิงห์ และนางสาววิภาดา มุ่งรายกลาง
ครูที่ปรึกษา นายศิริวุฒิ บัวสมาน, นางกรนันท์ วรรณทวี
สาขา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทโครงงาน ทดลอง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2558
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา”
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย
วิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ด 15 ชนิด คือ เห็ดไคล เห็ดก่อแดง เห็ดดิน เห็ดหน้าม่วง เห็ดเผาะฝูาย เห็ด
ถ่าน เห็ดผึ้งแย้ เห็ดหน้าวัว เห็ดก้นครก เห็ดมันปู เห็ดข้าวจี่ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดไส้เดือน เห็ดข้าวแปูง และ
เห็ดระโงกขาว มี 16 ทรีตเมนต์ แต่ละทรีตเมนต์มี 5 ซ้้า และศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา 5
ชนิด คือ ยางนา รัง ยางเหียง พะยอม และตะเคียนทอง ที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้
ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง เปรียบเทียบกับกล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราในสภาพเรือนเพาะช้า ใช้แผนการ
ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 10 ทรีตเมนต์ แต่ละทรีตเมนต์มี 3 ซ้้า ท้าการวัดความสูง ความยาวรอบวงของล้า
ต้นที่ระดับคอราก จ้านวนกิ่ง จ้านวนใบ ความกว้างและความยาวของใบ และสังเกตเส้นใยสีขาวบริเวณราก
ของกล้าไม้ทุกๆ 3 เดือน จนครบ 1 ปี (กรกฎาคม 2557- กรกฎาคม 2558) จากการทดลอง พบว่า
กล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดหน้า
ม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดเผาะฝูาย มีความสูงของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดก่อแดง
เห็ด หน้าม่วง และเห็ดไคล มีความยาวรอบวงของต้นกล้าบริเวณคอรากมากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้ยางนาที่
ใส่เชื้อเห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดไคล มีจ้านวนกิ่งและจ้านวนใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้
ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดดิน เห็ดก้นครก และเห็ดหน้าม่วง มีความกว้างของใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้า
ไม้ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดดิน เห็ดหน้าม่วง และเห็ดก้นครก มีความยาวของใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ ราก
เอคโตไมคอร์ไรซามีสีน้้าตาลปนด้า รูปแบบการแตกแขนงเป็นแบบ monopodial pinnate ทุกต้นกล้า ยกเว้น
กล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อรา ดังนั้น เห็ดที่เหมาะส้าหรับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาส้าหรับกล้ายางนา
มากที่สุด คือ เห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดไคล ตามล้าดับ ส่วนการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา 5
ชนิด คือ ยางนา รัง ยางเหียง พะยอม และตะเคียนทอง ที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้
ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง พบว่า กล้าไม้วงศ์ยางนาทั้ง 5 ชนิด มีความสูง ความยาวรอบวงของล้าต้นที่ระดับคอ
ราก จ้านวนกิ่ง จ้านวนใบ ความกว้างและความยาวของใบ มากกว่ากล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไม
คอร์ไรซา
คาสาคัญ : เอคโตไมคอร์ไรซา, สัณฐานวิทยา, ไม้วงศ์ยางนา
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง “เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา”ส้าเร็จลุล่วงได้
ด้วยความกรุณา อย่างยิ่งจากคุณครู ศิริวุฒิ บัวสมาน และคุณครูกรนันท์ วรรณทวี ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ซึ่งได้ให้ค้าปรึกษาอันเป็นแนวทางในการท้าโครงงานและการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ปลูกฝังให้คณะผู้จัดท้ามี
ความเพียรพยายามและรักการท้างาน สนับสนุน ส่งเสริม ให้โอกาส ให้ก้าลังใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่คณะ
ผู้จัดท้ามาโดยตลอดและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อ้านวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่ให้
ก้าลังใจและสนับสนุนงบประมาณในการท้าโครงงาน และขอขอบพระคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้ก้าลังใจและค้าแนะน้าที่ดีเสมอมา
ขอขอบพระคุณ คุณชวลิต ส่งแสงโชติ ผู้อ้านวยการศูนย์วิจัย Spider Planet ที่อนุเคราะห์กล้อง
จุลทรรศน์ 3 มิติ ในโครงการมอบกล้องให้น้องส่องอนาคต จ้านวน 4 ตัว ให้กับโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา
วิทยา ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร. อุทัยวรรณ แสงวณิช อาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ค้าแนะน้าใน
การทดลอง และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมาที่ไม่ได้เอ่ยนามมา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาด้านเห็ดเอคโตไมคอร์
ไรซากับกล้าไม้วงศ์ยางนาในท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1
1.3 สมมติฐานของการศึกษา 1
1.4 ขอบเขตของการศึกษา 2
1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3
2.1 เอคโตไมคอร์ไรซา 3
2.2 ข้อมูลเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา 15 ชนิด 5
2.3 วิธีการเพาะเชื้อให้กับต้นกล้าไม้ 11
2.4 ลักษณะของพรรณไม้วงศ์ยาง 12
2.5 ข้อมูลไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด 13
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 16
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 18
3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ 18
3.2 วิธีการทดลอง 18
บทที่ 4 ผลการทดลอง 21
ตอนที่ 1 21
ตอนที่ 2 36
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 44
5.1 สรุปผลการทดลอง 44
5.2 อภิปรายผลการทดลอง 45
5.3 ข้อเสนอแนะ 46
บรรณานุกรม 47
ภาคผนวก 48
- ภาพประกอบโครงงาน 49-55
ค
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) เป็นไม้ยืนต้นที่พบในประเทศไทย ประมาณ 8 สกุล79 พบในทุก
ภาคของประเทศ ทั้งปุาผลัดใบและปุาไม่ผลัดใบ โดยในปุาผลัดใบพบในปุาเต็งรัง และปุาเบญจพรรณ โดยไม้ใน
วงศ์ยางเป็นพรรณไม้หลักของปุาเต็งรัง ซึ่งพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย คือ มีมากถึง
ร้อยละ80 ของพื้นที่ปุาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนในปุาไม่ผลัดใบ พบมากในปุาดิบแล้ง ปุาพรุ และปุา
ดิบชื้น เป็นหลัก ไม้ในวงศ์ยางมีความผูกพันกับชาวไทยมาช้านาน ซึ่งปรากฏร่องรอยจากหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ยังพบเห็นได้ในปัจจุบัน ชาวไทยได้น้าพรรณไม้วงศ์ยางมาใช้ประโยชน์ทั้ง
ทางตรง และทางอ้อม โดยประโยชน์ทางตรง เช่น เป็นวัตถุดิบในการต่อเรือ สร้างฝาบ้าน ไม้อัด ไม้บาง ไม้
ประกับ ด้ามคราด ไถ เสียม พลั่ว สาก ครก รอด คาน ชันยาเรือ น้้ามันยางส่วนในทางอ้อม เช่น เอื้ออ้านวย
ต่อการรักษาสภาพแวดล้อม สร้างร่มเงาให้แก่ไม้พื้นล่าง เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงสนพระ
ราชหฤทัยในไม้ยางมานานแล้ว โดยมีพระราชปรารภให้วิจัยไม้ยางนาและร่วมปลูกกล้ายางนา ภายในพระ
ต้าหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2504 เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของไม้ยาง
และช่วยกันบ้ารุงส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และปลูกไม้ยางนาให้มากขึ้น
ในปัจจุบันมีการส่งเสริมการปลูกสร้างสวนปุาของไม้วงศ์ยางอย่างกว้างขวาง ดังนั้นการปรับปรุงกล้าไม้
ให้มีคุณภาพและแข็งแรงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ท้า ให้การปลูกสร้างสวนปุาประสบผลส้าเร็จ และในวิถีชีวิตของ
ชาวบ้านมีความผูกพันกับเห็ดปุานานาชนิด ซึ่งมีเห็ดจ้านวนมากที่เป็นเห็ดราพวกเอคโตไมคอร์ไรซา
หากมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับไม้ในวงศ์ยางอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับวงศ์ไม้ยางเพื่อ
ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรรณไม้ในวงศ์ยางในธรรมชาติให้คงอยู่ และเอื้อประโยชน์ต่อมนุษยชาติ
ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดจะศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนาด้วยการปลูกเชื้อด้วย
เห็ดเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีต่างๆ
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.2.1 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย
วิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดเปรียบเทียบกับกล้าไม้ยางนาที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา
1.2.2 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย
วิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเปรียบเทียบกับที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา
1.2.3 เพื่อศึกษาลักษณะรากของกล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา
1.3 สมมติฐานของการศึกษา
กล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ด
และวิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลืองมีการเจริญเติบโตมากกว่ากล้าไม้วงศ์ยางนาที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอค
โตไมคอร์ไรซา
1.4 ขอบเขตของการศึกษา
ตัวแปรที่ศึกษา
- ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น คือ การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของ
เห็ดและวิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง
- ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา
- ตัวแปรควบคุม คือ ดินปลูก ปริมาณน้้า ความชื้น อุณหภูมิ ระยะเวลา ขนาดถุงเพาะ ระยะห่าง
ของถุงเพาะกล้าไม้
1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ
1.5.1 ได้เรียนรู้วิธีการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดและ
วิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง
1.5.2 ได้ทราบถึงประโยชน์และความสัมพันธ์ของเห็ดปุาไมคอร์ไรซาในท้องถิ่นกับไม้วงศ์ยางนา
1.5.3 ได้เทคนิคและวิธีการศึกษาลักษณะรากเอคโตไมคอร์ไรซาของไม้วงศ์ยางนาด้วยกล้องจุลทรรศน์
แบบ 3 มิติ
2
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้จัดท้าโครงงานได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยน้าเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
ดังนี้
2.1 เอคโตไมคอร์ไรซา
เอคโตไมคอร์ไรซ่า (Ectomycorrhiza) คือ เห็ดราไมคอร์ไรซาที่อาศัยอยู่บริเวณเซลล์ผิวของราก
ภายนอกของพืชหรือต้นไม้ เส้นใยของเชื้อราจะประสานจับตัวกันแน่น ภายนอกผิวรากคล้ายรากฝอยมีสีต่างๆ
กัน เช่น สีขาว สีทอง สีเหลือง สีน้้าตาล สีแดง สีด้า รากที่มีเชื้อราไมคอร์ไรซาเกาะอยู่จะมีลักษณะแตกเป็นง่าม
เป็นกระจุก บวมโต รากจะมีรูปร่างแตกต่างจากรากปกติที่ไม่มีไมคอร์ไรซาช่วยหาน้้าและธาตุอาหารให้แก่ราก
บริเวณผิวดินลึกประมาณ 10 – 20 เซนติเมตร สีของรากจะแปรเปลี่ยนสีเข้มขึ้นตามอายุขัยของเชื้อราไมคอร์
ไรซาและแล้วแต่ชนิดของเชื้อรา แตกกิ่งก้านเป็นง่าม หลายง่ามหรือรากเดี่ยวๆ ส่วนใหญ่เชื้อราเอ็คโตไมคอร์ไร
ซาเป็นราชั้นสูง จัดจ้าแนกอยู่ใน Phylum Basidiomycota Ascomycota และ Zygomycota ส่วนใหญ่เป็น
ราที่สร้างดอกเห็ดขนาดใหญ่เหนือผิวดินใต้ร่มไม้ที่มันอาศัยอยู่ซึ่งอยู่ในพวก Basidiomycota และ
Ascomycota ส่วน Zygomycota จะมีดอกเห็ดขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องส่องดูด้วยกล้อง
จุลทรรศน์ พวกเห็ดราที่อยู่ในกลุ่ม Basidiomycota จะสร้างดอกเห็ด (Mushrooms) ขนาดใหญ่ มีทั้งที่กินได้
(Edible) ชนิดที่กินไม่ได้ (Non-edible) ชนิดที่มีพิษ (Poisonous) และเห็ดสมุนไพร (Medicinal)
เห็ดราเอ็คโตไมคอร์ไรซามีมากกว่า 5,000 ชนิด พืชหรือต้นไม้ที่สัมพันธ์กับรากลุ่มนี้มีไม่น้อยกว่า 2,000 ชนิด
หรือประมาณ 10–20% ของพืชชั้นสูง ที่ส้าคัญได้แก่ไม้ในวงศ์สนเขา (Pinaceae) วงศ์ไม้ยาง
(Dipterocarpaceae) วงศ์ไม้ยูคาลิปตัส (Myrtaceae) วงศ์ไม้มะค่าโมง (Caesalpinaceae) วงศ์ไม้ก่อ
(Fagaceae) วงศ์ไม้ก้าลังเสือโคร่ง (Betulaceae) วงศ์ไม้สนทะเล (Casuarinaceae) และวงศ์ไม้ถั่ว
(Leguminosae) การมีชีวิตอยู่ร่วมกันระหว่างเชื้อรากับระบบรากของต้นไม้มีความส้าคัญยิ่งต่อกระบวนการ
ทางสรีรวิทยา และการเจริญเติบโตของต้นไม้ ท้าให้ระบบนิเวศปุาไม้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในปุาธรรมชาติ
(Natural forests) และในสวนปุา (Plantations) จะมีเห็ดราไมคอร์ไรซากลุ่มนี้กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไป เช่น ปุา
ไม้สน (Pine forests) ปุาดิบชื้น (Tropical rain forests) ปุาเต็งรัง (Mixed decideous drydipterocarp)
ปุายาง (Dipterocarp forests) ปุาดิบเขา (Semievergreen forests) ปุาเบญจพรรณ (Mixed decideous
forests) สวนปุาไม้สนเขา (Pine plantations) สวนปุาไม้ยูคาลิปตัส (Eucalyptus plantations) และสวนปุา
ไม้วงศ์ไม้ยาง (Dipterocarp plantations) เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเอคโตไมคอร์ไรซากับต้นไม้
เอคโตไมคอร์ไรซา เป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่กับรากของต้นไม้และไม่ก่อให้เกิดโรค ส่วนใหญ่ราเอกโตไม
คอร์ไรซ่าเป็นราชั้นสูงซึ่งสามารถสร้างดอกเห็ดได้ดี มีทั้งที่ดอกเห็ดรับประทานได้และเป็นเห็ดพิษ โดยจะสร้าง
ดอกเห็ดเหนือพื้นดินใต้ร่มไม้บริเวณรากผิวดินเล็กน้อยการอาศัยอยู่ร่วมกันนี้เป็นแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
โดยราเอ็คโตไมคอร์ไรซาจะมีเส้นใยปกคลุมรอบๆ รากพืช และท้าหน้าที่หาแร่ธาตุ อาหาร และน้้าแทน ท้าให้
รากพืชไม่ต้องท้างานหนักมาก ในขณะที่พืชจะสร้างสารอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ ส่งกลับไปเลี้ยงเชื้อรา
ให้เจริญเติบโต นอกจากนี้ราเอ็คโตไมคอร์ไรซายังช่วยปูองกันรากพืชจากเชื้อ ที่ก่อให้เกิดโรค และช่วยให้พืช
สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ได้ โดยราชนิดนี้สามารถสร้างกรดอินทรีย์บางชนิด ไปย่อย
สลายแร่ธาตุอาหารที่อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ให้ละลายไปเป็นรูปที่พืชใช้ประโยชน์ได้ พืชจึงมี
อัตราการเจริญ เติบโตที่สูง และมีอัตราการตายของกล้าไม้ต่้าเมื่อย้ายปลูก ราเอ็คโตไมคอร์ไรซามีความจ้าเพาะ
กับพืชค่อนข้างมาก จึงไม่ค่อยพบ ขึ้นทั่วไป ในไทยจะพบมากในปุาเต็งรัง
การมีชีวิตอยู่ร่วมกันของเชื้อรานี้กับต้นไม้มีบทบาทอย่างส้าคัญยิ่งต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาและ
ระบบนิเวศของพืชปุาไม้ ตามรากของต้นไม้ในปุาธรรมชาติจะมีเชื้อราไมคอร์ไรซ่ากระจายอยู่ทั่วไป เช่น ปุาสน
เขา ปุาเต็งรัง ปุายาง และสวนยูคาลิปตัส เป็นต้น การกระจายของราพวกนี้มีความสัมพันธ์กับสภาพทาง
ภูมิศาสตร์ ความชื้น และปัจจัยทางระบบนิเวศน์ของปุาเป็นส้าคัญในทั่วทุกภาคของประเทศ
ภาพที่ 2.1 ลักษณะรากพืชที่มีเอ็คโตไมคอร์ไรซาอาศัยอยู่
(ที่มา : http://mycorrhizas.info/ecm.html)
ประโยชน์ของเอคโตไมคอร์ไรซา
1. ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวและปริมาณของรากพืชและต้นไม้
2. ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานให้แก่ระบบรากของต้นไม้
3. ช่วยเพิ่มความสามารถในการดูดซับน้้าและแร่ธาตุอาหารให้แก่ต้นไม้ เช่น ฟอสฟอรัส (P) ไนโตรเจน (N)
โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) และธาตุอื่นๆ ซึ่งธาตุเหล่านี้เชื้อราจะดูดซับไว้และสะสมในรากและซึมซับขึ้น
ส่วนต่างๆของต้นไม้ ช่วยในการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) ของพืช
4. ช่วยย่อยสลายและดูดซับธาตุอาหารจากหินแร่ในดินที่สลายตัวยาก และพวกอินทรีย์สารต่างๆ ที่ยังสลายตัว
ไม่หมด ให้พืชสามารถน้าเอาไปใช้ประโยชน์ได้
5. ช่วยเพิ่มอายุให้แก่ระบบรากของพืชและต้นไม้
6.ช่วยปูองกันโรคที่จะเกิดกับระบบรากของพืชและต้นไม้
7. ช่วยให้ต้นไม้มีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพพื้นที่ที่แห้งแล้ง ทนทานต่อความเป็นพิษของดิน และทนทาน
ต่อความเป็นกรด-ด่างของดิน ช่วยปรับความเป็นกรด-ด่างของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้
4
8. ช่วยเพิ่มพูนความเจริญเติบโตของต้นไม้ 1-7 เท่าจากอัตราปกติ
9. ดอกเห็ดไมคอร์ไรซาสามารถใช้เป็นอาหารรับประทานได้ แม้ว่าบางชนิดจะมีพิษอยู่บ้างแต่เป็นส่วนน้อย
บางชนิดใช้เป็นเห็ดสมุนไพร
10. ช่วยให้มีการย่อยสลายของซากพืชและแร่ธาตุที่ไม่เป็นประโยชน์ให้กลับกลายเป็นธาตุอาหารที่มีประโยชน์
ต่อต้นไม้
11. ช่วยเสริมสร้างระบบนิเวศปุาไม้ให้มีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น ท้าให้ปุามีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น
2.2 ข้อมูลเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา 15 ชนิด
1.เห็ดไคล, เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง (Russula virescens Fr.) วงศ์ Russulaceae
ดอกเห็ดมีขนาด 3-12 เซนติเมตร ดอกอ่อนโค้งเป็นรูปทรงกลม มีสีเขียวออกเหลือง สีน้้าตาล
เขียว หรือสีเขียวหม่น ผิวเรียบแล้วปริแตกเป็นเกล็ดเห็นเนื้อภายในเป็นสีขาว เมื่อดอกบานริมขอบจะโค้งงอ
ลงแล้วยกขึ้นเมื่อบานเต็มที่ ริมขอบจะแตกเป็นร่อง ตรงกลางเว้าตื้น ครีบถี่ สีขาวหรือสีขาวนวล ยึดติด
ก้าน ก้านกว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ก้านสีขาว รูปทรงกระบอก ผิวค่อนข้างเรียบ โคน
ก้านจะเรียวเล็กกว่าเล็กน้อย ดอกอ่อนก้านจะตัน พบบนดินในปุาก่อ ปุาทั่วไป และปุาสน ขึ้นดอกเดียว
หรือกระจาย 2-3 ดอก กินได้ มีกลิ่นหอม รสดี เห็ดสกุลนี้เป็นเห็ดที่อาศัยร่วมอยู่กับรากของต้นไม้ เป็น
เห็ดที่เปราะและหักง่าย บทบาทในระบบนิเวศ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza)
ภาพที่ 2.2 เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง (Russula virescens Fr.)
2. เห็ดก่อแดง (Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray) วงศ์ Russulaceae
หมวก 3-10 ซม. นูน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย เรียบ หนืดมืด ขอบงอลง แดงไปจนถึงแดงชมพู
ครีบ ติดก้าน กว้าง เรียงถี่ ขาวหรือเหลืองอ่อน ก้าน 5-10 x 1-2 ซม. ทรงกระบอก มักมีรอยย่นยาว ขาว เนื้อ
แน่น ขาว สปอร์ 7.5-12 x 6-9 μm ทรงรียาว มีปุุมนูนใหญ่และเส้นละเอียดเชื่อมเป็นตาข่ายรูห่าง ที่อยู่อาศัย
บนพื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา กินได้ กินได้ เมื้อต้มสุก รสเผ็ด บทบาทในระบบนิเวศ พึ่งพาอาศัย
ซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza)
ภาพที่ 2.3 เห็ดก่อแดง (Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray)
5
3. เห็ดดิน, เห็ดขาวดิน (Russula sp.) วงศ์ Russulaceae
ขึ้นบนพื้นดิน ดอกเดี่ยว ดอกสีขาวขอบหมวกมีริ้ว มักฉีกแยกเมื่อแก่ขนาดเล็ก พึ่งพาอาศัยซึ่งกัน
และกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) กินได้ชาวบ้านใช้เป็นอาหาร
ภาพที่ 2.4 เห็ดดิน, เห็ดขาวดิน (Russula sp.)
4. เห็ดหน้าม่วง, เห็ดหน้าแหล่ Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr. วงศ์ Russulaceae
หมวกเห็ดรูปทรงกระทะคว่้า มีหลายสีในดอกเดียวกัน เช่น สีเขียวอ่อนอมเหลืองและม่วง สีม่วงปน
ชมพู สีม่วงอ่อนปนขาวนวล สีม่วงปนน้้าเงินอ่อนและชมพู เส้นผ่านศูนย์กลาง ๕-๑o ซม. เมื่อเป็นดอกอ่อน
ขอบม้วนงอเข้าจนเกือบเป็นรูปกลม กลางหมวกเว้าตื้น ครีบสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีขาวนวล เรียว เรียงกันถี่
และบางแห่งเชื่อมติดกันเป็นรูปส้อมก้านสีขาว ยาว ๒-๑o ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑-๓ ซม. ผิวเรียน เนื้อใน
เห็ดสีขาวนวล มักเป็นรูพรุน สปอร์รูปรี สีขาว ขนาด ๖-๗ x ๗-๙ μm ผิวขรุขระ
เห็ดหน้าม่วงมีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคเหนือขึ้นในปุาเบญจพรรณ กินได้ พบในเขต
อบอุ่นทั่วโลก
ภาพที่ 2.5 เห็ดหน้าม่วง, เห็ดหน้าแหล่ (Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr.)
5. เห็ดเผาะฝ้าย,เห็ดเหียง (Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.) วงศ์Schlerodermataceae
ดอกเห็ดเกิดเดี่ยว กระจัดกระจายหรือเกิดเป็นกลุ่มในดินทราย ดอกขาดกว้าง 4-9 เซนติเมตร สูง
1-2.5 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ รูปร่างของดอกประกอบด้วยถุงลมใส่สปอร์และผนังชั้นนอกที่แตกออกเป็น
แฉก 6-12 แฉก ถุงใส่สปอร์มีลักษณะเป็นถุงกลม สีเขียวขี้ม้าหรือเทาอ่อน ยืดหยุ่นยุบตัวได้เมื่อมีแรงมา
กระทบภายในบรรจุผงสปอร์สีน้้าตาล สปอร์ขนาด 8.75-15.2 μm รูปร่างกลม ผิวมีหนามรอบสปอร์ พบ
เป็นไมคอไรซากับพืช เช่น พะยอม เหียง พลวง พบได้ทั่วไป กินได้
6
ภาพที่ 2.6 เห็ดเผาะฝูาย,เห็ดเหียง (Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.)
6. เห็ดถ่านใหญ่ (Russula nigricans (Bull.) Fr.) วงศ์ Russulaceae
หมวก 5-20 ซม. นูน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย แห้งขาวหม่น เปลี่ยนเป็นน้้าตาลแล้วด้า ครีบติด
ก้าน หนา เรียงห่าง มีครีบสั้นๆสลับครีมแล้วเปลี่ยนเป็นด้าเมื่อแก่ ก้าน 3-8 x 1-3 ซม. ทรงกระบอก ขาว เมื่อ
ช้้าเปลี่ยนเป็นน้้าตาลแล้วด้า เนื้อ ขาว เปลี่ยนเป็นแดงแล้วด้าเมื่อช้้า ทั้งดอกเปลี่ยนเป็นด้าเมื่อแก่ สปอร์ 7-8 x
6-7 μm เกือบกลม มีปุุมเล็กๆ และเส้นละเอียดสานเป็นตาข่ายบางส่วน ขาวบนกระดาษพิมพ์ ที่อยู่อาศัย บน
พื้นดินในปุาผลัดใบและปุาสน เอคโตไมคอร์ไรซา กินได้
ภาพที่ 2.7 เห็ดถ่านใหญ่ (Russula nigricans (Bull.) Fr.)
7. เห็ดผึ้งแย้, เห็ดผึ้งหวาน (Boletus queletii Schulzer) วงศ์ Boletaceae
หมวกดอกขนาด 1.8-8.2 เซนติเมตร ผิวหมวกแห้ง เรียบ สีน้้าตาลอมเหลือง น้้าตาลอมแดงหรือ
ส้มอมแดง เปลี่ยนเป็นสีน้้าเงินถึงน้้าเงินอมด้าอย่างรวดเร็วเมื่อช้้า เนื้อในสีเหลืองสว่าง เปลี่ยนเป็นสีน้้าเงิน
เข้ม รูสีเหลืองอ่อน กลม ชิดก้าน ผิวก้านมีกลุ่มจุดเล็กสีแดง โคนก้านพบกลุ่มขนสีเหลือง หรือสีแดงเข้ม
เนื้อในก้านตัน สีเหลืองสว่าง สปอร์รูปเรียวยาวคล้ายเมล็ดข้าวสาร ผิวเรียบ ขนาด 4-6 x 8-14.5 μm
ภาพที่ 2.8 เห็ดผึ้งแย้, เห็ดผึ้งหวาน (Boletus queletii Schulzer)
8. เห็ดหน้าวัว, เห็ดหน้างัว (Russula foetens (Pers.) Fr.) วงศ์ Russulaceae
ดอกมีขนาด 5-12 เซนติเมตร ดอกรูปทรงกระทะคว่้า ตรงกลางเว้าตื้น ผิวเป็นเมือกเมื่อเปียกน้้า
มีแผ่นสะเก็ดขนาดใหญ่ มีสีเหลือง สีน้้าตาลเหลือง ครีบสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ครีบห่าง ชิดก้าน ก้านรูป
7
ทรงกระบอก สีขาว สีขาวครีม หรือสีเหลืองอ่อน เนื้อด้านในเป็นโพรง ไม่นิยมรับประทาน มีกลิ่นเหม็น
สปอร์สีขาวครีม ค่อนข้างกลม ผิวขรุขระ เป็นหนาม ขนาด 5-9 x 8-10 μm พบบนดินในปุาสน และ
ปุาเบญจพรรณ กินได้
ภาพที่ 2.9 เห็ดหน้าวัว, เห็ดหน้างัว (Russula foetens (Pers.) Fr.)
9. เห็ดก้นครก, เห็ดหล่มญี่ปุ่น (Russula japonica Hongo) วงศ์ Russulaceae
หมวก 6-10 ซม. นูนแล้วเป็นรูปกรวยกว้าง เรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อยเมื่อดอกแก่ ขาว ปน เปื้อนเหลืองหม่นหรือ
น้้าตาลอ่อน ครีบ เรียวติดก้านเล็กน้อย แคบ เรียงถี่ เหลืองอ่อนถึงเหลืองอมน้้าตาลอ่อน ก้าน 3-6 x 1.5-2
ซม. ทรงกระบอก เรียบ ขาว ปนเปื้อนน้้าตาลอ่อน เนื้อ แน่น ขาวเหลือง สปอร์ 6-7 x 5-6 μm เกือบกลม มี
ปุุมเล็กๆ กับเส้นละเอียดเชื่อมกันเป็นร่างแหบางส่วน ที่อยู่อาศัย บนพื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา
กินได้
ภาพที่ 2.10 เห็ดก้นครก, เห็ดหล่มญี่ปุุน (Russula japonica Hongo)
10. เห็ดมันปู, เห็ดขมิ้นน้อย (Cantharellus minor Peck) วงศ์ Cantharellaceae
หมวกเห็ดรูปกรวยลึก สีเหลืองเข้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-7 ซม. สูง 2-6 ซม. ขอบหหมวกบานออกเป็นรูป
ปากแตรและหยักหย่อนเป็นคลื่น เนื้อบาง ยืดหยุ่นเล็กน้อย ผิวเรียบหรือมีเส้นนูยเล็กๆ ด้านล่างสีเหลืองนวล
และเป็นสันเตี้ยๆ ตามยาว ก้านสีเดียวกับหมวก ยาว 1-2 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านและหมวก
แยกสัดส่วนกันไม่ชัดเจน สปอร์รูปรี สีเหลืองอมส้ม ขนาด 4.5 x 8.9 μm ผิวเรียบ ผนังบาง เห็ดขมิ้นชนิดนี้มี
เขตกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นเป็นกลุ่มโคนติดกันบนพื้นดิน
ในปุา มีกลิ่นหอมๆ คล้ายกลิ่นดอกขจร กินได้ ในต่างประเทศพบที่อเมริกา
ภาพที่ 2.11 เห็ดมันปู, เห็ดขมิ้นน้อย (Cantharellus minor Peck)
8
11. เห็ดข้าวจี่, เห็ดไข่เยี่ยวม้า (Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.) วงศ์ Amanitaceae
ขึ้นบนพื้นดิน ดอกเดี่ยวหรือกลุ่ม หมวกรูปไข่นูนแล้วแบน สีเทาปนน้้าตาล หนืดเมื่อเปียกชื้น
พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) กินได้ ใช้เป็นอาหาร
ภาพที่ 2.12 เห็ดข้าวจี่, เห็ดไข่เยี่ยวม้า (Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.)
12. เห็ดระโงกเหลือง, เห็ดไข่เหลือง (Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas.)
วงศ์ Amanitaceae
ขึ้นดอกเดี่ยวขนาด 5-12 เซนติเมตร ดอกอ่อนคล้ายไข่ ดอกมีเหลืองจางหรือเหลือง ครีบสีขาว
หรือขาวครีม ครีบถี่ ครีบห่างก้าน ก้านทรงกระบอกสีเหลืองอ่อนผิวมีขนสีส้มเป็นริ้วเรียงเป็นวงรอบก้าน
และมีเยื่อหุ้มสีขาวรูปถ้วยที่โคนก้าน ก้านกลวง มีวงแหวนเป็นแผ่นบางสีเหลองนวลอยู่ด้านบนของก้าน
สปอร์กลมรี สีขาวผิวเรียบ ขนาด 5-7 x 7-9 μm พบบนพื้นดินในปุาเต็งรัง กินได้
ภาพที่ 2.13 เห็ดระโงกเหลือง, เห็ดไข่เหลือง (Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas.)
13. เห็ดไส้เดือน (Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb.)
วงศ์ Amanitaceae ดอกเดี่ยวขนาดกว้าง 5-6 เซนติเมตร สีน้้าตาลเข้มที่กลางหมวกแล้วค่อยจาง
ลงมาทางขอบหมวก เห็นรอยตามร่องครีบเล็กๆที่ริมขอบ ครีบสีขาวครีม ครีบถี่ ครีบห่างก้าน ก้าน
ทรงกระบอกโคนใหญ่ปลายเรียว สีขาวครีม มีริ้ว ถ้วยที่โคนก้านสีขาวขนาดเล็ก ก้านกลวง มีวงแหวนเป็น
แผ่นบางสีขาว หลุดง่าย อยู่ด้านบนของก้าน สปอร์กลมรี สีขาวผิวเรียบ ขนาด 9-10 x 9-11 μm กิน
ได้
ภาพที่ 2.14 เห็ดไส้เดือน (Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb.)
14. เห็ดข้าวแป้ง, เห็ดดอกส้าน (Amanita mira Cor. & Bas.) วงศ์ Amanitaceae
9
หมวก 4-6 ซม. รูปนูนแล้วแบน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย ผิวสีเหลืองสดไปจนสีเหลืองหม่น สีจางไปยังขอบ
มีปมเล็กๆสีเหลืองอ่อนรูปสามเหลี่ยม มักหลุดหายไปเมื่อถูกฝน มีริ้วจากขอบไปถึงกึ่งกลางหมวก ครีบ ไม่ติด
ก้าน กว้างเล็กน้อย เรียงถี่ บาง ขาว ก้าน 4-8 x 0.3-0.6 ซม. โคนใหญ่ ขาว บริเวณโคนมีปุุมเล็กๆเรียงเป็น
วงกลม 2-4 ชั้น เนื้อ ขาว เหลืองอ่อนบริเวณโคน สปอร์ 6.5-8 x 6-7.5 μm เกือบกลม เรียบ ผนังบาง
ภายในมีหยดน้้ามันหนึ่งหรือหลายหยด ขาวบนกระดาษพิมพ์ ที่อยู่อาศัย เกิดเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มบน
พื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา ไม่มีข้อมูลว่ากินได้
ภาพที่ 2.15 เห็ดข้าวแปูง, เห็ดดอกส้าน (Amanita mira Cor. & Bas.)
15. เห็ดระโงกขาว, เห็ดไข่ (Amanita princes Coner et Bas) วงศ์ Amanitaceae
ดอกเห็ดอ่อนมีเยื่อหุ้มหนารูปไข่ สีขาวนวล ขนาด 2×2 เซนติเมตร เมื่อเจริญขึ้นผิวด้านบนปริแตกออกเป็นรูป
ไข่ สีเหลืองอ่อนหรือขาวนวล เมื่อบานกางออกเป็นรูปกระทะคว่้าแล้วแบนราบ เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-20
เซนติเมตร ผิวเรียบเป็นมัน เมื่อจับจะหนืดมือ ขอบเป็นริ้วยาว 0.5-1 เซนติเมตร โดยรอบเห็นชัดเจนตั้งแต่เริ่ม
โผล่ออกจากเยื่อหุ้มดอกเห็ด บางดอกมีเยื่อหุ้มเป็นแผ่นใหญ่ติดอยู่บนหมวก หลุดง่าย ครีบสีขาวแล้ว
เปลี่ยนเป็นสีขาวนวล ก้านรูปทรงกระบอก สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ยาว 10-20 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-
2 เซนติเมตร ภายในสีขาว เนื้อเป็นเส้นใยหยาบๆ เปราะและหักง่าย แอนนูลัส เป็นแผ่นบางสีขาวห้อยติดอยู่
บนก้านเมื่อดอกบานค่อนข้างกลม ขนาด7-10 × 8-10 ไมโครเมตร
ภาพที่ 2.16 เห็ดระโงกขาว, เห็ดไข่ (Amanita princes Coner et Bas)
10
2.3 วิธีการการเพาะเชื้อให้กับต้นกล้าไม้ มีหลายวิธี ดังนี้
1. การใช้ดินเชื้อ (Soil inoculum)
ในอดีตการใช้ดินหัวเชื้อไมคอร์ไรซาซึ่งเก็บจากบริเวณแหล่งก้าเนินของต้นไม้ที่มีเชื้อไมคอร์ไรซาอยู่
ในธรรมชาติ เป็นวิธีปฏิบัติอย่างได้ผลดีมานาน และในปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมใช้กันอยู่ วิธีการ คือ น้าดินเชื้อไม
คอร์ไรซ่าที่ปริมาณห่างจากล้าต้นไม้เกิน 50 ซม. โดยรอบและขุดลึกประมาณ 10 – 20 ซม. ให้มีรากเดิมติดมา
ด้วย แล้วน้าไปใช้ทันทีหรือเก็บไว้ในที่ร่มประมาณไม่เกิน 7 วัน เชื้อไมคอร์ไรซาที่ติดอยู่กับดินจะน้าไปคลุกกับ
ดินเพาะอัตรา 1:6 ถึง 1:10 ส่วน แล้วเพาะเมล็ดและต้นกล้า วิธีนี้ข้อดีคือประหยัดเสียค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ต้องใช้
วิธียุ่งยากซับซ้อนง่ายต่อการปฏิบัติ ข้อเสียคือ ดินมี่น้้าหนักมา ขนย้ายระยะทางไกล ๆ ไม่สะดวก เราไม่
สามารถทราบชนิดเชื้อเห็ดราไมคอร์ไรซาที่เหมาะสมกับต้นกล้าได้ และดินอาจมีเชื้อโรคติดมาระบาดต้นกล้าได้
ง่าย วิธีการแก้ไข ต้องเลือกดินรากต้นแม่ที่สมบูรณ์ปราศจากโรค และควรปัดกวาดซากพืชหน้าดินออกให้
สะอาดก่อนขุดินน้าเอไปใช้เพาะต้นกล้า
2. การใช้สปอร์ (Spore inoculum)
สปอร์ของเห็ดราบางชนิดสามารถเก็บได้ในบริมาณมาก เช่น เห็ดหัวเข่า (Pisolithus tinctorius)
เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) เห็ดลูกฝุุน (Rhizopogon spp.) และเห็ดทรงกลม (Scleroderma
spp.) เราสามารถน้าสปอร์ไปละลายน้้าหรือใช้สปอร์โดยตรงคลุกกับเมล็ดพันธุ์ก่อนเพาะกล้า หรือน้าสปอร์
ละลายน้้าในอัตราส่วน 1:1000 แล้วฉีดพ่นกับต้นกล้าหรือเมล็ดพันธุ์ในแปลกเพาะ ข้อดีวิธีการนี้คือ น้าไป
ปฏิบัติได้ง่าย ได้พันธุ์เห็ดที่ทราบชื้อชนิดพันธุ์ได้ แต่มีข้อเสียคือ เราไม่สามารถเก็บสปอร์ในปริมาณมาก ๆ ได้
ไม่สามารถคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดีมีประสิทธิภาพสูง และสปอร์มีระยะพักตัว มีการงอกที่ไม่สม่้าเสมอ สปอร์บาง
ชนิดมีอัตราการงอกต่้า ต้องใช้วิธีกระตุ้นเป็นพิเศษจึงจะสามารถงอกได้ สปอร์ สามารถท้าเป็นเม็ดไมคอร์ไรซา
(Mycorrhizal tablelts) ได้
3. การใช้ดอกเห็ด (Sporocarp inoculum)
การใช้ดอกเห็ดหรือชิ้นส่วนของดอกเห็ดน้าไปบดให้มีขนาดเล็กแล้วน้าไปผสมน้้าที่สะอาดอัตราส่วน
1:1000 ฉีดพ่นบนเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าในแปลงเพาะเป็นวิธีการใช้ได้ผลดี แต่มีข้อเสียตรงที่การเก็บดอกเห็ด
ต้องรอช่วงฤดูฝน จึงจะสามารถเก็บดอกเห็ดไปปริมาณมาก ๆ ได้ และวิธีการนี้ต้องรีบน้าดอกเห็ดมาใช้ทันที
มิฉะนั้นดอกเห็ดจะเน่าสลายเสียก่อน
4. การใช้เส้นใย (Mycelial inoculum)
การเลี้ยงขยายเชื้อจากดอกเห็ดเป็นวิธีการที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เพราะเราสามารถคัดเลือกสาย
พันธุ์เห็ดราไมคอร์ไรซ่าพันธุ์ดี น้าไปขยายกับ Vermiculite ผสม Peat moss และสารเคมีเสริมการ
เจริญเติบโต การเลี้ยงเชื้อในอาหารเทียม เช่น Potato-Dextrose Agar (PDA) หรือ Modified Melin-
Norkran Medium (MMN) ซึ่งมีสูตรดังนี้ CaCl2 0.5 g. NaCl 0.025 g. KH2Po4 0.5 g. MgSO4 • 7 H2O
0.15 g. 1% FeCl3 1.2 ml Thiamine HCl 100 mg. Malt extract 3 g. glucose 10 g. Difco Agar 15–
20 g. Distilled water 1,000 ml. pH 5.5-7.5 เชื้อราจะเจริญเติบโตได้ดี ราไมคอร์ไรซาบางชนิดไม่สามารถ
เลี้ยงเชื้อในอาหารเทียมได้
11
2.4 ลักษณะของพรรณไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae)
พรรณไม้วงศ์ยางเป็นไม้ยืนต้นตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ บางชนิดสูงถึง 60 เมตรผลัดใบ หรือไม่
ผลัดใบ เนื้อไม้มียางใสเหนียวหรือชัน (Resin) ที่มีกลิ่นหอมฉุนเฉพาะตัว ล้าต้น ส่วนมากเปลาตรง โคนมีหรือไม่
มีพูพอน อาจพบรากค้้ายัน เปลือก เรียบ เรียบและมีรอยวงแหวน แตกแบบสะเก็ดตามยาว หลุดล่อนเป็นแผ่น
ขนาดเล็กหรือใหญ่ หรือแตกเป็นร่องลึกตามยาวเปลือกชั้นในมีสีและลวดลายเฉพาะตัว หรือผันแปรเล็กน้อย มี
ชันสีขาว สีเหลือง สีเหลืองอ้าพันใสสีเหลืองปนสีน้้าตาล หรือสีน้้าตาลปนสีม่วงเข้ม ใสหรือขุ่น ไหลออกจาก
แผลหรือรอยปริแตกของเปลือก เรือนยอด เป็นพุ่มทรงกลม รูปร่ม รูปกรวยแหลม หรือรูปทรงกระบอก ตา
และปลายยอดอ่อน มักมีหูใบขนาดใหญ่คลุม เมื่อหูใบร่วงจะเห็นรอยแผลหูใบชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออก
เวียนสลับ รูปไข่ รูปไข่กว้าง รูปรี รูปรีกว้าง รูปหอก รูปขอบขนาน รูปขอบขนานแกมรูปหอก รูปหอกกลับ
หรือรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม เรียวแหลม หยักเป็นติ่งสั้นถึงคล้ายหางยาว มน หรือกลม โคนใบรูปลิ่ม แหลม
มน กลมถึงรูปหัวใจ หรือเบี้ยว ขอบใบ ส่วนมากเรียบ บางครั้งหยักเว้าเป็นคลื่น หยักมน หรือม้วนลง แผ่นใบ
ส่วนมากเหนียวคล้ายแผ่นหนัง หนามากหรือบาง แผ่นใบมักเรียบ และเกลี้ยงเป็นมันเงา ยกเว้นในบางสกุล
เช่น สกุลยาง (Dipterocarpus) และสกุลไข่เขียว (Parashorea) ซึ่งแผ่นใบมักจีบเป็นสันระหว่างเส้นแขนงใบ
และมีขอบใบเป็นคลื่น ลักษณะของเส้นแขนงใบและเส้นใบ มีทั้งหมด 6 แบบหลักๆ (ภาพที่ 3.2) คือ 1) เส้น
ใบแบบโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ (anastomosing) พบในสกุลเคี่ยม (Cotylelobium) และบางชนิดของสกุล
กระบาก (Anisoptera) 2) เส้นใบแบบขั้นบันได (scalariform) พบส่วนใหญ่ในสกุลยาง สยา และพบบางชนิด
ในสกุลตะเคียน 3) แบบขั้นบันไดห่าง พบในสกุลสยา กลุ่มกาลอ (Section Richetioides) และตะเคียนชันตา
แมว (Neobalanocarpus heimii) 4) เส้นใบแบบร่างแห (reticulate) พบส่วนมากในสกุลพันจ้า (Vatica)
หรือบางชนิดในสกุลกระบาก (Anisoptera) 5) เส้นใบแบบเส้นใบแซม (ระหว่างเส้นแขนงใบ)
(dryobalanoid) หรือ 6) แบบเส้นใบแซมกึ่งขั้นบันได (subdryobalanoid) พบในสกุลตะเคียน กลุ่มตะเคียน
ราก (Section Dryobalanoides)บางครั้งพบเส้นใบแบบผสม ได้แก่ แบบขั้นบันไดกึ่งโค้งจรดกันใกล้ขอบใบที่
พบบางชนิดในสกุลยาง หรือแบบร่างแหกึ่งขั้นบันได พบในบางชนิดของสกุลพันจ้า และบางชนิดในสกุล
กระบาก ตุ่มใบ (domatia) บางชนิดในสกุลตะเคียน (Hopea) และสกุลสยา (Shorea) อาจพบตุ่มใบที่ง่าม
เส้นแขนงใบ ซึ่งตุ่มใบมีทั้งหมด 3 แบบ (ภาพที่ 3.2) ได้แก่ แบบกระจุกขนสั้นหนาแน่น (pubescent) แบบ
หลุมตื้นหรือลึก (pore like) ภายในเกลี้ยงหรือมีขนสั้นภายใน และแบบแผ่นเนื้อเยื่อปกคลุมภายในเป็นโพรง
(cavity) ด้านในมีขนสั้นเล็กน้อยหรือไม่มีก้านใบ ส่วนมากคดงอมากหรือน้อย และมักจะปูดโปนช่วงปลาย
ดอก ของไม้วงศ์ยางเป็นแบบสมบูรณ์เพศ (bisexual) สมมาตรตามรัศมี (actinomorphic) ดอกออกเป็นช่อ
ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง (panicle) หรือช่อกระจะ (racemose) แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่าง
ละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง มีทั้งแบบซ้อนกัน (imbricate) และขอบกลีบเรียงจรดกัน (valvate) กลีบดอก เรียงซ้อน
กันปลายกลีบบิดเวียนคล้ายกังหันลม ร่วงหล่นง่าย มีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้ มีตั้งแต่ 5 อันขึ้นไป ปลายอับเรณูมี
รยางค์ เกสรเพศเมีย มี 1 อัน รังไข่ติดอยู่เหนือวงกลีบ (superior ovary) หรือกึ่งใต้วงกลีบ (semi-inferior
ovary) ก้านเกสรเพศเมียมักบวมพองตรงโคนเรียกว่า stylopodium รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่ 2 เมล็ด
หรือ 4 เมล็ด ติดอยู่รอบแกนร่วม (axile placenta) ผล ของไม้วงศ์ยางแบบเปลือกแข็ง (nut) ส่วนมากมีเมล็ด
เดียว เมื่อแห้งไม่แตก และมักมีปีกจ้านวน 2, 3 หรือ 5 ปีก เกิดจากกลีบเลี้ยงที่เจริญขยายตัวในระยะที่เป็นผล
โคนปีกแข็งหนาห่อหุ้มผลมิดหรือไม่มิด ลักษณะปีกแตกต่างในแต่ละสกุลดังนี้ สกุลยาง สกุลกระบาก สกุล
12
พันจ้า บางชนิด และสกุลตะเคียนเกือบทั้งหมด มีปีกยาว 2 ปีกๆ สั้น 3 ปีก สกุลไข่เขียวมีปีกยาวใกล้เคียงกัน
ทั้ง 5 ปีก สกุลตะเคียนชันตาแมว ไม่มีปีก เป็นกลีบเลี้ยงแข็งขอบเรียงซ้อนกันหุ้มที่โคนมีขนาดเกือบเท่ากัน
และสกุลพันจ้า บางชนิดไม่มีปีกหรือมีปีกสั้นแข็งพัฒนาเพียงเล็กน้อย ขอบกลีบเลี้ยงเรียงจรดกัน สกุลสยา
เกือบทั้งหมดมีปีกยาว 3 ปีกๆ สั้น 2 ปีก
การจ้าแนกชนิดพรรณไม้วงศ์ยางในประเทศไทย ทั่วโลกพบไม้วงศ์ยาง 17 สกุล ประมาณ 680 ชนิด
จ้านวนชนิดกว่า 2 ใน 3 พบได้บน เกาะบอร์เนียว และคาบสมุทรมาเลเซีย ซึ่งถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีพรรณไม้
วงศ์ยางหลากชนิดที่สุดในประเทศไทยมีความหลากชนิดของพรรณไม้วงศ์นี้ 8 สกุล 79 ชนิด และ 1 ชนิดย่อย
ในจ้านวนนี้ประมาณ 70 ชนิดพบได้ในภาคใต้ของประเทศ ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อกับคาบสมุทรมาเลเซีย
2.5 ข้อมูลไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด
1. ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่นๆ ยางขาว, ยางแม่น้้า, ยางหยวก (ภาคเหนือ); ยางควาย(หนองคาย); ยางกุง (เลย); ยางเนิน, ยางใต้
(ภาคตะวันออก) ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็งปานกลาง โตค่อนข้างเร็ว ผลัดใบช่วงสั้น ๆ ขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ
40 ม. ล้าต้นตรง มีพูพอนเปลือกแตกเป็นแผ่น ให้น้้ามันยางและชัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบ
ขนาดใหญ่ แผ่นใบด้านล่างมีขนรูปดาวสั้น ๆ เส้นแขนงใบเรียงขนานกัน ดอกมีริ้วสีชมพู 5 กลีบ บิดเวียน ยาว
ประมาณ 3 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น ปลายอับเรณูมีรยางค์รูปเส้นด้าย รังไข่มีขน
ผลมีหลอดกลีบเลี้ยงหุ้มจนมิด ยาว 2–2.5 ซม. มีครีบตามยาว 5 ครีบ ปีกยาว 2 ปีก ยาว 8–14 ซม. ปีกสั้น 3
ปีก ยาวประมาณ 1 ซม. เมล็ดมีขนสั้นนุ่ม ปลายมีติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์ ศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ
พม่าลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ไทย คาบสมุทรมลายู ฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาใน
ประเทศไทย ขึ้นในปุาดิบแล้ง เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นภาคใต้ตอนล่าง ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 ม.
ออกดอกประมาณปลายเดือนธันวาคมติดผลเดือนมีนาคม–พฤษภาคม ติดผลแทบทุกปี การสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาติค่อนข้างต่้า เมล็ดถูกแมลงเจาะท้าลายได้ง่าย ประโยชน์ เป็นไม้เศรษฐกิจที่ส้าคัญของประเทศในแถบ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้าง ชัน และน้้ามันยางซึ่งมีปริมาณมากใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสี
และแลกเกอร์ เนื้อไม้มีความแข็งปานกลาง แต่ไม่ทนทานนัก มีแมลงและเชื้อราเป็นศัตรูจ้านวนมาก ควรได้รับ
การอาบน้้ายา หรือใช้งานในร่ม และนิยมท้าเป็นไม้อัด การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด แต่มีปัญหาเรื่องคุณภาพของ
เมล็ดที่ถูกแมลงเจาะท้าลายได้ง่าย อายุสั้น เมล็ดที่เก็บบนต้นมีอัตราการงอกสูง เมล็ดงอกใช้เวลา 7–30 วัน
ก่อนเพาะควรเด็ดปีกทิ้ง ห้ามผึ่งแดด ให้เพาะในกระบะทราย การขยายพันธุ์โดยวิธีสับรากมอัตราการรอดตาย
สูงกว่าร้อยละ 50
ภาพที่ 2.17 ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don)
(ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555))
13
2. รัง (Shorea siamensis Miq.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก ฮัง ส่วนในภาษาเขมรเรียกว่า เรียงหรือพนมเรียง
ลักษณะวิสัย ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงได้ประมาณ 25 ม. เป็นไม้โตช้า บางพื้นที่ล้าต้นมักเปลาตรง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ส้าคัญ กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบรูปไข่ ปลายใบกลม ปลายมักเป็นติ่ง
แหลม โคนใบรูปหัวใจ ใบอ่อนสีน้้าตาลแดง ใบแก่เปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนหลุดร่วง เส้นแขนงใบข้างละ 9–16
เส้น ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกสีเหลือง กลีบดอกเรียงชิดบิดเวียนและพับงอกลับ รูปรีกว้าง ยาว 1.5–2 ซม.
เกสรเพศผู้มีประมาณ 15 อัน เรียง 2 วง วงนอกมี 10 อัน ปลายอับเรณูมีรยางค์ ยาวประมาณครึ่งหนึ่งของอับ
เรณู ผลรูปไข่ ยาว 1.5–2 ซม. เกลี้ยง มีปีกรูปใบพาย ปีกยาว 3 ปีก ยาว 5–8 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก เรียวแคบ ยาว
1–5 ซม.เขตการกระจายพันธุ์ พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายูตอนบนการกระจายพันธุ์และ
นิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่นหรือกระจัดกระจายในปุาเต็งรังปะปนกับ เต็ง
เหียง กราด หรือพลวง นอกจากนี้ยังพบปะปนในปุาเต็งรังผสมสนเขาโดยเฉพาะสนสามใบ จนถึงระดับความสูง
ประมาณ 1,300 เมตร และยังพบทั่วไปตามเขาหินปูนทางภาคใต้ ติดผลเดือนกุมภาพันธ์–เมษายน ประโยชน์
เนื้อไม้แข็งแรงและทนทาน ใช้ท้าประโยชน์เช่นเดียวกับไม้เต็ง ใบใช้ห่อขนมแทนใบตองได้การขยายพันธุ์ เพาะ
เมล็ด แต่เมล็ดสูญเสียการงอกเร็ว เมล็ดจะงอกทันทีหลังจากร่วงหล่นโดยเฉพาะถ้ามีน้้าฝน เก็บเมล็ดที่ร่วงและ
ก้าลังงอกเพาะลงใส่ถุงได้ทันที สามารถท้าเป็นเหง้าปลูกได้ หรืออาจใช้วิธีเก็บเมล็ดแก่บนต้น กองรวมกันคลุม
ด้วยกระสอบปุาน รดน้้าเช้าเย็นจนรากงอกแล้วเด็ดปีกก่อนย้ายลงถุง ตามภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัด
ยโสธรที่ปฏิบัติต่อเมล็ดพรรณไม้ในวงศ์ยาง
ภาพที่ 2.18 รัง (Shorea siamensis Miq.)
(ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555))
3. ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักเรียกว่า ตะแบงหรือสะแบง คล้ายกับยางกราด ลักษณะวิสัย ไม้ต้น
ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ อาจสูงได้ถึง 30 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ส้าคัญ ส่วนต่าง ๆ มีขนรูปดาวหรือ
เกือบเกลี้ยง ใบรูปรี ยาว 10–30 ซม. เส้นแขนงใบ 10–20 เส้น ในแต่ละข้าง ช่อดอกมีกาบหุ้ม ดอกบิดเวียน มี
5 กลีบ กลีบรูปใบหอก ยาว 4–6 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน อับเรณู ปลายมีรยางค์ ผลมีปีกยาว 2 ปีก
รูปใบพาย ยาว 8–15 ซม. ปีกสั้นรูปรี ยาว 1.5–2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–3 ซม.
ปีกอ่อนสีแดงสด เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู
การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นหนาแน่นเป็นกลุ่มใหญ่โดยเฉพาะในปุาเต็งรังในระดับต่้าๆ
แถบชายฝั่งทะเลจนถึงระดับความสูงกว่า 1,300 เมตร ในปุาเต็งรังผสมสนเขาทางภาคเหนือ และยังพบ
14
หนาแน่นบริเวณที่ราบสูงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง 3 ลุ่มน้้า โดยเฉพาะขึ้นปะปนกับยางกราด เต็ง และ
พลวง การสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติและแตกหน่อตามธรรมชาติดี ผลแก่ตั้งแต่เดือนมกราคม–พฤษภาคม การ
ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด ให้เด็ดปีกก่อนน้าไปเพาะ เก็บเมล็ดที่ร่วงและก้าลังงอกเพาะลงใส่ถุงได้ทันที
หรืออาจใช้วิธีเก็บเมล็ดใหม่ ๆ กองรวมกันคลุมด้วยกระสอบปุาน รดน้้าเช้าเย็นจนรากงอกแล้วเด็ดปีกก่อนย้าย
ลงถุง ตามภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติต่อเมล็ดพรรณไม้ในวงศ์ยาง ประโยชน์ เนื้อไม้
ค่อนข้างแข็ง แต่ไม่ทนทานส้าหรับการใช้งานกลางแจ้ง ทนปลวก เหมาะส้าหรับการก่อสร้างภายในท้า
เฟอร์นิเจอร์ หรือไม้อัด ชันใช้ท้าขี้ไต้แต่คุณภาพไม่ดีเท่าเหียงกราด
ภาพที่ 2.19 ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.)
(ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555))
4. พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น กะยอม, ขะยอมดง (ภาคเหนือ); ยางหยวก (น่าน); แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ); สุกรม (ภาค
กลาง); พะยอมทอง(ปราจีนบุรี) ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็งปานกลาง โตค่อนข้างช้า ผลัดใบช่วงสั้น ๆ หรือช่วง
นานขึ้นในปุาผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงได้ประมาณ 35 ม. มีพูพอน เปลือกหนาแตกเป็นร่องตามยาว
เปลือกใน เรียงเป็นชั้นสีเหลือง คล้ายกระบาก ชันสีเหลืองอ่อน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบรูปใบ
หอกขนาดเล็ก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีเกล็ดด้านล่าง ต้นกล้าแผ่นใบ
ด้านล่างมักมีขนสั้นนุ่ม เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกออกตามซอกใบ ยาว 3–8 ซม. ดอกสีครีม มี 5 กลีบ
ร่วงติดกัน เกสรเพศผู้ 15 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น ปลายอับเรณูมีรยางค์ ยาวประมาณ 1.5 เท่า ของความยาวอับ
เรณู รังไข่ เกลี้ยงช่วงโคน ยอดเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มเมล็ดเกือบมิด ปีกยาว 3 ปีก ยาว
5–10 ซม. ปีก สั้น 2 ปีก ยาว 3–6 ซม. โคนปีกหนา เมล็ดเกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์
อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศ
ไทย ขึ้นในปุาเต็งรัง ปุาเบญพรรณ ปุาดิบแล้ง และปุาดิบชื้น ทั่วทุกภาคของประเทศ บางครั้งพบตามปุา
ชายหาด ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 ม. ผลแก่ช่วงเดือนเมษายน–พฤษภาคมหรือเลยไปจนถึงเดือน
พฤศจิกายน
ภาพที่ 2.20 พะยอม (Shorea roxburghii G. Don)
(ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555))
15
5. ตะเคียนทอง (Hopea odorata Roxb.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น เคียน, ตะเคียน, ตะเคียนใหญ่ (ทั่วไป); จะเคียน(ภาคเหนือ); แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็ง โตค่อนข้างเร็ว ไม่ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ 45 ม. ล้าต้นเปลา
ตรง มีพูพอนที่โคน เปลือกหนาสีน้้าตาลด้า แตกเป็นร่องตามยาว หรือลอกเป็นสะเก็ด เปลือกในหนา สีเหลือง
ขุ่น มีริ้วสีชมพู ให้ชันสีขาว ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบขนาดเล็ก ใบโค้งคล้ายรูปเคียว ยาว 5–14
ซม. ด้านล่างมักมีต่อมที่ซอกระหว่างเส้นกลางใบกับเส้นแขนงใบ เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกยาว 3–10
ซม. แตกแขนงด้านเดียว ดอกขนาดเล็กมีกลิ่นหอม กลีบบิดเวียน ขอบเป็นชายครุย เกสรเพศผู้ 15 อันปลาย
อับเรณูเป็นรยางค์ รังไข่มีฐานก้านยอดเกสรเพศเมียผลมีปีก ยาว 2 ปีก ยาว 3–6 ซม. ปีก สั้น 3 ปีก ยาว 0.5–
0.7 ซม. เมล็ดมีเกล็ดเป็นขุย ปลายเป็นติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา
เวียดนาม ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายในปุาดิบแล้ง ปุา
ดิบชื้น และปุาบุ่ง-ปุาทาม ตามริมล้าธารปุาผลัดใบผสม และในที่ราบลุ่มใกล้แม่น้้าทั่วประเทศ ระดับความสูงไม่
เกิน 600 ม. ไม่พบขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่นเป็นบริเวณกว้าง ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์–มีนาคมหรือต้นเดือน
เมษายน ผลแก่เดือนพฤษภาคม–กรกฎาคม หรือเลยไปจนถึงเดือนพฤศจิกายน ส่วนมากจะออกดอกติดผลใน
รอบประมาณ 2–3 ปีประโยชน์ เนื้อไม้แข็ง ทนทาน สีเข้มเมื่อโดนอากาศ นิยมใช้ท้าเรือขุด ท้าไม้หมอนรถไฟ
เครื่องเรือน และการก่อสร้างที่ต้องการความแข็งแรง ชัน น้าไปผสมน้้ามันใช้ยาแนวเรือหรือเคลือบเงา มี
สรรพคุณทางสมุนไพรรักษาแผลสดเปลือกใช้เคี้ยวกับหมาก แก้ปวดฟัน นิยมปลูกเป็นพืชสวนปุา ให้ร่มเงาแก่
พืชเกษตรอื่นๆ การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักช้า เมล็ดที่ร่วงใหม่ ๆ หรือเมล็ดแก่บนต้น มีอัตราการงอกสูง
เมล็ดเก็บไว้ที่อุณหภูมิประมาณ 15 องศาเซลเซียส ได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์ เด็ดปีกทิ้งก่อนน้าไปเพาะ แช่น้้าไว้ 8–
12 ชั่วโมง เมล็ดงอกใช้เวลา 1–4สัปดาห์ การปลูกโดยเปลือยรากมีอัตราการรอดตายสูง แต่ต้องตัดแต่งราก
ก่อน
ภาพที่ 2.21 พะยอม (Shorea roxburghii G. Don)
(ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555))
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สมบูรณ์ บุญยืน (2532) ท้าการศึกษาผลกระทบของการเพาะเชื้อเอคโตไมคอร์ไรซา Pisolithus
tinctorius (Pers.) Coker & Couch ต่อ การเจริญเติบโตและการดูดซับธาตุอาหารของกล้าไม้ยูคาลิปตัส
คามาลดูเลนซิส และสนคาริเบียที่ปลูกบนมูลดินเหมืองแร่ พบว่า เมื่อกล้าไม้มีอายุ 6 เดือน กล้าไม้ที่ปลูกราเอค
โตไมคอร์ไรซา มีการเจริญเติบโตด้านความสูง เส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับคอราก มวลชีวภาพ น้้าหนักแห้ง
ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม สูงกว่ากล้าไม ้ที่ไม่ได้ปลูก ราเอคโตไมคอร์ไรซาอย่างมีนัยส้าคัญ
ธีระวัฒน์ บุญทวีคุณ (2533) ได้รายงานผลการทดลองการปลูกราเอคโตไมคอร์ไรซา P. tinctorius
ให้กับกล้าไม้สนสามใบ และสนคาริเบีย พบว่า การเจริญเติบโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอรากมวล
ชีวภาพน้้าหนักแห้ง ปริมาณการดูดซับ ธาตุฟอสฟอรัสในส่วน ของใบ ล้าต้น และราก มีความแตกต่างกันอย่าง
มีนัยส้าคัญระหว่างทรีทเมนต์ โดยที่ทรีทเมนต์ ที่ใส่ดินเชื้อให้ผลดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ทรีตเมนต์ที่ใส่สปอร์
ทรีตเมนต์ที่ใส่เส้นใย และทรีตเมนต์ที่ไม่ได้ปลูกราเอคโตไมคอร์ไรซา ตามล้าดับ
16
ทนุวงศ์ แสงเทียน และอุทัยวรรณ แสงวณิช (2537) ศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับ
การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา 3 ชนิด คือ เห็ดตะไคล เห็ดน้้าแปูง และเห็ดน้้าหมาก พบว่า กล้ายางนาที่
ปลูกเชื้อราด้วยชิ้นส่วนดอกเห็ดตะไคลมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด
อุทัย อันพิมพ์ และคณะ (2554) ได้ท้าการทดลองเอาน้้าปั่นสปอร์ของเห็ดระโงก เห็ดเผาะ เห็ดน้้า
หมาก ไปรดต้นยางนาในพื้นที่แปลงของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ต้นยางนามีการเจริญเติบโตได้
ดีกว่าต้นที่ไม่รดเชื้อเห็ด
17
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย

More Related Content

What's hot

โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
Aphinya Tantikhom
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
kand-2539
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 

What's hot (20)

โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟ
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Viewers also liked

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Ninna Natsu
 
รายงานประกอบBioweb
รายงานประกอบBiowebรายงานประกอบBioweb
รายงานประกอบBioweb
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
Chok Ke
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
Nomjeab Nook
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (12)

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Germanage R2M 2015 Report
Germanage R2M 2015 ReportGermanage R2M 2015 Report
Germanage R2M 2015 Report
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
รายงานประกอบBioweb
รายงานประกอบBiowebรายงานประกอบBioweb
รายงานประกอบBioweb
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย

M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
stampmin
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
Theyok Tanya
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
Wichai Likitponrak
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
ptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
ptrnan
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
Suriya Phongsiang
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
Suriya Phongsiang
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Permtrakul Khammoon
 

Similar to รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย (20)

M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
652 pre5
652 pre5652 pre5
652 pre5
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

More from Sircom Smarnbua

2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของไม้วงศ์ย

  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง : เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา โดย 1. นางสาวระพีพรรณ โทนะหงษา 2. นางสาวธันยพร บัวสิงห์ 3. นางสาววิภาดา มุ่งรายกลาง ครูที่ปรึกษา 1. นายศิริวุฒิ บัวสมาน 2. นางกรนันท์ วรรณทวี โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 3. ชื่อโครงงาน เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา ผู้ทาโครงงาน นางสาวระพีพรรณ โทนะหงษา นางสาวธันยพร บัวสิงห์ และนางสาววิภาดา มุ่งรายกลาง ครูที่ปรึกษา นายศิริวุฒิ บัวสมาน, นางกรนันท์ วรรณทวี สาขา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทโครงงาน ทดลอง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2558 บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย วิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ด 15 ชนิด คือ เห็ดไคล เห็ดก่อแดง เห็ดดิน เห็ดหน้าม่วง เห็ดเผาะฝูาย เห็ด ถ่าน เห็ดผึ้งแย้ เห็ดหน้าวัว เห็ดก้นครก เห็ดมันปู เห็ดข้าวจี่ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดไส้เดือน เห็ดข้าวแปูง และ เห็ดระโงกขาว มี 16 ทรีตเมนต์ แต่ละทรีตเมนต์มี 5 ซ้้า และศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด คือ ยางนา รัง ยางเหียง พะยอม และตะเคียนทอง ที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง เปรียบเทียบกับกล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราในสภาพเรือนเพาะช้า ใช้แผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 10 ทรีตเมนต์ แต่ละทรีตเมนต์มี 3 ซ้้า ท้าการวัดความสูง ความยาวรอบวงของล้า ต้นที่ระดับคอราก จ้านวนกิ่ง จ้านวนใบ ความกว้างและความยาวของใบ และสังเกตเส้นใยสีขาวบริเวณราก ของกล้าไม้ทุกๆ 3 เดือน จนครบ 1 ปี (กรกฎาคม 2557- กรกฎาคม 2558) จากการทดลอง พบว่า กล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดหน้า ม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดเผาะฝูาย มีความสูงของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดก่อแดง เห็ด หน้าม่วง และเห็ดไคล มีความยาวรอบวงของต้นกล้าบริเวณคอรากมากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้ยางนาที่ ใส่เชื้อเห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดไคล มีจ้านวนกิ่งและจ้านวนใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้าไม้ ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดดิน เห็ดก้นครก และเห็ดหน้าม่วง มีความกว้างของใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ กล้า ไม้ยางนาที่ใส่เชื้อเห็ดดิน เห็ดหน้าม่วง และเห็ดก้นครก มีความยาวของใบของต้นกล้ามากที่สุดตามล้าดับ ราก เอคโตไมคอร์ไรซามีสีน้้าตาลปนด้า รูปแบบการแตกแขนงเป็นแบบ monopodial pinnate ทุกต้นกล้า ยกเว้น กล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อรา ดังนั้น เห็ดที่เหมาะส้าหรับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาส้าหรับกล้ายางนา มากที่สุด คือ เห็ดหน้าม่วง เห็ดก่อแดง และเห็ดไคล ตามล้าดับ ส่วนการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด คือ ยางนา รัง ยางเหียง พะยอม และตะเคียนทอง ที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง พบว่า กล้าไม้วงศ์ยางนาทั้ง 5 ชนิด มีความสูง ความยาวรอบวงของล้าต้นที่ระดับคอ ราก จ้านวนกิ่ง จ้านวนใบ ความกว้างและความยาวของใบ มากกว่ากล้าไม้ที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไม คอร์ไรซา คาสาคัญ : เอคโตไมคอร์ไรซา, สัณฐานวิทยา, ไม้วงศ์ยางนา ก
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง “เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา”ส้าเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุณา อย่างยิ่งจากคุณครู ศิริวุฒิ บัวสมาน และคุณครูกรนันท์ วรรณทวี ครูที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งได้ให้ค้าปรึกษาอันเป็นแนวทางในการท้าโครงงานและการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ปลูกฝังให้คณะผู้จัดท้ามี ความเพียรพยายามและรักการท้างาน สนับสนุน ส่งเสริม ให้โอกาส ให้ก้าลังใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่คณะ ผู้จัดท้ามาโดยตลอดและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อ้านวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่ให้ ก้าลังใจและสนับสนุนงบประมาณในการท้าโครงงาน และขอขอบพระคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้ก้าลังใจและค้าแนะน้าที่ดีเสมอมา ขอขอบพระคุณ คุณชวลิต ส่งแสงโชติ ผู้อ้านวยการศูนย์วิจัย Spider Planet ที่อนุเคราะห์กล้อง จุลทรรศน์ 3 มิติ ในโครงการมอบกล้องให้น้องส่องอนาคต จ้านวน 4 ตัว ให้กับโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา วิทยา ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร. อุทัยวรรณ แสงวณิช อาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ค้าแนะน้าใน การทดลอง และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมาที่ไม่ได้เอ่ยนามมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาด้านเห็ดเอคโตไมคอร์ ไรซากับกล้าไม้วงศ์ยางนาในท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา ข
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1 1.3 สมมติฐานของการศึกษา 1 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 2 1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 2.1 เอคโตไมคอร์ไรซา 3 2.2 ข้อมูลเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา 15 ชนิด 5 2.3 วิธีการเพาะเชื้อให้กับต้นกล้าไม้ 11 2.4 ลักษณะของพรรณไม้วงศ์ยาง 12 2.5 ข้อมูลไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด 13 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 16 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 18 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ 18 3.2 วิธีการทดลอง 18 บทที่ 4 ผลการทดลอง 21 ตอนที่ 1 21 ตอนที่ 2 36 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 44 5.1 สรุปผลการทดลอง 44 5.2 อภิปรายผลการทดลอง 45 5.3 ข้อเสนอแนะ 46 บรรณานุกรม 47 ภาคผนวก 48 - ภาพประกอบโครงงาน 49-55 ค
  • 6. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) เป็นไม้ยืนต้นที่พบในประเทศไทย ประมาณ 8 สกุล79 พบในทุก ภาคของประเทศ ทั้งปุาผลัดใบและปุาไม่ผลัดใบ โดยในปุาผลัดใบพบในปุาเต็งรัง และปุาเบญจพรรณ โดยไม้ใน วงศ์ยางเป็นพรรณไม้หลักของปุาเต็งรัง ซึ่งพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย คือ มีมากถึง ร้อยละ80 ของพื้นที่ปุาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนในปุาไม่ผลัดใบ พบมากในปุาดิบแล้ง ปุาพรุ และปุา ดิบชื้น เป็นหลัก ไม้ในวงศ์ยางมีความผูกพันกับชาวไทยมาช้านาน ซึ่งปรากฏร่องรอยจากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ยังพบเห็นได้ในปัจจุบัน ชาวไทยได้น้าพรรณไม้วงศ์ยางมาใช้ประโยชน์ทั้ง ทางตรง และทางอ้อม โดยประโยชน์ทางตรง เช่น เป็นวัตถุดิบในการต่อเรือ สร้างฝาบ้าน ไม้อัด ไม้บาง ไม้ ประกับ ด้ามคราด ไถ เสียม พลั่ว สาก ครก รอด คาน ชันยาเรือ น้้ามันยางส่วนในทางอ้อม เช่น เอื้ออ้านวย ต่อการรักษาสภาพแวดล้อม สร้างร่มเงาให้แก่ไม้พื้นล่าง เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงสนพระ ราชหฤทัยในไม้ยางมานานแล้ว โดยมีพระราชปรารภให้วิจัยไม้ยางนาและร่วมปลูกกล้ายางนา ภายในพระ ต้าหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2504 เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของไม้ยาง และช่วยกันบ้ารุงส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และปลูกไม้ยางนาให้มากขึ้น ในปัจจุบันมีการส่งเสริมการปลูกสร้างสวนปุาของไม้วงศ์ยางอย่างกว้างขวาง ดังนั้นการปรับปรุงกล้าไม้ ให้มีคุณภาพและแข็งแรงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ท้า ให้การปลูกสร้างสวนปุาประสบผลส้าเร็จ และในวิถีชีวิตของ ชาวบ้านมีความผูกพันกับเห็ดปุานานาชนิด ซึ่งมีเห็ดจ้านวนมากที่เป็นเห็ดราพวกเอคโตไมคอร์ไรซา หากมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับไม้ในวงศ์ยางอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับวงศ์ไม้ยางเพื่อ ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรรณไม้ในวงศ์ยางในธรรมชาติให้คงอยู่ และเอื้อประโยชน์ต่อมนุษยชาติ ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดจะศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนาด้วยการปลูกเชื้อด้วย เห็ดเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีต่างๆ 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย วิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดเปรียบเทียบกับกล้าไม้ยางนาที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา 1.2.2 เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วย วิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลืองเปรียบเทียบกับที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา 1.2.3 เพื่อศึกษาลักษณะรากของกล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา 1.3 สมมติฐานของการศึกษา กล้าไม้วงศ์ยางนาที่ได้รับการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ด และวิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลืองมีการเจริญเติบโตมากกว่ากล้าไม้วงศ์ยางนาที่ไม่ได้รับการปลูกเชื้อราเอค โตไมคอร์ไรซา
  • 7. 1.4 ขอบเขตของการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น คือ การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของ เห็ดและวิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง - ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของกล้าไม้วงศ์ยางนา - ตัวแปรควบคุม คือ ดินปลูก ปริมาณน้้า ความชื้น อุณหภูมิ ระยะเวลา ขนาดถุงเพาะ ระยะห่าง ของถุงเพาะกล้าไม้ 1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ 1.5.1 ได้เรียนรู้วิธีการปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาด้วยวิธีการใช้ดอกเห็ดและสปอร์ของเห็ดและ วิธีการใช้ดินเชื้อเห็ดระโงกเหลือง 1.5.2 ได้ทราบถึงประโยชน์และความสัมพันธ์ของเห็ดปุาไมคอร์ไรซาในท้องถิ่นกับไม้วงศ์ยางนา 1.5.3 ได้เทคนิคและวิธีการศึกษาลักษณะรากเอคโตไมคอร์ไรซาของไม้วงศ์ยางนาด้วยกล้องจุลทรรศน์ แบบ 3 มิติ 2
  • 8. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดท้าโครงงานได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยน้าเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน ดังนี้ 2.1 เอคโตไมคอร์ไรซา เอคโตไมคอร์ไรซ่า (Ectomycorrhiza) คือ เห็ดราไมคอร์ไรซาที่อาศัยอยู่บริเวณเซลล์ผิวของราก ภายนอกของพืชหรือต้นไม้ เส้นใยของเชื้อราจะประสานจับตัวกันแน่น ภายนอกผิวรากคล้ายรากฝอยมีสีต่างๆ กัน เช่น สีขาว สีทอง สีเหลือง สีน้้าตาล สีแดง สีด้า รากที่มีเชื้อราไมคอร์ไรซาเกาะอยู่จะมีลักษณะแตกเป็นง่าม เป็นกระจุก บวมโต รากจะมีรูปร่างแตกต่างจากรากปกติที่ไม่มีไมคอร์ไรซาช่วยหาน้้าและธาตุอาหารให้แก่ราก บริเวณผิวดินลึกประมาณ 10 – 20 เซนติเมตร สีของรากจะแปรเปลี่ยนสีเข้มขึ้นตามอายุขัยของเชื้อราไมคอร์ ไรซาและแล้วแต่ชนิดของเชื้อรา แตกกิ่งก้านเป็นง่าม หลายง่ามหรือรากเดี่ยวๆ ส่วนใหญ่เชื้อราเอ็คโตไมคอร์ไร ซาเป็นราชั้นสูง จัดจ้าแนกอยู่ใน Phylum Basidiomycota Ascomycota และ Zygomycota ส่วนใหญ่เป็น ราที่สร้างดอกเห็ดขนาดใหญ่เหนือผิวดินใต้ร่มไม้ที่มันอาศัยอยู่ซึ่งอยู่ในพวก Basidiomycota และ Ascomycota ส่วน Zygomycota จะมีดอกเห็ดขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องส่องดูด้วยกล้อง จุลทรรศน์ พวกเห็ดราที่อยู่ในกลุ่ม Basidiomycota จะสร้างดอกเห็ด (Mushrooms) ขนาดใหญ่ มีทั้งที่กินได้ (Edible) ชนิดที่กินไม่ได้ (Non-edible) ชนิดที่มีพิษ (Poisonous) และเห็ดสมุนไพร (Medicinal) เห็ดราเอ็คโตไมคอร์ไรซามีมากกว่า 5,000 ชนิด พืชหรือต้นไม้ที่สัมพันธ์กับรากลุ่มนี้มีไม่น้อยกว่า 2,000 ชนิด หรือประมาณ 10–20% ของพืชชั้นสูง ที่ส้าคัญได้แก่ไม้ในวงศ์สนเขา (Pinaceae) วงศ์ไม้ยาง (Dipterocarpaceae) วงศ์ไม้ยูคาลิปตัส (Myrtaceae) วงศ์ไม้มะค่าโมง (Caesalpinaceae) วงศ์ไม้ก่อ (Fagaceae) วงศ์ไม้ก้าลังเสือโคร่ง (Betulaceae) วงศ์ไม้สนทะเล (Casuarinaceae) และวงศ์ไม้ถั่ว (Leguminosae) การมีชีวิตอยู่ร่วมกันระหว่างเชื้อรากับระบบรากของต้นไม้มีความส้าคัญยิ่งต่อกระบวนการ ทางสรีรวิทยา และการเจริญเติบโตของต้นไม้ ท้าให้ระบบนิเวศปุาไม้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในปุาธรรมชาติ (Natural forests) และในสวนปุา (Plantations) จะมีเห็ดราไมคอร์ไรซากลุ่มนี้กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไป เช่น ปุา ไม้สน (Pine forests) ปุาดิบชื้น (Tropical rain forests) ปุาเต็งรัง (Mixed decideous drydipterocarp) ปุายาง (Dipterocarp forests) ปุาดิบเขา (Semievergreen forests) ปุาเบญจพรรณ (Mixed decideous forests) สวนปุาไม้สนเขา (Pine plantations) สวนปุาไม้ยูคาลิปตัส (Eucalyptus plantations) และสวนปุา ไม้วงศ์ไม้ยาง (Dipterocarp plantations) เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่างเอคโตไมคอร์ไรซากับต้นไม้ เอคโตไมคอร์ไรซา เป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่กับรากของต้นไม้และไม่ก่อให้เกิดโรค ส่วนใหญ่ราเอกโตไม คอร์ไรซ่าเป็นราชั้นสูงซึ่งสามารถสร้างดอกเห็ดได้ดี มีทั้งที่ดอกเห็ดรับประทานได้และเป็นเห็ดพิษ โดยจะสร้าง ดอกเห็ดเหนือพื้นดินใต้ร่มไม้บริเวณรากผิวดินเล็กน้อยการอาศัยอยู่ร่วมกันนี้เป็นแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยราเอ็คโตไมคอร์ไรซาจะมีเส้นใยปกคลุมรอบๆ รากพืช และท้าหน้าที่หาแร่ธาตุ อาหาร และน้้าแทน ท้าให้
  • 9. รากพืชไม่ต้องท้างานหนักมาก ในขณะที่พืชจะสร้างสารอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ ส่งกลับไปเลี้ยงเชื้อรา ให้เจริญเติบโต นอกจากนี้ราเอ็คโตไมคอร์ไรซายังช่วยปูองกันรากพืชจากเชื้อ ที่ก่อให้เกิดโรค และช่วยให้พืช สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ได้ โดยราชนิดนี้สามารถสร้างกรดอินทรีย์บางชนิด ไปย่อย สลายแร่ธาตุอาหารที่อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ให้ละลายไปเป็นรูปที่พืชใช้ประโยชน์ได้ พืชจึงมี อัตราการเจริญ เติบโตที่สูง และมีอัตราการตายของกล้าไม้ต่้าเมื่อย้ายปลูก ราเอ็คโตไมคอร์ไรซามีความจ้าเพาะ กับพืชค่อนข้างมาก จึงไม่ค่อยพบ ขึ้นทั่วไป ในไทยจะพบมากในปุาเต็งรัง การมีชีวิตอยู่ร่วมกันของเชื้อรานี้กับต้นไม้มีบทบาทอย่างส้าคัญยิ่งต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาและ ระบบนิเวศของพืชปุาไม้ ตามรากของต้นไม้ในปุาธรรมชาติจะมีเชื้อราไมคอร์ไรซ่ากระจายอยู่ทั่วไป เช่น ปุาสน เขา ปุาเต็งรัง ปุายาง และสวนยูคาลิปตัส เป็นต้น การกระจายของราพวกนี้มีความสัมพันธ์กับสภาพทาง ภูมิศาสตร์ ความชื้น และปัจจัยทางระบบนิเวศน์ของปุาเป็นส้าคัญในทั่วทุกภาคของประเทศ ภาพที่ 2.1 ลักษณะรากพืชที่มีเอ็คโตไมคอร์ไรซาอาศัยอยู่ (ที่มา : http://mycorrhizas.info/ecm.html) ประโยชน์ของเอคโตไมคอร์ไรซา 1. ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวและปริมาณของรากพืชและต้นไม้ 2. ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานให้แก่ระบบรากของต้นไม้ 3. ช่วยเพิ่มความสามารถในการดูดซับน้้าและแร่ธาตุอาหารให้แก่ต้นไม้ เช่น ฟอสฟอรัส (P) ไนโตรเจน (N) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) และธาตุอื่นๆ ซึ่งธาตุเหล่านี้เชื้อราจะดูดซับไว้และสะสมในรากและซึมซับขึ้น ส่วนต่างๆของต้นไม้ ช่วยในการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) ของพืช 4. ช่วยย่อยสลายและดูดซับธาตุอาหารจากหินแร่ในดินที่สลายตัวยาก และพวกอินทรีย์สารต่างๆ ที่ยังสลายตัว ไม่หมด ให้พืชสามารถน้าเอาไปใช้ประโยชน์ได้ 5. ช่วยเพิ่มอายุให้แก่ระบบรากของพืชและต้นไม้ 6.ช่วยปูองกันโรคที่จะเกิดกับระบบรากของพืชและต้นไม้ 7. ช่วยให้ต้นไม้มีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพพื้นที่ที่แห้งแล้ง ทนทานต่อความเป็นพิษของดิน และทนทาน ต่อความเป็นกรด-ด่างของดิน ช่วยปรับความเป็นกรด-ด่างของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ 4
  • 10. 8. ช่วยเพิ่มพูนความเจริญเติบโตของต้นไม้ 1-7 เท่าจากอัตราปกติ 9. ดอกเห็ดไมคอร์ไรซาสามารถใช้เป็นอาหารรับประทานได้ แม้ว่าบางชนิดจะมีพิษอยู่บ้างแต่เป็นส่วนน้อย บางชนิดใช้เป็นเห็ดสมุนไพร 10. ช่วยให้มีการย่อยสลายของซากพืชและแร่ธาตุที่ไม่เป็นประโยชน์ให้กลับกลายเป็นธาตุอาหารที่มีประโยชน์ ต่อต้นไม้ 11. ช่วยเสริมสร้างระบบนิเวศปุาไม้ให้มีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น ท้าให้ปุามีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น 2.2 ข้อมูลเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา 15 ชนิด 1.เห็ดไคล, เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง (Russula virescens Fr.) วงศ์ Russulaceae ดอกเห็ดมีขนาด 3-12 เซนติเมตร ดอกอ่อนโค้งเป็นรูปทรงกลม มีสีเขียวออกเหลือง สีน้้าตาล เขียว หรือสีเขียวหม่น ผิวเรียบแล้วปริแตกเป็นเกล็ดเห็นเนื้อภายในเป็นสีขาว เมื่อดอกบานริมขอบจะโค้งงอ ลงแล้วยกขึ้นเมื่อบานเต็มที่ ริมขอบจะแตกเป็นร่อง ตรงกลางเว้าตื้น ครีบถี่ สีขาวหรือสีขาวนวล ยึดติด ก้าน ก้านกว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ก้านสีขาว รูปทรงกระบอก ผิวค่อนข้างเรียบ โคน ก้านจะเรียวเล็กกว่าเล็กน้อย ดอกอ่อนก้านจะตัน พบบนดินในปุาก่อ ปุาทั่วไป และปุาสน ขึ้นดอกเดียว หรือกระจาย 2-3 ดอก กินได้ มีกลิ่นหอม รสดี เห็ดสกุลนี้เป็นเห็ดที่อาศัยร่วมอยู่กับรากของต้นไม้ เป็น เห็ดที่เปราะและหักง่าย บทบาทในระบบนิเวศ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) ภาพที่ 2.2 เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง (Russula virescens Fr.) 2. เห็ดก่อแดง (Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray) วงศ์ Russulaceae หมวก 3-10 ซม. นูน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย เรียบ หนืดมืด ขอบงอลง แดงไปจนถึงแดงชมพู ครีบ ติดก้าน กว้าง เรียงถี่ ขาวหรือเหลืองอ่อน ก้าน 5-10 x 1-2 ซม. ทรงกระบอก มักมีรอยย่นยาว ขาว เนื้อ แน่น ขาว สปอร์ 7.5-12 x 6-9 μm ทรงรียาว มีปุุมนูนใหญ่และเส้นละเอียดเชื่อมเป็นตาข่ายรูห่าง ที่อยู่อาศัย บนพื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา กินได้ กินได้ เมื้อต้มสุก รสเผ็ด บทบาทในระบบนิเวศ พึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) ภาพที่ 2.3 เห็ดก่อแดง (Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray) 5
  • 11. 3. เห็ดดิน, เห็ดขาวดิน (Russula sp.) วงศ์ Russulaceae ขึ้นบนพื้นดิน ดอกเดี่ยว ดอกสีขาวขอบหมวกมีริ้ว มักฉีกแยกเมื่อแก่ขนาดเล็ก พึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) กินได้ชาวบ้านใช้เป็นอาหาร ภาพที่ 2.4 เห็ดดิน, เห็ดขาวดิน (Russula sp.) 4. เห็ดหน้าม่วง, เห็ดหน้าแหล่ Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr. วงศ์ Russulaceae หมวกเห็ดรูปทรงกระทะคว่้า มีหลายสีในดอกเดียวกัน เช่น สีเขียวอ่อนอมเหลืองและม่วง สีม่วงปน ชมพู สีม่วงอ่อนปนขาวนวล สีม่วงปนน้้าเงินอ่อนและชมพู เส้นผ่านศูนย์กลาง ๕-๑o ซม. เมื่อเป็นดอกอ่อน ขอบม้วนงอเข้าจนเกือบเป็นรูปกลม กลางหมวกเว้าตื้น ครีบสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีขาวนวล เรียว เรียงกันถี่ และบางแห่งเชื่อมติดกันเป็นรูปส้อมก้านสีขาว ยาว ๒-๑o ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑-๓ ซม. ผิวเรียน เนื้อใน เห็ดสีขาวนวล มักเป็นรูพรุน สปอร์รูปรี สีขาว ขนาด ๖-๗ x ๗-๙ μm ผิวขรุขระ เห็ดหน้าม่วงมีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคเหนือขึ้นในปุาเบญจพรรณ กินได้ พบในเขต อบอุ่นทั่วโลก ภาพที่ 2.5 เห็ดหน้าม่วง, เห็ดหน้าแหล่ (Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr.) 5. เห็ดเผาะฝ้าย,เห็ดเหียง (Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.) วงศ์Schlerodermataceae ดอกเห็ดเกิดเดี่ยว กระจัดกระจายหรือเกิดเป็นกลุ่มในดินทราย ดอกขาดกว้าง 4-9 เซนติเมตร สูง 1-2.5 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ รูปร่างของดอกประกอบด้วยถุงลมใส่สปอร์และผนังชั้นนอกที่แตกออกเป็น แฉก 6-12 แฉก ถุงใส่สปอร์มีลักษณะเป็นถุงกลม สีเขียวขี้ม้าหรือเทาอ่อน ยืดหยุ่นยุบตัวได้เมื่อมีแรงมา กระทบภายในบรรจุผงสปอร์สีน้้าตาล สปอร์ขนาด 8.75-15.2 μm รูปร่างกลม ผิวมีหนามรอบสปอร์ พบ เป็นไมคอไรซากับพืช เช่น พะยอม เหียง พลวง พบได้ทั่วไป กินได้ 6
  • 12. ภาพที่ 2.6 เห็ดเผาะฝูาย,เห็ดเหียง (Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.) 6. เห็ดถ่านใหญ่ (Russula nigricans (Bull.) Fr.) วงศ์ Russulaceae หมวก 5-20 ซม. นูน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย แห้งขาวหม่น เปลี่ยนเป็นน้้าตาลแล้วด้า ครีบติด ก้าน หนา เรียงห่าง มีครีบสั้นๆสลับครีมแล้วเปลี่ยนเป็นด้าเมื่อแก่ ก้าน 3-8 x 1-3 ซม. ทรงกระบอก ขาว เมื่อ ช้้าเปลี่ยนเป็นน้้าตาลแล้วด้า เนื้อ ขาว เปลี่ยนเป็นแดงแล้วด้าเมื่อช้้า ทั้งดอกเปลี่ยนเป็นด้าเมื่อแก่ สปอร์ 7-8 x 6-7 μm เกือบกลม มีปุุมเล็กๆ และเส้นละเอียดสานเป็นตาข่ายบางส่วน ขาวบนกระดาษพิมพ์ ที่อยู่อาศัย บน พื้นดินในปุาผลัดใบและปุาสน เอคโตไมคอร์ไรซา กินได้ ภาพที่ 2.7 เห็ดถ่านใหญ่ (Russula nigricans (Bull.) Fr.) 7. เห็ดผึ้งแย้, เห็ดผึ้งหวาน (Boletus queletii Schulzer) วงศ์ Boletaceae หมวกดอกขนาด 1.8-8.2 เซนติเมตร ผิวหมวกแห้ง เรียบ สีน้้าตาลอมเหลือง น้้าตาลอมแดงหรือ ส้มอมแดง เปลี่ยนเป็นสีน้้าเงินถึงน้้าเงินอมด้าอย่างรวดเร็วเมื่อช้้า เนื้อในสีเหลืองสว่าง เปลี่ยนเป็นสีน้้าเงิน เข้ม รูสีเหลืองอ่อน กลม ชิดก้าน ผิวก้านมีกลุ่มจุดเล็กสีแดง โคนก้านพบกลุ่มขนสีเหลือง หรือสีแดงเข้ม เนื้อในก้านตัน สีเหลืองสว่าง สปอร์รูปเรียวยาวคล้ายเมล็ดข้าวสาร ผิวเรียบ ขนาด 4-6 x 8-14.5 μm ภาพที่ 2.8 เห็ดผึ้งแย้, เห็ดผึ้งหวาน (Boletus queletii Schulzer) 8. เห็ดหน้าวัว, เห็ดหน้างัว (Russula foetens (Pers.) Fr.) วงศ์ Russulaceae ดอกมีขนาด 5-12 เซนติเมตร ดอกรูปทรงกระทะคว่้า ตรงกลางเว้าตื้น ผิวเป็นเมือกเมื่อเปียกน้้า มีแผ่นสะเก็ดขนาดใหญ่ มีสีเหลือง สีน้้าตาลเหลือง ครีบสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ครีบห่าง ชิดก้าน ก้านรูป 7
  • 13. ทรงกระบอก สีขาว สีขาวครีม หรือสีเหลืองอ่อน เนื้อด้านในเป็นโพรง ไม่นิยมรับประทาน มีกลิ่นเหม็น สปอร์สีขาวครีม ค่อนข้างกลม ผิวขรุขระ เป็นหนาม ขนาด 5-9 x 8-10 μm พบบนดินในปุาสน และ ปุาเบญจพรรณ กินได้ ภาพที่ 2.9 เห็ดหน้าวัว, เห็ดหน้างัว (Russula foetens (Pers.) Fr.) 9. เห็ดก้นครก, เห็ดหล่มญี่ปุ่น (Russula japonica Hongo) วงศ์ Russulaceae หมวก 6-10 ซม. นูนแล้วเป็นรูปกรวยกว้าง เรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อยเมื่อดอกแก่ ขาว ปน เปื้อนเหลืองหม่นหรือ น้้าตาลอ่อน ครีบ เรียวติดก้านเล็กน้อย แคบ เรียงถี่ เหลืองอ่อนถึงเหลืองอมน้้าตาลอ่อน ก้าน 3-6 x 1.5-2 ซม. ทรงกระบอก เรียบ ขาว ปนเปื้อนน้้าตาลอ่อน เนื้อ แน่น ขาวเหลือง สปอร์ 6-7 x 5-6 μm เกือบกลม มี ปุุมเล็กๆ กับเส้นละเอียดเชื่อมกันเป็นร่างแหบางส่วน ที่อยู่อาศัย บนพื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา กินได้ ภาพที่ 2.10 เห็ดก้นครก, เห็ดหล่มญี่ปุุน (Russula japonica Hongo) 10. เห็ดมันปู, เห็ดขมิ้นน้อย (Cantharellus minor Peck) วงศ์ Cantharellaceae หมวกเห็ดรูปกรวยลึก สีเหลืองเข้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-7 ซม. สูง 2-6 ซม. ขอบหหมวกบานออกเป็นรูป ปากแตรและหยักหย่อนเป็นคลื่น เนื้อบาง ยืดหยุ่นเล็กน้อย ผิวเรียบหรือมีเส้นนูยเล็กๆ ด้านล่างสีเหลืองนวล และเป็นสันเตี้ยๆ ตามยาว ก้านสีเดียวกับหมวก ยาว 1-2 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านและหมวก แยกสัดส่วนกันไม่ชัดเจน สปอร์รูปรี สีเหลืองอมส้ม ขนาด 4.5 x 8.9 μm ผิวเรียบ ผนังบาง เห็ดขมิ้นชนิดนี้มี เขตกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นเป็นกลุ่มโคนติดกันบนพื้นดิน ในปุา มีกลิ่นหอมๆ คล้ายกลิ่นดอกขจร กินได้ ในต่างประเทศพบที่อเมริกา ภาพที่ 2.11 เห็ดมันปู, เห็ดขมิ้นน้อย (Cantharellus minor Peck) 8
  • 14. 11. เห็ดข้าวจี่, เห็ดไข่เยี่ยวม้า (Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.) วงศ์ Amanitaceae ขึ้นบนพื้นดิน ดอกเดี่ยวหรือกลุ่ม หมวกรูปไข่นูนแล้วแบน สีเทาปนน้้าตาล หนืดเมื่อเปียกชื้น พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้ (Ectomycorrhiza) กินได้ ใช้เป็นอาหาร ภาพที่ 2.12 เห็ดข้าวจี่, เห็ดไข่เยี่ยวม้า (Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.) 12. เห็ดระโงกเหลือง, เห็ดไข่เหลือง (Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas.) วงศ์ Amanitaceae ขึ้นดอกเดี่ยวขนาด 5-12 เซนติเมตร ดอกอ่อนคล้ายไข่ ดอกมีเหลืองจางหรือเหลือง ครีบสีขาว หรือขาวครีม ครีบถี่ ครีบห่างก้าน ก้านทรงกระบอกสีเหลืองอ่อนผิวมีขนสีส้มเป็นริ้วเรียงเป็นวงรอบก้าน และมีเยื่อหุ้มสีขาวรูปถ้วยที่โคนก้าน ก้านกลวง มีวงแหวนเป็นแผ่นบางสีเหลองนวลอยู่ด้านบนของก้าน สปอร์กลมรี สีขาวผิวเรียบ ขนาด 5-7 x 7-9 μm พบบนพื้นดินในปุาเต็งรัง กินได้ ภาพที่ 2.13 เห็ดระโงกเหลือง, เห็ดไข่เหลือง (Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas.) 13. เห็ดไส้เดือน (Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb.) วงศ์ Amanitaceae ดอกเดี่ยวขนาดกว้าง 5-6 เซนติเมตร สีน้้าตาลเข้มที่กลางหมวกแล้วค่อยจาง ลงมาทางขอบหมวก เห็นรอยตามร่องครีบเล็กๆที่ริมขอบ ครีบสีขาวครีม ครีบถี่ ครีบห่างก้าน ก้าน ทรงกระบอกโคนใหญ่ปลายเรียว สีขาวครีม มีริ้ว ถ้วยที่โคนก้านสีขาวขนาดเล็ก ก้านกลวง มีวงแหวนเป็น แผ่นบางสีขาว หลุดง่าย อยู่ด้านบนของก้าน สปอร์กลมรี สีขาวผิวเรียบ ขนาด 9-10 x 9-11 μm กิน ได้ ภาพที่ 2.14 เห็ดไส้เดือน (Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb.) 14. เห็ดข้าวแป้ง, เห็ดดอกส้าน (Amanita mira Cor. & Bas.) วงศ์ Amanitaceae 9
  • 15. หมวก 4-6 ซม. รูปนูนแล้วแบน กลางหมวกเป็นแอ่งเล็กน้อย ผิวสีเหลืองสดไปจนสีเหลืองหม่น สีจางไปยังขอบ มีปมเล็กๆสีเหลืองอ่อนรูปสามเหลี่ยม มักหลุดหายไปเมื่อถูกฝน มีริ้วจากขอบไปถึงกึ่งกลางหมวก ครีบ ไม่ติด ก้าน กว้างเล็กน้อย เรียงถี่ บาง ขาว ก้าน 4-8 x 0.3-0.6 ซม. โคนใหญ่ ขาว บริเวณโคนมีปุุมเล็กๆเรียงเป็น วงกลม 2-4 ชั้น เนื้อ ขาว เหลืองอ่อนบริเวณโคน สปอร์ 6.5-8 x 6-7.5 μm เกือบกลม เรียบ ผนังบาง ภายในมีหยดน้้ามันหนึ่งหรือหลายหยด ขาวบนกระดาษพิมพ์ ที่อยู่อาศัย เกิดเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มบน พื้นดินในปุาผลัดใบ เอคโตไมคอร์ไรซา ไม่มีข้อมูลว่ากินได้ ภาพที่ 2.15 เห็ดข้าวแปูง, เห็ดดอกส้าน (Amanita mira Cor. & Bas.) 15. เห็ดระโงกขาว, เห็ดไข่ (Amanita princes Coner et Bas) วงศ์ Amanitaceae ดอกเห็ดอ่อนมีเยื่อหุ้มหนารูปไข่ สีขาวนวล ขนาด 2×2 เซนติเมตร เมื่อเจริญขึ้นผิวด้านบนปริแตกออกเป็นรูป ไข่ สีเหลืองอ่อนหรือขาวนวล เมื่อบานกางออกเป็นรูปกระทะคว่้าแล้วแบนราบ เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-20 เซนติเมตร ผิวเรียบเป็นมัน เมื่อจับจะหนืดมือ ขอบเป็นริ้วยาว 0.5-1 เซนติเมตร โดยรอบเห็นชัดเจนตั้งแต่เริ่ม โผล่ออกจากเยื่อหุ้มดอกเห็ด บางดอกมีเยื่อหุ้มเป็นแผ่นใหญ่ติดอยู่บนหมวก หลุดง่าย ครีบสีขาวแล้ว เปลี่ยนเป็นสีขาวนวล ก้านรูปทรงกระบอก สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ยาว 10-20 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 1- 2 เซนติเมตร ภายในสีขาว เนื้อเป็นเส้นใยหยาบๆ เปราะและหักง่าย แอนนูลัส เป็นแผ่นบางสีขาวห้อยติดอยู่ บนก้านเมื่อดอกบานค่อนข้างกลม ขนาด7-10 × 8-10 ไมโครเมตร ภาพที่ 2.16 เห็ดระโงกขาว, เห็ดไข่ (Amanita princes Coner et Bas) 10
  • 16. 2.3 วิธีการการเพาะเชื้อให้กับต้นกล้าไม้ มีหลายวิธี ดังนี้ 1. การใช้ดินเชื้อ (Soil inoculum) ในอดีตการใช้ดินหัวเชื้อไมคอร์ไรซาซึ่งเก็บจากบริเวณแหล่งก้าเนินของต้นไม้ที่มีเชื้อไมคอร์ไรซาอยู่ ในธรรมชาติ เป็นวิธีปฏิบัติอย่างได้ผลดีมานาน และในปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมใช้กันอยู่ วิธีการ คือ น้าดินเชื้อไม คอร์ไรซ่าที่ปริมาณห่างจากล้าต้นไม้เกิน 50 ซม. โดยรอบและขุดลึกประมาณ 10 – 20 ซม. ให้มีรากเดิมติดมา ด้วย แล้วน้าไปใช้ทันทีหรือเก็บไว้ในที่ร่มประมาณไม่เกิน 7 วัน เชื้อไมคอร์ไรซาที่ติดอยู่กับดินจะน้าไปคลุกกับ ดินเพาะอัตรา 1:6 ถึง 1:10 ส่วน แล้วเพาะเมล็ดและต้นกล้า วิธีนี้ข้อดีคือประหยัดเสียค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ต้องใช้ วิธียุ่งยากซับซ้อนง่ายต่อการปฏิบัติ ข้อเสียคือ ดินมี่น้้าหนักมา ขนย้ายระยะทางไกล ๆ ไม่สะดวก เราไม่ สามารถทราบชนิดเชื้อเห็ดราไมคอร์ไรซาที่เหมาะสมกับต้นกล้าได้ และดินอาจมีเชื้อโรคติดมาระบาดต้นกล้าได้ ง่าย วิธีการแก้ไข ต้องเลือกดินรากต้นแม่ที่สมบูรณ์ปราศจากโรค และควรปัดกวาดซากพืชหน้าดินออกให้ สะอาดก่อนขุดินน้าเอไปใช้เพาะต้นกล้า 2. การใช้สปอร์ (Spore inoculum) สปอร์ของเห็ดราบางชนิดสามารถเก็บได้ในบริมาณมาก เช่น เห็ดหัวเข่า (Pisolithus tinctorius) เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) เห็ดลูกฝุุน (Rhizopogon spp.) และเห็ดทรงกลม (Scleroderma spp.) เราสามารถน้าสปอร์ไปละลายน้้าหรือใช้สปอร์โดยตรงคลุกกับเมล็ดพันธุ์ก่อนเพาะกล้า หรือน้าสปอร์ ละลายน้้าในอัตราส่วน 1:1000 แล้วฉีดพ่นกับต้นกล้าหรือเมล็ดพันธุ์ในแปลกเพาะ ข้อดีวิธีการนี้คือ น้าไป ปฏิบัติได้ง่าย ได้พันธุ์เห็ดที่ทราบชื้อชนิดพันธุ์ได้ แต่มีข้อเสียคือ เราไม่สามารถเก็บสปอร์ในปริมาณมาก ๆ ได้ ไม่สามารถคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดีมีประสิทธิภาพสูง และสปอร์มีระยะพักตัว มีการงอกที่ไม่สม่้าเสมอ สปอร์บาง ชนิดมีอัตราการงอกต่้า ต้องใช้วิธีกระตุ้นเป็นพิเศษจึงจะสามารถงอกได้ สปอร์ สามารถท้าเป็นเม็ดไมคอร์ไรซา (Mycorrhizal tablelts) ได้ 3. การใช้ดอกเห็ด (Sporocarp inoculum) การใช้ดอกเห็ดหรือชิ้นส่วนของดอกเห็ดน้าไปบดให้มีขนาดเล็กแล้วน้าไปผสมน้้าที่สะอาดอัตราส่วน 1:1000 ฉีดพ่นบนเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าในแปลงเพาะเป็นวิธีการใช้ได้ผลดี แต่มีข้อเสียตรงที่การเก็บดอกเห็ด ต้องรอช่วงฤดูฝน จึงจะสามารถเก็บดอกเห็ดไปปริมาณมาก ๆ ได้ และวิธีการนี้ต้องรีบน้าดอกเห็ดมาใช้ทันที มิฉะนั้นดอกเห็ดจะเน่าสลายเสียก่อน 4. การใช้เส้นใย (Mycelial inoculum) การเลี้ยงขยายเชื้อจากดอกเห็ดเป็นวิธีการที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เพราะเราสามารถคัดเลือกสาย พันธุ์เห็ดราไมคอร์ไรซ่าพันธุ์ดี น้าไปขยายกับ Vermiculite ผสม Peat moss และสารเคมีเสริมการ เจริญเติบโต การเลี้ยงเชื้อในอาหารเทียม เช่น Potato-Dextrose Agar (PDA) หรือ Modified Melin- Norkran Medium (MMN) ซึ่งมีสูตรดังนี้ CaCl2 0.5 g. NaCl 0.025 g. KH2Po4 0.5 g. MgSO4 • 7 H2O 0.15 g. 1% FeCl3 1.2 ml Thiamine HCl 100 mg. Malt extract 3 g. glucose 10 g. Difco Agar 15– 20 g. Distilled water 1,000 ml. pH 5.5-7.5 เชื้อราจะเจริญเติบโตได้ดี ราไมคอร์ไรซาบางชนิดไม่สามารถ เลี้ยงเชื้อในอาหารเทียมได้ 11
  • 17. 2.4 ลักษณะของพรรณไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) พรรณไม้วงศ์ยางเป็นไม้ยืนต้นตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ บางชนิดสูงถึง 60 เมตรผลัดใบ หรือไม่ ผลัดใบ เนื้อไม้มียางใสเหนียวหรือชัน (Resin) ที่มีกลิ่นหอมฉุนเฉพาะตัว ล้าต้น ส่วนมากเปลาตรง โคนมีหรือไม่ มีพูพอน อาจพบรากค้้ายัน เปลือก เรียบ เรียบและมีรอยวงแหวน แตกแบบสะเก็ดตามยาว หลุดล่อนเป็นแผ่น ขนาดเล็กหรือใหญ่ หรือแตกเป็นร่องลึกตามยาวเปลือกชั้นในมีสีและลวดลายเฉพาะตัว หรือผันแปรเล็กน้อย มี ชันสีขาว สีเหลือง สีเหลืองอ้าพันใสสีเหลืองปนสีน้้าตาล หรือสีน้้าตาลปนสีม่วงเข้ม ใสหรือขุ่น ไหลออกจาก แผลหรือรอยปริแตกของเปลือก เรือนยอด เป็นพุ่มทรงกลม รูปร่ม รูปกรวยแหลม หรือรูปทรงกระบอก ตา และปลายยอดอ่อน มักมีหูใบขนาดใหญ่คลุม เมื่อหูใบร่วงจะเห็นรอยแผลหูใบชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออก เวียนสลับ รูปไข่ รูปไข่กว้าง รูปรี รูปรีกว้าง รูปหอก รูปขอบขนาน รูปขอบขนานแกมรูปหอก รูปหอกกลับ หรือรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม เรียวแหลม หยักเป็นติ่งสั้นถึงคล้ายหางยาว มน หรือกลม โคนใบรูปลิ่ม แหลม มน กลมถึงรูปหัวใจ หรือเบี้ยว ขอบใบ ส่วนมากเรียบ บางครั้งหยักเว้าเป็นคลื่น หยักมน หรือม้วนลง แผ่นใบ ส่วนมากเหนียวคล้ายแผ่นหนัง หนามากหรือบาง แผ่นใบมักเรียบ และเกลี้ยงเป็นมันเงา ยกเว้นในบางสกุล เช่น สกุลยาง (Dipterocarpus) และสกุลไข่เขียว (Parashorea) ซึ่งแผ่นใบมักจีบเป็นสันระหว่างเส้นแขนงใบ และมีขอบใบเป็นคลื่น ลักษณะของเส้นแขนงใบและเส้นใบ มีทั้งหมด 6 แบบหลักๆ (ภาพที่ 3.2) คือ 1) เส้น ใบแบบโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ (anastomosing) พบในสกุลเคี่ยม (Cotylelobium) และบางชนิดของสกุล กระบาก (Anisoptera) 2) เส้นใบแบบขั้นบันได (scalariform) พบส่วนใหญ่ในสกุลยาง สยา และพบบางชนิด ในสกุลตะเคียน 3) แบบขั้นบันไดห่าง พบในสกุลสยา กลุ่มกาลอ (Section Richetioides) และตะเคียนชันตา แมว (Neobalanocarpus heimii) 4) เส้นใบแบบร่างแห (reticulate) พบส่วนมากในสกุลพันจ้า (Vatica) หรือบางชนิดในสกุลกระบาก (Anisoptera) 5) เส้นใบแบบเส้นใบแซม (ระหว่างเส้นแขนงใบ) (dryobalanoid) หรือ 6) แบบเส้นใบแซมกึ่งขั้นบันได (subdryobalanoid) พบในสกุลตะเคียน กลุ่มตะเคียน ราก (Section Dryobalanoides)บางครั้งพบเส้นใบแบบผสม ได้แก่ แบบขั้นบันไดกึ่งโค้งจรดกันใกล้ขอบใบที่ พบบางชนิดในสกุลยาง หรือแบบร่างแหกึ่งขั้นบันได พบในบางชนิดของสกุลพันจ้า และบางชนิดในสกุล กระบาก ตุ่มใบ (domatia) บางชนิดในสกุลตะเคียน (Hopea) และสกุลสยา (Shorea) อาจพบตุ่มใบที่ง่าม เส้นแขนงใบ ซึ่งตุ่มใบมีทั้งหมด 3 แบบ (ภาพที่ 3.2) ได้แก่ แบบกระจุกขนสั้นหนาแน่น (pubescent) แบบ หลุมตื้นหรือลึก (pore like) ภายในเกลี้ยงหรือมีขนสั้นภายใน และแบบแผ่นเนื้อเยื่อปกคลุมภายในเป็นโพรง (cavity) ด้านในมีขนสั้นเล็กน้อยหรือไม่มีก้านใบ ส่วนมากคดงอมากหรือน้อย และมักจะปูดโปนช่วงปลาย ดอก ของไม้วงศ์ยางเป็นแบบสมบูรณ์เพศ (bisexual) สมมาตรตามรัศมี (actinomorphic) ดอกออกเป็นช่อ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง (panicle) หรือช่อกระจะ (racemose) แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่าง ละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง มีทั้งแบบซ้อนกัน (imbricate) และขอบกลีบเรียงจรดกัน (valvate) กลีบดอก เรียงซ้อน กันปลายกลีบบิดเวียนคล้ายกังหันลม ร่วงหล่นง่าย มีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้ มีตั้งแต่ 5 อันขึ้นไป ปลายอับเรณูมี รยางค์ เกสรเพศเมีย มี 1 อัน รังไข่ติดอยู่เหนือวงกลีบ (superior ovary) หรือกึ่งใต้วงกลีบ (semi-inferior ovary) ก้านเกสรเพศเมียมักบวมพองตรงโคนเรียกว่า stylopodium รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่ 2 เมล็ด หรือ 4 เมล็ด ติดอยู่รอบแกนร่วม (axile placenta) ผล ของไม้วงศ์ยางแบบเปลือกแข็ง (nut) ส่วนมากมีเมล็ด เดียว เมื่อแห้งไม่แตก และมักมีปีกจ้านวน 2, 3 หรือ 5 ปีก เกิดจากกลีบเลี้ยงที่เจริญขยายตัวในระยะที่เป็นผล โคนปีกแข็งหนาห่อหุ้มผลมิดหรือไม่มิด ลักษณะปีกแตกต่างในแต่ละสกุลดังนี้ สกุลยาง สกุลกระบาก สกุล 12
  • 18. พันจ้า บางชนิด และสกุลตะเคียนเกือบทั้งหมด มีปีกยาว 2 ปีกๆ สั้น 3 ปีก สกุลไข่เขียวมีปีกยาวใกล้เคียงกัน ทั้ง 5 ปีก สกุลตะเคียนชันตาแมว ไม่มีปีก เป็นกลีบเลี้ยงแข็งขอบเรียงซ้อนกันหุ้มที่โคนมีขนาดเกือบเท่ากัน และสกุลพันจ้า บางชนิดไม่มีปีกหรือมีปีกสั้นแข็งพัฒนาเพียงเล็กน้อย ขอบกลีบเลี้ยงเรียงจรดกัน สกุลสยา เกือบทั้งหมดมีปีกยาว 3 ปีกๆ สั้น 2 ปีก การจ้าแนกชนิดพรรณไม้วงศ์ยางในประเทศไทย ทั่วโลกพบไม้วงศ์ยาง 17 สกุล ประมาณ 680 ชนิด จ้านวนชนิดกว่า 2 ใน 3 พบได้บน เกาะบอร์เนียว และคาบสมุทรมาเลเซีย ซึ่งถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีพรรณไม้ วงศ์ยางหลากชนิดที่สุดในประเทศไทยมีความหลากชนิดของพรรณไม้วงศ์นี้ 8 สกุล 79 ชนิด และ 1 ชนิดย่อย ในจ้านวนนี้ประมาณ 70 ชนิดพบได้ในภาคใต้ของประเทศ ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อกับคาบสมุทรมาเลเซีย 2.5 ข้อมูลไม้วงศ์ยางนา 5 ชนิด 1. ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่นๆ ยางขาว, ยางแม่น้้า, ยางหยวก (ภาคเหนือ); ยางควาย(หนองคาย); ยางกุง (เลย); ยางเนิน, ยางใต้ (ภาคตะวันออก) ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็งปานกลาง โตค่อนข้างเร็ว ผลัดใบช่วงสั้น ๆ ขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ 40 ม. ล้าต้นตรง มีพูพอนเปลือกแตกเป็นแผ่น ให้น้้ามันยางและชัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบ ขนาดใหญ่ แผ่นใบด้านล่างมีขนรูปดาวสั้น ๆ เส้นแขนงใบเรียงขนานกัน ดอกมีริ้วสีชมพู 5 กลีบ บิดเวียน ยาว ประมาณ 3 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น ปลายอับเรณูมีรยางค์รูปเส้นด้าย รังไข่มีขน ผลมีหลอดกลีบเลี้ยงหุ้มจนมิด ยาว 2–2.5 ซม. มีครีบตามยาว 5 ครีบ ปีกยาว 2 ปีก ยาว 8–14 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาวประมาณ 1 ซม. เมล็ดมีขนสั้นนุ่ม ปลายมีติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์ ศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่าลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ไทย คาบสมุทรมลายู ฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาใน ประเทศไทย ขึ้นในปุาดิบแล้ง เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นภาคใต้ตอนล่าง ระดับความสูงจนถึงประมาณ 500 ม. ออกดอกประมาณปลายเดือนธันวาคมติดผลเดือนมีนาคม–พฤษภาคม ติดผลแทบทุกปี การสืบพันธุ์ตาม ธรรมชาติค่อนข้างต่้า เมล็ดถูกแมลงเจาะท้าลายได้ง่าย ประโยชน์ เป็นไม้เศรษฐกิจที่ส้าคัญของประเทศในแถบ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้าง ชัน และน้้ามันยางซึ่งมีปริมาณมากใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสี และแลกเกอร์ เนื้อไม้มีความแข็งปานกลาง แต่ไม่ทนทานนัก มีแมลงและเชื้อราเป็นศัตรูจ้านวนมาก ควรได้รับ การอาบน้้ายา หรือใช้งานในร่ม และนิยมท้าเป็นไม้อัด การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด แต่มีปัญหาเรื่องคุณภาพของ เมล็ดที่ถูกแมลงเจาะท้าลายได้ง่าย อายุสั้น เมล็ดที่เก็บบนต้นมีอัตราการงอกสูง เมล็ดงอกใช้เวลา 7–30 วัน ก่อนเพาะควรเด็ดปีกทิ้ง ห้ามผึ่งแดด ให้เพาะในกระบะทราย การขยายพันธุ์โดยวิธีสับรากมอัตราการรอดตาย สูงกว่าร้อยละ 50 ภาพที่ 2.17 ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) (ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555)) 13
  • 19. 2. รัง (Shorea siamensis Miq.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก ฮัง ส่วนในภาษาเขมรเรียกว่า เรียงหรือพนมเรียง ลักษณะวิสัย ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงได้ประมาณ 25 ม. เป็นไม้โตช้า บางพื้นที่ล้าต้นมักเปลาตรง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ส้าคัญ กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบรูปไข่ ปลายใบกลม ปลายมักเป็นติ่ง แหลม โคนใบรูปหัวใจ ใบอ่อนสีน้้าตาลแดง ใบแก่เปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนหลุดร่วง เส้นแขนงใบข้างละ 9–16 เส้น ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกสีเหลือง กลีบดอกเรียงชิดบิดเวียนและพับงอกลับ รูปรีกว้าง ยาว 1.5–2 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 15 อัน เรียง 2 วง วงนอกมี 10 อัน ปลายอับเรณูมีรยางค์ ยาวประมาณครึ่งหนึ่งของอับ เรณู ผลรูปไข่ ยาว 1.5–2 ซม. เกลี้ยง มีปีกรูปใบพาย ปีกยาว 3 ปีก ยาว 5–8 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก เรียวแคบ ยาว 1–5 ซม.เขตการกระจายพันธุ์ พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายูตอนบนการกระจายพันธุ์และ นิเวศวิทยาในประเทศไทย พบทุกภาค ขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่นหรือกระจัดกระจายในปุาเต็งรังปะปนกับ เต็ง เหียง กราด หรือพลวง นอกจากนี้ยังพบปะปนในปุาเต็งรังผสมสนเขาโดยเฉพาะสนสามใบ จนถึงระดับความสูง ประมาณ 1,300 เมตร และยังพบทั่วไปตามเขาหินปูนทางภาคใต้ ติดผลเดือนกุมภาพันธ์–เมษายน ประโยชน์ เนื้อไม้แข็งแรงและทนทาน ใช้ท้าประโยชน์เช่นเดียวกับไม้เต็ง ใบใช้ห่อขนมแทนใบตองได้การขยายพันธุ์ เพาะ เมล็ด แต่เมล็ดสูญเสียการงอกเร็ว เมล็ดจะงอกทันทีหลังจากร่วงหล่นโดยเฉพาะถ้ามีน้้าฝน เก็บเมล็ดที่ร่วงและ ก้าลังงอกเพาะลงใส่ถุงได้ทันที สามารถท้าเป็นเหง้าปลูกได้ หรืออาจใช้วิธีเก็บเมล็ดแก่บนต้น กองรวมกันคลุม ด้วยกระสอบปุาน รดน้้าเช้าเย็นจนรากงอกแล้วเด็ดปีกก่อนย้ายลงถุง ตามภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัด ยโสธรที่ปฏิบัติต่อเมล็ดพรรณไม้ในวงศ์ยาง ภาพที่ 2.18 รัง (Shorea siamensis Miq.) (ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555)) 3. ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักเรียกว่า ตะแบงหรือสะแบง คล้ายกับยางกราด ลักษณะวิสัย ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ อาจสูงได้ถึง 30 ม. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ส้าคัญ ส่วนต่าง ๆ มีขนรูปดาวหรือ เกือบเกลี้ยง ใบรูปรี ยาว 10–30 ซม. เส้นแขนงใบ 10–20 เส้น ในแต่ละข้าง ช่อดอกมีกาบหุ้ม ดอกบิดเวียน มี 5 กลีบ กลีบรูปใบหอก ยาว 4–6 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน อับเรณู ปลายมีรยางค์ ผลมีปีกยาว 2 ปีก รูปใบพาย ยาว 8–15 ซม. ปีกสั้นรูปรี ยาว 1.5–2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–3 ซม. ปีกอ่อนสีแดงสด เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นหนาแน่นเป็นกลุ่มใหญ่โดยเฉพาะในปุาเต็งรังในระดับต่้าๆ แถบชายฝั่งทะเลจนถึงระดับความสูงกว่า 1,300 เมตร ในปุาเต็งรังผสมสนเขาทางภาคเหนือ และยังพบ 14
  • 20. หนาแน่นบริเวณที่ราบสูงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง 3 ลุ่มน้้า โดยเฉพาะขึ้นปะปนกับยางกราด เต็ง และ พลวง การสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติและแตกหน่อตามธรรมชาติดี ผลแก่ตั้งแต่เดือนมกราคม–พฤษภาคม การ ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด ให้เด็ดปีกก่อนน้าไปเพาะ เก็บเมล็ดที่ร่วงและก้าลังงอกเพาะลงใส่ถุงได้ทันที หรืออาจใช้วิธีเก็บเมล็ดใหม่ ๆ กองรวมกันคลุมด้วยกระสอบปุาน รดน้้าเช้าเย็นจนรากงอกแล้วเด็ดปีกก่อนย้าย ลงถุง ตามภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัดยโสธรที่ปฏิบัติต่อเมล็ดพรรณไม้ในวงศ์ยาง ประโยชน์ เนื้อไม้ ค่อนข้างแข็ง แต่ไม่ทนทานส้าหรับการใช้งานกลางแจ้ง ทนปลวก เหมาะส้าหรับการก่อสร้างภายในท้า เฟอร์นิเจอร์ หรือไม้อัด ชันใช้ท้าขี้ไต้แต่คุณภาพไม่ดีเท่าเหียงกราด ภาพที่ 2.19 ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) (ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555)) 4. พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่น กะยอม, ขะยอมดง (ภาคเหนือ); ยางหยวก (น่าน); แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ); สุกรม (ภาค กลาง); พะยอมทอง(ปราจีนบุรี) ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็งปานกลาง โตค่อนข้างช้า ผลัดใบช่วงสั้น ๆ หรือช่วง นานขึ้นในปุาผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงได้ประมาณ 35 ม. มีพูพอน เปลือกหนาแตกเป็นร่องตามยาว เปลือกใน เรียงเป็นชั้นสีเหลือง คล้ายกระบาก ชันสีเหลืองอ่อน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบรูปใบ หอกขนาดเล็ก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีเกล็ดด้านล่าง ต้นกล้าแผ่นใบ ด้านล่างมักมีขนสั้นนุ่ม เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกออกตามซอกใบ ยาว 3–8 ซม. ดอกสีครีม มี 5 กลีบ ร่วงติดกัน เกสรเพศผู้ 15 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น ปลายอับเรณูมีรยางค์ ยาวประมาณ 1.5 เท่า ของความยาวอับ เรณู รังไข่ เกลี้ยงช่วงโคน ยอดเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มเมล็ดเกือบมิด ปีกยาว 3 ปีก ยาว 5–10 ซม. ปีก สั้น 2 ปีก ยาว 3–6 ซม. โคนปีกหนา เมล็ดเกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศ ไทย ขึ้นในปุาเต็งรัง ปุาเบญพรรณ ปุาดิบแล้ง และปุาดิบชื้น ทั่วทุกภาคของประเทศ บางครั้งพบตามปุา ชายหาด ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 ม. ผลแก่ช่วงเดือนเมษายน–พฤษภาคมหรือเลยไปจนถึงเดือน พฤศจิกายน ภาพที่ 2.20 พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) (ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555)) 15
  • 21. 5. ตะเคียนทอง (Hopea odorata Roxb.) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่น เคียน, ตะเคียน, ตะเคียนใหญ่ (ทั่วไป); จะเคียน(ภาคเหนือ); แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ลักษณะวิสัย ไม้เนื้อแข็ง โตค่อนข้างเร็ว ไม่ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ประมาณ 45 ม. ล้าต้นเปลา ตรง มีพูพอนที่โคน เปลือกหนาสีน้้าตาลด้า แตกเป็นร่องตามยาว หรือลอกเป็นสะเก็ด เปลือกในหนา สีเหลือง ขุ่น มีริ้วสีชมพู ให้ชันสีขาว ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่สาคัญ หูใบขนาดเล็ก ใบโค้งคล้ายรูปเคียว ยาว 5–14 ซม. ด้านล่างมักมีต่อมที่ซอกระหว่างเส้นกลางใบกับเส้นแขนงใบ เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกยาว 3–10 ซม. แตกแขนงด้านเดียว ดอกขนาดเล็กมีกลิ่นหอม กลีบบิดเวียน ขอบเป็นชายครุย เกสรเพศผู้ 15 อันปลาย อับเรณูเป็นรยางค์ รังไข่มีฐานก้านยอดเกสรเพศเมียผลมีปีก ยาว 2 ปีก ยาว 3–6 ซม. ปีก สั้น 3 ปีก ยาว 0.5– 0.7 ซม. เมล็ดมีเกล็ดเป็นขุย ปลายเป็นติ่งแหลม เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายในปุาดิบแล้ง ปุา ดิบชื้น และปุาบุ่ง-ปุาทาม ตามริมล้าธารปุาผลัดใบผสม และในที่ราบลุ่มใกล้แม่น้้าทั่วประเทศ ระดับความสูงไม่ เกิน 600 ม. ไม่พบขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่นเป็นบริเวณกว้าง ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์–มีนาคมหรือต้นเดือน เมษายน ผลแก่เดือนพฤษภาคม–กรกฎาคม หรือเลยไปจนถึงเดือนพฤศจิกายน ส่วนมากจะออกดอกติดผลใน รอบประมาณ 2–3 ปีประโยชน์ เนื้อไม้แข็ง ทนทาน สีเข้มเมื่อโดนอากาศ นิยมใช้ท้าเรือขุด ท้าไม้หมอนรถไฟ เครื่องเรือน และการก่อสร้างที่ต้องการความแข็งแรง ชัน น้าไปผสมน้้ามันใช้ยาแนวเรือหรือเคลือบเงา มี สรรพคุณทางสมุนไพรรักษาแผลสดเปลือกใช้เคี้ยวกับหมาก แก้ปวดฟัน นิยมปลูกเป็นพืชสวนปุา ให้ร่มเงาแก่ พืชเกษตรอื่นๆ การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักช้า เมล็ดที่ร่วงใหม่ ๆ หรือเมล็ดแก่บนต้น มีอัตราการงอกสูง เมล็ดเก็บไว้ที่อุณหภูมิประมาณ 15 องศาเซลเซียส ได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์ เด็ดปีกทิ้งก่อนน้าไปเพาะ แช่น้้าไว้ 8– 12 ชั่วโมง เมล็ดงอกใช้เวลา 1–4สัปดาห์ การปลูกโดยเปลือยรากมีอัตราการรอดตายสูง แต่ต้องตัดแต่งราก ก่อน ภาพที่ 2.21 พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) (ที่มา : ส้านักงานหอพรรณไม้ (2555)) 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมบูรณ์ บุญยืน (2532) ท้าการศึกษาผลกระทบของการเพาะเชื้อเอคโตไมคอร์ไรซา Pisolithus tinctorius (Pers.) Coker & Couch ต่อ การเจริญเติบโตและการดูดซับธาตุอาหารของกล้าไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส และสนคาริเบียที่ปลูกบนมูลดินเหมืองแร่ พบว่า เมื่อกล้าไม้มีอายุ 6 เดือน กล้าไม้ที่ปลูกราเอค โตไมคอร์ไรซา มีการเจริญเติบโตด้านความสูง เส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับคอราก มวลชีวภาพ น้้าหนักแห้ง ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม สูงกว่ากล้าไม ้ที่ไม่ได้ปลูก ราเอคโตไมคอร์ไรซาอย่างมีนัยส้าคัญ ธีระวัฒน์ บุญทวีคุณ (2533) ได้รายงานผลการทดลองการปลูกราเอคโตไมคอร์ไรซา P. tinctorius ให้กับกล้าไม้สนสามใบ และสนคาริเบีย พบว่า การเจริญเติบโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับคอรากมวล ชีวภาพน้้าหนักแห้ง ปริมาณการดูดซับ ธาตุฟอสฟอรัสในส่วน ของใบ ล้าต้น และราก มีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยส้าคัญระหว่างทรีทเมนต์ โดยที่ทรีทเมนต์ ที่ใส่ดินเชื้อให้ผลดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ทรีตเมนต์ที่ใส่สปอร์ ทรีตเมนต์ที่ใส่เส้นใย และทรีตเมนต์ที่ไม่ได้ปลูกราเอคโตไมคอร์ไรซา ตามล้าดับ 16
  • 22. ทนุวงศ์ แสงเทียน และอุทัยวรรณ แสงวณิช (2537) ศึกษาการเจริญเติบโตของกล้าไม้ยางนาที่ได้รับ การปลูกเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซา 3 ชนิด คือ เห็ดตะไคล เห็ดน้้าแปูง และเห็ดน้้าหมาก พบว่า กล้ายางนาที่ ปลูกเชื้อราด้วยชิ้นส่วนดอกเห็ดตะไคลมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด อุทัย อันพิมพ์ และคณะ (2554) ได้ท้าการทดลองเอาน้้าปั่นสปอร์ของเห็ดระโงก เห็ดเผาะ เห็ดน้้า หมาก ไปรดต้นยางนาในพื้นที่แปลงของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ต้นยางนามีการเจริญเติบโตได้ ดีกว่าต้นที่ไม่รดเชื้อเห็ด 17