SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเซิงหวาย 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม kitty 
1.น.ส.ณัชนันท์ มูลสา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 4 
2.น.ส.ธิติพร พรมวัลย์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 5 
3.น.ส.วรัญญา ใบประเสริฐ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 7 
4.น.ส.ศศิธร กองพิธี ชั้น ม.6/1 เลขที่ 8 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยจัดเป็นวาระสาคัญของชาติ การรวบรวม ศึกษา วิจัย และจัดทาข้อเสนอเกี่ยวกับการกาหนดนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง จะต้องมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อมโยงกัน ด้วยเหตุนี้ กลุ่มของเราจึงเห็นความจาเป็นในการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชน ที่จะช่วยทากิจกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชนอย่างเป็น ระบบ เกิดประโยชน์สูงสุด ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพต่อไป การ สะสมข้อมูลองค์ความรู้ ด้านความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยนั้นมีการจัดเก็บและค้นพบข้อมูล ต่างๆ เหล่านี้อยู่ช้านาน การจัดเก็บมีการกระจายอยู่ทั่วไป โดยผู้ที่ถือครองข้อมูลมีทั้งผู้ถือครองที่เป็นองค์กร หรือตัวบุคคล ซึ่งนับเป็นข้อจากัดและยากต่อการนามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพของชุมชน ดังนั้นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้มี การรวบรวม จัดระเบียบ การบริหารจัดการข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่าง เป็นระบบ หมวดหมู่ อย่างชุมชนที่พวกเราสนใจที่จะศึกษาข้อมูลก็คือ ชุมชนวัดเซิงหวาย ซึ่งเป็นชุมชนที่ไม่ ใหญ่มากแต่ก็เป็นชุมชนที่มีสถานที่สาคัญตั้งอยู่หลายแห่งคือโรงเรียนระดับอนุบาลและประถม มีวัด และอีก ทั้งยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนที่เราได้ทาการศึกษาอยู่ ชุมชนวัดเซิงหวายมีทั้งบ้านเรือนที่เป็นหลังๆ เป็นตึก3-4ชั้น มีร้านชายของ ร้ายขายอาหารและอื่นๆอีกมากมาย จึงทาให้ชุมชนวัดเซิงหวายนี้มีความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างมาก จากที่เราได้ไปทาการสารวจมาแล้ว จึงได้ทาการวิเคราะห์และเลือกสิ่งมีชีวิตที่เป็นตัวอย่าง คือ ต้นชาดัก ต้นลีลาวดี ต้นพลูด่าง ต้นโมก ดอกเข็ม เฟื่องฟ้า ชวนชม ต้นไทร ต้นกล้วย และปลาหางนกยูง เป็นต้น ซึ่งเราก็จะมาทาการศึกษาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตดังกล่าวที่มีอยู่ในชุมชนวัดเซิงหวายต่อไป จึงถือเป็นสิ่งจาเป็นที่จะทาให้พวกเราได้ทาการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เราทุกคนต่างมี ความสัมพันธ์และต้องพึ่งพาความหลากหลายทางชีวภาพในการดารงชีวิตประจาวัน ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แม้ว่าบ่อยครั้งจะไม่รู้ตัวก็ตาม ซึ่งโดยทั่วไป คนเรามักเห็นความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพจาก ประโยชน์โดยตรงที่เราได้รับ นั่นคือการนามาเป็นอาหาร แต่ความจริงแล้วามหลากหลายทางชีวภาพนั้นมี บทบาทตามธรรมชาติกว้างขวางมาก สิ่งเหลานี้เป็นประโยชน์ที่คนเราได้รับจากธรรมชาติโดยไม่ต้องเสีย ค่าบริการใดๆ แต่ในบ่อยครั้งพบว่าคนเรามองข้ามความสาคัญของมันไป เราจึงเลือกที่จะมาทาการสารวจถึง ชีวภาพความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตต่างๆในชุมชนวัดเซิงหวาย
2. วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อสามารจาแนกสปีชีร์และสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตได้ 
2. เพื่อจะได้ทราบถึงลักษณะของดอก ใบ ลาต้น คุณประโยชน์ ชื่อเรียกสามัญทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ ฤดูกาล ที่ใช้ประโยชน์และประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตที่ได้ทาการสารวจ 
3. เพื่อให้ได้รู้จักสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การปลูกสาหรับต้นไม้และสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของ สิ่งมีชีวิตนั้นๆ 
4.เพื่อให้รู้เรื่องของทรัพยากรความหลากหลายทางชีภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สารวจ 
3. สมมติฐานของการศึกษา 
ถ้าชุมชนวัดเซิงหวายมีความหลากหลายทางชีวภาพแล้ว เมื่อเราทาการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนก็จะพบ สิ่งมีชีวิต เช่น ต้นชาดัก ต้นลีลาวดี ต้นพลูด่าง ต้นโมก ดอกเข็ม เฟื่องฟ้า ชวนชม ต้นไทร ต้นกล้วย และปลา หางนกยูง เป็นต้น 
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1. สามารจาแนกสปีชีร์และสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตได้ 
2. ได้ทราบถึงลักษณะของดอก ใบ ลาต้น คุณประโยชน์ ชื่อเรียกสามัญทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ ฤดูกาลที่ใช้ ประโยชน์และประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตที่ได้ทาการสารวจ 
3. ได้รู้จักสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การปลูกสาหรับต้นไม้และสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต นั้นๆ 
4. ได้รู้เรื่องของทรัพยากรความหลากหลายทางชีภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สารวจมากขึ้น 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 
ส่วนประกอบของพืช 
ราก ( Root ) รากโดยทั่วไปเกิดมาจากส่วนกลางของใบเลียง(Hypocotyl)ของเอมบริโอ ซึ่งเรียกว่ารากเกิด ( radicle ) และ งอกออกจากเมล็ดเรียกว่ารากแก้ว ( primary root หรือ tap root ) ซึ่งสามารถแตกกิ่งก้านสาขาออกไปได้อีก เป็นรากแขนง ( secondary root )ถ้าคิดจากการกาเนิดตะมีราก 2 ชนิด คือรากแก้วและรากพิเศษ ( adventitious root ) โดยรากแก้วเกิดจาก embryo และมีสาขาเป็นรากแขนงเกิดจาก pericycle ของรากเดิม ส่วนรากพิเศษที่เกิดจากส่วนอื่น ๆ ของพืช เช่น ลาต้น ใบ หรือส่วนอื่น ๆ ของรากที่แก่ ซึ่งในส่วนนี้รากที่ เกิดจากพวกแคลลลัส ( callus ) ของกิ่งที่ปักชานับว่ามีความสาคัญมาก
รากที่เจริญมาจาก embryo จะมีระบบราก 2 ประเภทคือ 1.ระบบรากแก้ว ( primary root system ) มีรากแก้วเป็นหลักมีขนาดใหญ่กว่ารากอื่น ๆ อาจมีรากแขนง แตกออกมาจาก pericycle ของรากแก้ว พบใน พืชใบเลี้ยงคู่ 2.ระบบรากฝอย ( fibrous root system) มักประกอบด้วยรากที่มีขนาดใกล้เคียงกันเป็นเส้นเล็ก ๆ แผ่ออก โดยรอบพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว โครงสร้างทางกายวิภาคของราก ปลายรากประกอบด้วย 1.Root cap หรือหมวกราก เป็นส่วนปลายสุดป้องกันไม่ให้รากฉีกขาด ในขณะที่รากเจริญและแทงหยั่งลึกลง ไปในดินเพื่อหาอาหาร root cap เป็นเซลล์ parenchyma รูปสี่เหลี่ยมหรือกลม 2.region of cell division , meristematic region เป็นกลุ่มเซลล์ที่เจริญทาหน้าที่แบ่งเซลล์ 3. region of elongation บริเวณนี้เซลล์มีการยืดยาวและมีการเจริญอย่างรวดเร็ว แบ่งออกเป็นเซลล์ผิว ( protoderm ) เซลล์เจริญชั้น cortex ( ground meristem ) และเซลล์เจริญชั้น procambium 4.region of maturation เซลล์ถาวรบริเวณนี้พัฒนามาจากกลุ่มเซลล์ในบริเวณ region of elongation เป็น ตัวการสาคัญในการช่วยดูดน้าและเกลือแร่ บริเวณนี้จะพบ root hair ซึ่งเกิดมาจาก epidermal cell ยื่นออกไป ที่บริเวณ region of maturation จะเป็นบริเวณที่สร้างรากแขนง ( lateral root ) จากเซลล์ต้นกาเนิดคือ pericycle cell ข้อแตกต่างของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทาหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก หน้าที่ของราก 1.ดูด ( absorption ) น้าและแร่ธาตุจากดิน 2. ลาเรียง ( conduction ) น้า แร่ธาตุ และ อาหาร 3. ยึด ( anchorange ) ลาต้นให้ติดกับพื้นดิน 4. สร้างฮอร์โมน ( producing hormones ) เช่น cytokinin,gibberellin เพื่อพัฒนาลาต้นยอดและส่วนอื่น ๆ 5. อาจทาหน้าที่พิเศษอื่น ๆ เช่น สะสมอาการ สังเคราะห์แสง ค้าจุน ยึดเกาะ หายใจ เป็นต้น
ลาต้นพืช ( Stem ) ลาต้นเป็นโครงสร้างที่ต่อเนื่องมาจากราก ประกอบด้วย ข้อ ( node ) และปล้อง ( internode ) มีใบและตาติด อยู่บนข้อลาต้นส่วนมากจะชูสูงขึ้นมาเหนือดิน ยกเว้นลาต้นที่อยู่ใต้ดิน ลาต้นเป็นส่วนของ vegetative part ที่ เจริญมาจากคัพภะ ( embryo ) มีจุดกาเนิดตรงส่วนของ epicotyl เจริญเป็นส่วนยอด เรียก pulmule โครงสร้างกายวิภาคของลาต้น 1.โครงส้างของลาต้นที่เจริญมาจากการเจริญเติบโตในขั้นปฐมภูมิ ( primary growth ) บริเวณปลายยอด ( shoot apex ) ทาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และยังเป็นศูนย์กลางการแบ่งเซลล์ คือ apical meristem ซึ่ง ประกอบด้วย เซลล์ meristem ล้วน ๆ และแบ่งตัวอยู่เสมอ ทาให้ลาต้นสูงขึ้น 1. Meristematic zone อยู่ปลายสุดของยอด ทาหน้าที่แบ่งตัวแล้วเปลี่ยนสภาพไปเป็น primary meristem มี 3 ชนิดคือ 1.1 protoderm ผิวนอกสุดของลาต้น มีเซลล์เพียงชั้นเดียว หรืออาจมี 2 – 3 ชั้น และจะเจริญเป็น epidermis 1.2 procambium เป็นเซลล์ที่ย้อมติดสีเข้มกว่าบริเวณอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงจะเปลี่ยนสภาพเป็นprimary xylem และ primary phloem 1.3 ground meristem เป็นเนื้อเยื่อที่กล่าวมาจากข้างต้น ต่อไปจะเปลี่ยนเป็น cortex และ pith 2. leaf primodium เป็นจุดกาเนิดของใบที่อยู่ด้านข้างที่อยู่ปลายยอดทั้ง 2 ข้าง 3.region of elongation เป็นบริเรณที่เซลล์ขยายตัวทางด้านข้างถัด จาก epical meristem ลงมา 4.axillary bud and primordial เป็นจุดกาเนิดตาข้าง ประกอบด้วยเซลล์ meristem ขนาดเล็ก Epidermis ส่วนใหญ่จะพบเพียง 1 ชั้น มีสารพวกคิวติน หรือ wax เคลือบอยู่ด้านนอก เพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออก จากเนื้อเยื่อพืช จะพบปากใบ ( stomata ) กระจายอยู่ในชั้นนี้บ้างแต่มีปริมาณน้อยกว่าใบ เซลล์ผิวที่ดัดแปลง พิเศษ Cortex ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ parenchyma ภายในอาจมี chloroplast เซลล์เรียงตัวค่อนข้างหลวม เห็นช่องว่างระหว่าง เซลล์
Pith ประกอบด้วย parenchyma cells เป็นส่วนมาก ภายในเซลล์อาจมี chloroplast Vascular bundle ในลาต้นมีการเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิ เนื้อเยื่อท่อลาเลียงประกอบด้วยเนื้อเยื่อ phloem และ xylem จะ เรียงตัวอยู่ในแนวรัศมีเดียวกัน ( collateral ) โดยมี phloem อยู่ด้านนอก xylem อยู่ด้านใน การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลียงคู่ vascular bundle เป็นแบบ open bundle มี vascular cambium เกิดขึ้นภายหลังการเจริญเติบโต ของลาต้นใน ระยะ primary growth มี vascular bundle เป็นกลุ่มเรียงตัวกันเป็นระเบียบ ( ordered )ในลาต้นที่เจริญมาก กลุ่มท่อลาเรียงจะมีเนื้อเยื่อพวก sclerenchyma ล้อมรอบ ผนังหนาเห็นชัดเจน เรียก bundle sheath การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว vascular bundle เป็นแบบ close bundle ไม่มีเซลล์ vascular cambium เกิดขึ้น vascular bundle เรียงตัวกระจัด กระจายไม่เป็นระเบียบ ( scatter ) 2.กายวิภาคของลาต้นที่มีการเจริญเติบโตในระยะ ทุติยภูมิ ( secondary growth ) การเจริญเติบโตในระยะทุติยภูมิ ( secondary growth ) ของพืชใบเลียงคู่ เซลล์ที่มีชีวิตตั้งแต่ชั้น epidermis จนถึงชั้น phloem tissue สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ cork cambium แบ่งเซลล์ให้ชั้น epiderm คอยทาหน้าที่ป้องกันอันตรายแทนชั้นเซลล์ epidermis ที่ต่อไปจะถูก เบียดให้หลุดหายไป ส่วนเนื้อเยื่อชั้น vascular bundle มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เซลล์ที่มีชีวิตอยู่ ระหว่าง xylem และ phloem พัฒนาเป็น vascular cambium แบ่งตัวให้ secondary phloem และsecondary xylem secondary phloem เรียงอยู่เป็นวงนอกและ secondary xylem เรียงเป็นวงอยู่ด้านใน ทาหน้าที่แทน metaxylem และ meta phloem การเจริญในระยะนี้เกิดเซลล์ xylem ray และ phloem ray ในพืชที่มีอายุยืน หลายปี มีการเจริญของ secondary growth มาก สามารถเป็นชั้นเปลือกและแผ่น และจาแนกชนิดของแผ่นไม้ ( wood ) ได้หลายรูปแบบเช่น sap wood เป็นเนื้อไม้บริเวณที่ secondary xylem tissue ยังทาหน้าที่ลาเลียงอยู่ และ heart wood เป็นบริเวณที่ xylem tissue ไม่ทางานแล้ว การเจริญของพืชในแต่ละช่วงทาให้เกิดเป็นวงปี ( annual ring ) ขึ้น วงปีที่เห็นเกิดจากการแบ่งเซลล์ อัตราการเจริญของเซลล์ที่มีการเจริญเติบโตไม่เท่ากับขึ้นอยู่กับลักษณะ ความสมบูรณ์ของสภาพแวดล้อมในช่วง 1 ปี กล่าวคือในช่วง ฤดูฝนดินฟ้าอากาศชุ่มชื้นน้าและอาหารอุดม สมบูรณ์ การแบ่งตัวของเซลล์ในช่วงนี้จะเกิดอย่างรวดเร็ว มีปริมาณของเซลล์ที่เกิดใหม่มากขึ้น เซลล์มี ขนาดใหญ่มีผนังบาง การเจริญในช่วงนี้เจริญไปเป็นช่วงเนื้อไม้ที่มีบริเวณกว้าง มีสีอ่อนเรียก early wood ,
spring wood พอย่างเข้าฤดูแล้งน้าและอาหารไม่อุดสมบูรณ์ ดินฟ้าอากาศแห้งแล้งการแบ่งเซลล์จะลด ปริมาณลงอย่างชัดเจน เซลล์มีขนาดเล็ก ผนังหนา เนื้อไม้บริเวณนี้จะแคบและมีสีเข้มเรียก late wood , autumn wood ดังนั้นการเจริญในช่วงเวลา 1 ปี หรือ annual ring จะเห็นอยู่ 2 แถบ คือแถบของ early wood และแถบของ late wood ในบางทีอาจมีแถบเพิ่มมากขึ้นเรียก false ring เนื่องจากสภาพอากาศมีความ แปรปรวนมากทาให้มีการเจริญที่ผิดปกติ ข้อแตกต่างของลาต้นพืชใบเลียงคู่และลาต้นพืชใบเลียงเดี่ยว Dicot stem Monocot stem 1.ข้อปล้องไม่ชัดเจน 1.มีข้อปล้องชัดเจน 2. Vascular bundle เรียงตัวกันเป็นระเบียบ 2. Vascular bundle กระจัดกระจาย 3. มี vascular cambium 3. ไม่มี vascular cambium 4. มี secondary growth 4. ไม่มี secondary growth 5.่่มี annual ring 5.ไม่มี annual ring 6. xylem และ phloem 6. xylem และ phloem ทางานได้นาน ลาต้นที่เปลี่ยนแปลง ( modified stem ) 1.ลาต้นที่อยู่เหนือดิน 1.1 Stolon ลาต้นที่ทอดไปตามพื้นดินและพื้นน้า มีปล้องยาว ใบ ดอก และรากที่ข้อเช่น บัวบก จอก ผักแว่น 1.2 Twing stem ลาต้นอ่อนที่เลื้อยพันสิ่งที่อยู่ใกล้ เช่น พางชมพู เถาวัลย์ 1.3 Thorny stem ส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม เช่น เฟื่องฟ้า มะนาว ส้ม 1.4 Cladode หรือ cladophyll ลาต้นสีเขียวทาหน้าที่สังคราะห์แสง เช่น กระบองเพชร 1.5 Stem tendril ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เป็นมือเกาะหรือยึดสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง เช่น พวงชมพู องุ่น Hook เช่น การเวก 2.ลาต้นใต้ดิน 2.1 Rhizome ลาต้นขนานไปกับพื้นดิน มีข้อปล้อง และ scale leaf ที่ข้อมีตา ซึ่งจะเติบโตเป็นลาต้นหรือใบ และแทงขึ้นเหนือพื้นดิน มีรากเป็นแบบ adevetitious root เช่น ขิง ข่า พุทธรักษา 2.2 Tuber ลาต้นสั้นและใหญ่มีตาอยู่โดยรอบ เช่น มันฝรั่ง 2.3 Corm ลาต้นตั้งตรงมีข้อปล้อง เห็นได้ชัดเจนเช่น เผือก 2.4 Bulb ลาต้นตรงอาจมีพ้นพื้นดินขึ้นมาบ้าง มีข้อปล้องสั้นมาก ตามปล้องมี scale leaf สะสมอาหารล้อมกันหลายชั้นหุ้มลาต้น เช่น หัวหอม พลับพลึง เป็นต้น ใบ ( Leaves ) เป็นส่วนของพืชหรือรยางค์ที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้าง โดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้องของต้นและกิ่ง ใบ
ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ รูปร่างและขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลัก ของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า ลักษณะโครงสร้างภายในของใบ ส่วนประกอบของใบมี 3 ส่วนคือ แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) ก้านใบ ( petiole ) และหูใบ ( stipule ) 1.แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) มักแผ่เป็นมีขนาดใบและรูปร่างต่างกัน 1.1เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จากเส้นกลางใบแยก ออกเป็นเส้นใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) ในพืช ใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนมาก เป็นเส้นใบขนาน ( parallel venation )เรียงตามยาวของใบ (plamately parallel venation) และเส้นใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation ) ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย ( netted หรือ recticulated venation ) ซึ่งมี 2 แบบคือ - แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation ) - ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately netted venation ) 1.1.1รูปร่าง ( shape ) ของแผ่นใบ พิจารณาจากอัตราส่วนตามความยาวและ ความกว้างของแผ่นใบ 1.1.2ปลายใบ ( apex ) ฐานใบ ( base ) และขอบใบ ( margin )รูปแบบและชื่อเรียกต่างกัน 2. ก้านใบ ( petiole ) ติดกับแผ่นใบตรงฐานใบ ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดตรงกลางหรือตรงด้านในของแผ่นใบ ก้านใบสั้นบ้าง ยาวบ้าง หรือไม่มีก้านใบเลย เรียก sessile leaf ก้านใบโดยมากมีลักษณะกลม ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ก้านใบแผ่หุ้มลาต้นเรียกกาบใบ ( leaf sheath ) 3. หูใบ ( stipule ) เป็นระยางค์ อยู่ตรงโคนก้านใบ ถ้าเป็นหูใบของในย่อย ( leaflet ) เรียกหูใบย่อย ( stiple ) หูใบมีลักษณะเป็น ริ้ว หนามหรือต่อมเล็ก ๆ ส่วนใหญ่มีสีเขียว หูใบมีรูปร่างขนาดและสีต่างกัน การจัดเรียงของใบบนต้น ( leaf arrangment ) ใบที่ออกมาจากส่วนของลาต้น แบ่งออกได้กว้าง ๆ 3 แบบคือ 1.แบบสลับ ( alternate หรือ spiral ) 2.แบบตรงข้าม ( opposite ) 3. แบบวง ( whorled ) ใบเดี่ยวและใบประกอบแบบต่าง 1.ใบเดี่ยว ( simple leaf ) ใบที่มีแผ่นใบแผ่นเดียว 2.ใบประกอบ (compound leaf )คือใบที่มีแผ่นใบมากกว่าหนึ่งเกิดบนก้านใบอันเดียวกันแต่ละใบ เรียกว่าใบ ย่อย ( leaflet ) ก้านชองใบย่อยเรียกว่า petiolule หรือ petiolet ใบเดี่ยวหรือใบประกอบสังเกตได้โดยใบเดี่ยว มีตาข้าง ( arillary bud ) หรือ ตายอด ( terminal bud ) อาศัยดูความอ่อนแก่ของใบ ถ้าเป็นใบประกอบจะแก่ พร้อม ๆ กัน แต่ถ้าเป็นกิ่งของใบเดี่ยว ใบตอนโคนจะแก่กว่าใบตอนปลายกิ่ง ใบประกอบแยกออกได้ดังนี้ 2.1)ใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf ) มีใบย่อยออก 2 ข้างของเกนกลาง ( rachis) ซึ่งเป็น
ส่วนที่ต่อกับก้านใบ ใบประกอบมีใบย่อยออกแกนกลาง 2 ครั้ง เรียกใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ( bipinnately compound leaf ) แกนของใบประกอบใบย่อยแยกออกจากแกนกลาง นี้เรียก rachilla พืชบาง ชนิดมีใบประกอบแบบ tripinnately compound leaf คือมีการแตกแขนงของใบ ย่อยเช่นเดียวกับใบประกอบ แบบขนนกสองชั้นแต่เพิ่มมาอีก หนึ่งชั้น 2.2)ใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf ) คือใบประกอบที่มีใบย่อยทุกใบออกมาจากตาเหน่ง เดียวกันตรงปลายก้านใบ ใบประกอบแบบนี้ถ้ามี 3 ใบย่อยเรียก trifoliolate ถ้ามี 4 ใบเรียก quadrifoliolate และถ้ามีใบย่อยมากกว่านี้เรียก polyfoliolate trifoliolate อาจเป็นใบประกอบแบบขนนกถ้ามี rachis ใบที่เปลี่ยนแปลง ( modified leaf ) 1.1ใบที่ทาหน้าที่ป้องกันอันตราย ( protective leaf ) เช่นเกล็ดหุ้มตา ( bud scale ) มีลักษณะเป็นเกล็ดหุ้มตา ขณะยังอ่อน หรือเป็นหนาม ( spine ) อาจเกิดจากส่วนของแผ่นใบ หูใบ ขอบใบ หรือส่วนต่าง ๆ ของใบที่ เปลี่ยนเป็นหนาม 1.2 ใบช่วยพยุงลาต้น ( supporting leaf ) เช่น ใบยึดเกาะ (leaf tendril) หมายถึงส่วนของใบที่เปลี่ยนไปทา หน้าที่ยึดเกาะ กาบใบ ( leaf sheath ) ทาห้าที่เหมือนลาต้นโครงสร้างของกาบใบหุ้มซ้อนอัดแน่นกัน ใบทุน ( buoyancy leaf ) ก้านใบที่พองช่วยพยุงลาต้นให้ลอยน้า 1.3ใบล่อตา ( attractive leaf ) คือใบที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะสวยงาม คล้ายกลีบดอกเรียก bract 1.4ใบขยายพันธุ์ ( reproductive leaf ) คือใบที่สามารถกาเนิดต้นใหม่ได้ 1.5ใบสะสมอาหาร ( storage leaf ) 1.6ใบกับดัก ( carnivorous leaf ) คือส่วนของใบที่เป็นกับดักสัตว์เล็ก ๆ เช่นหม้อข้าวหม้อแกงลิง สาหร่าย ข้าวเหนียว ในก้าน ( phyllode ) คือก้านใบหรือแกนกลางของใบที่แผ่เป็นแผ่นใบ ส่วนใบจริงนั้นไม่มี มี เฉพาะในต้นกล้าเท่านั้น โครงสร้างภายในใบ 1)Epidermis ประกอบด้วย epidermal cell อยู่ด้านนอกทั้งสองข้างของแผ่นใบ มี cuticle เคลือบ epidermal cell นี้มีชั้นเดียว ยกเว้นพืชบางชนิดมีหลายชั้นเรียก multiple epidermis ซึ่งทาหน้าที่เก็บสะสมน้า ( water storge tissue ) นอกจากนี้ยังมี epidermal cells ที่มีรูปร่างต่างกันคือ 1.1 guard cell หนึ่งคู่ทาให้เกิด stoma หรือเรียกปากใบซึ่งอยู่ระดับเดียวกับ epidermis เรียก typical stoma หรืออยู่ต่ากว่าเรียก sunken stoma หรืออยู่สูงกว่าเรียก raised stoma 1.2 bulliform cell, มีขนาดใหญ่กว่า epidermal cell ธรรมดา อยู่เป็นกลุ่มประมาณ 3 – 5 เซลล์ที่ epidermis ด้านบน ทาหน้าที่เกี่ยวกับการม้วนงอของก้านใบ 2)Mesophyll เป็นเนื้อเยื่ออยู่ระหว่าง epidermis ทั้ง 2 ด้านส่วนใหญ่เป็น parenchyma สองชนิดคือ palisade parenchyma รูปทรงกระบอกเรียงชิดกันในแนวดิ่งมีคลอโรพลาสต์มากซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในกระบวนการ สังเคราะห์แสง อีกชนิดคือ spongy parenchyma ขนาดและรูปร่างของเซลล์ไม่แน่นอนอยู่กันอย่างหลวม ๆ
3)Vascular bundle กลุ่มท่อลาเลียงของใบซึ่งได้แก่ เส้นกลางใบ เส้นใบ และเส้นแขนงใบซึ่งมี xylem,phloem,cambium นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อcollenchyma, sclerenchyma, ที่เพิ่มความเหนียวและความ แข็งแรงให้แก่ใบ ดอกและช่อดอก( Flower ) ดอกเป็นส่วนกาเนิดของพืชที่เจริญมาจากตาดอกที่ปลายยอด ปลายกิ่ง ซอกใบ หรือข้างลาต้น ดอกมีหน้าที่ สาคัญในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบนี้ก่อเกิดพันธุ์ใหม่ ๆ ก่อให้เกิดความหลากหลายของ พันธุ์พืช ส่วนประกอบของดอก 1. Calyx เป็นวงของกลีบเลียง ( sepal ) อยู่ชั้นนอกสุดของดอกส่วนมากมีสีเขียว 2. Corolla เป็นวงของกลีบดอก ( petal ) ยู่ถัดกลีบเลี้ยงเข้าไปส่วนมากมีสีสะดุดตา 3. Androecium เป็นวงเกสรตัวผู้ ( stamen ) และก้านเกสรตัวผู้ ( filament ) ภายในอับเรณูเป็นโพรงอับเรณู ( pollen sac ) 4 ช่อง แต่ละช่องมีเรณู ( pollen grain ) จานวนมากเพื่อทาหน้าที่สร้าง sperm ต่อไป 4. gymnoecium ( pistil )เป็นวงเกสรตัวเมีย ( carpel ) อยู่ใจกลางของดอกประกอบด้วยส่วนฐานที่สร้างออวุล ( ovule ) เรียกรังไข่ ( ovary ) มีก้านเกสรตัวเมีย ( style ) ยื่นออกไปและปลายเกสรตัวเมีย ( stigma ) อยู่ปลาย สุด วงเกสรตัวเมียประกอบด้วย carpel ถ้ามี 1 carpel เรียก simple pistil ถ้ามีมากกว่า 1 carpel ขึ้นไปเรียก compound pistil 5. receptacle เป็นฐานรองดอกรองรับส่วนต่าง ๆ ของดอก 6. peduncle เป็นก้านดอกเดี่ยวหรือก้านดอกช่อ ยึดดอกกับช่อดอกติดกับลาต้นในกรณีของช่อดอกมีก้าน ดอกย่อย ( pedicle ) ยึดดอกย่อย ( floret ) ไว้กับช่อดอก calyx และ corolla เป็นส่วนของดอกที่รวมกัน เรียกว่า perianth แต่ดอกของพืชบางชนิดมีส่วนของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกไม่ต่างกันเรียก perianth เช่นกัน ซึ่งแต่ละกลีบเรียกกลีบรวมเรียก ( tepal ) เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งเรียก essential part แต่ละกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเป็นส่วนช่วยในการสืบพันธุ์เรียก accessory part รูปแบบชนิดดอก 1.อาศัยจานวนของดอกที่เกิดจากตาดอก แบ่งเป็นดอกเดี่ยว ( solitary flower ) เป็นดอกที่เกิดจาก 1 ตาดอกมี เพียงดอกเดียว และช่อดอก ( inflorescenes ) เป็นกลุ่มดอกที่เกิดจากหนึ่งตาดอกที่มีหลายดอก แต่ละดอก เรียกดอกย่อย 2.อาศัยส่วนประกอบของดอกทั้ง 4 วง คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และ เกสรตัวเมีย ดอกที่มี ส่วนประกอบดอกครบ 4 วงเรียก ดอกครบส่วน ( complete flower ) แต่ถ้าขาดหายไป 1 – 2 วงเรียกดอกไม่ ครบส่วน(incomplete flower) 3.อาศัยส่วนของดอกที่จาเป็นต่อการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยตรง คือเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย ดอกที่มี ทั้ง 2 เพศอยู่ในดอกเดียวกันเรียก ดอกสมบูรณเพศ( perfect flower ) ส่วนดอกที่มีเพียงเพศเดียวเรียกว่า ดอก ไม่สมบูรณ์เพศ ( incomplete flower ) แบ่งเป็นดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย
4.อาศัยตาเหน่งของรังไข่ที่ติดกับฐานดอกเปรียบเทียบตาแหน่งกับรอยติดของกลีบเลี้ยง กลีบดอกและเกสร ตัวผู้อยู่บนฐานดอก - Epigynous flower คือดอกที่มีรังไข่ต่ากว่าส่วนอื่น ๆ ของดอก ( inferior ovary ) บนฐานดอก - Hypogynous flower คือดอกที่มีรังไข่อยู่สูงกว่าส่วนอื่น ๆ บนฐานดอก ( superior ovary ) บนฐานดอก - Perigynoun flower คือดอกที่มีส่วนของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เจริญติดกันกับฐานดอกเป็นโคลง สร้างรูปถ้วยเรียกว่า hypanthium 5.อาศัยสมมาตร ( symmetry ) ของดอก เป็นการจัดส่วนแบ่งของดอกเมื่อพิจารณาจากด้านบนของดอก แบ่งเป็นดอกได้สมมาตร ( regular flower ) คือดอกที่มี radial symmetry หมายถึงดอกที่แบ่งครึ่งตามยาวของ ดอกแล้วได้ 2 คล้ายกันหรือเหมือนกันมากกว่า 1 ครั้ง ขึ้นไป และดอกไม่ได้สมมาตร ( irregular flower ) คือ ดอกที่มี bilateral symmetry หมายถึงดอกที่แบ่งครึ่งความยาวของดอกแล้วได้เป็น 2 ส่วน คล้ายกันหรือ เหมือนกันเพียง 1 ครั้งเท่านั้น ดอกชนิดต่าง ๆ ช่อดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบด้วยก้านช่อดอก แกนช่อดอก และดอกย่อย การเกิดดอกย่อยในช่อดอกมี หลายรูปแบบ ก่อให้เกิดความหลากหลายชนิดของช่อดอก ซึ่งจัดเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ racemose type และ cymose type 1.Racemose type หมายถึง ดอกย่อยตรงโคนช่อดอก หรือรอบช่อดอกมีอายุมากกว่าดอกอื่น ๆ แบ่งออกได้ เป็นดังนี้ 1.1 raceme ช่อดอกค่อนข้างยาวมีแกนช่อดอก ดอกย่อยออกจากแกนช่อดอกโดยตรงเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกยาวเท่า ๆ กัน 1.2 spike ช่อ ดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่ไม่มีก้านดอกย่อย 1.3 catkin ช่อดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่เป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ ช่อดอกมีลักษณะตั้งขึ้นหรือห้อย หัวลง 1.4 corymb ช่อดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่ก้านดอกยางเท่าไม่ถึงกัน จึงส่งดอกย่อยให้อยู่ในระดับ เดียวกัน 1.5 spadix ช่อดอกมีใบประดับขนาดใหญ่ ( spathe ) รองรับกลุ่มดอกย่อย ดอกย่อยอัดกันแน่นบนช่อดอก ซึ่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศก็ได้ 1.6 umbel ช่อดอกที่มีดอกย่อยทั้งหมดเกิดตรงปลายก้านช่อดอก ไม่มีแกนช่อดอกมีก้านช่อดอกยาวเท่า ๆ กัน สงให้ดอกย่อยอยู่ในระดับเดียวกันคล้ายร่ม ช่อดอกพืชบางชนิด ปลายก้านดอกย่อยจะมีการแตกแขนง เป็นช่อดอกแบบ umbel ซ้อนอีกชั้น จึงเรียกช่อดอกแบบนี้เรียกว่า compound umbel 1.7 head ช่อดอกที่มีก้านดอกย่อยอัดกันแน่นตรงปลายก้านช่อดอก ช่อดอกมีลักษณะค่อนข้างกลมหรือแบน
ราบ ไม่มีแกนช่อดอก ไม่มีก้านดอกย่อย ช่อดอกพืชบางชนิดถึงแม้ไม่มีก้านดอกย่อยแต่มีหลอดกลีบของช่อ ดอก ( perianth tube ) ค่อนช้างยาวจึงทาให้ดูเป็นช่อดอกแบบ umbel 1.8 panicle ช่อดอกที่มีการแตกแขนงเป็นช่อดอกย่อยแบบหลายครั้ง แต่ละช่อดอกย่อยเป็นช่อดอกแบบ raceme หรือ spike ก็ได้ 2.Cymose type หมายถึงดอกย่อยตรงโตนช่อดอกหรือรอบนอกแกนดอก มีอายุน้อยกว่าดอกย่อยอื่น ๆ แบ่ง ได้เป็นดังนี้ 2.1. umbel head และ panicle เป็นช่อดอกที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มของ racemose type ต่างกันที่ตาเหน่งของ ดอกมีอายุมากและอายุน้อย 2.2 simple monochasium ช่อดอกที่มีดอกย่อยเพียง 2 ดอกบนก้านดอก โดยดอกบนมีอายุมากกว่าข้างล่าง 2.3 simple dichasium ช่อดอกมีดอกย่อยเพียง 3 ดอกบนก้านช่อดอก โดยดอกบนมีอายุมากกว่าดอกล่างข้าง ละ 1 ดอก ถ้ามีการแตกแขนงเป็น simple dichasium ซ้าหลายครั้งเรียกดอกแบบนี้ว่า compound dichasium 2.4 pleiochasium ช่อดอกมีการแตกแขนงเป็นดอกย่อยหลาย ๆ ครั้ง ตรงตาแหน่งที่มีการแตกแขนงจะเป็น 3 เสมอ ยกเว้นตรงปลายก้านช่อดอกจะแยกมากกว่า 3 แขนง 2.5 helicoid cyme ช่อดอกที่มีการแตกแขนงเป็นช่อดอกย่อยจานวนมาก แต่ละช่อดอกย่อยมีเพียง 2 ดอกย่อย เท่านั้นและอยู่ข้างเดียวกัน 2.6 scorpioid cyme ช่อดอกมีลักษณะคล้าย helicoid cyme ต่างกันที่ดอกย่อยเรียงสลับข้าง ผล(fruit) เมล็ด(seed) และต้นกล้า(seeding) ดอกเมื่อได้รับการปฏิสนธิ ( fertilized ) รังไข่จึงเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล ซึ่งภายในมีเมล็ดซึ่งเป็นส่วน สาคัญในการเจริญของพืชดอก (angiosperm) ผลไม้เมืองร้อนมีความแตกต่างกันมากค่อนข้างมากจึงได้มีการ จักแยกประเภทไว้ดังนี้ 1.ผล (fruit) ส่วนที่เป็นผนังหรือเนื้อของผลที่เจริญมาจาก ovary wall เรียกว่า pericarp แต่ผลบางชนิดส่วนที่เป็นเนื้อซึ่ง มักจะรับประทานได้นั้น เจริญมาจากส่วนอื่นเช่น จากฐานรองดอก ตัวอย่างเช่นมะม่วงหิมพานต์ บางทีเจริญ มาจากฐานของช่อดอกเช่น มะเดื่อ ปกติแล้ว pericarp แบ่งเป็น 3 ชั้นคือ exsocarp หรือ epicarp ( ชั้นนอก ) mesocarp ( ชั้นกลาง ) endocarp ( ชั้นใน ) ในผลบางชนิดเห็น pericarp 3 ชั้น ประกอบกัน การศึกษาเรื่องผลให้เข้าใจดีต้องศึกษาถึง pistil ด้วยว่าประกอบด้วย carpel ซึ่งมีจานวนตั้งแต่หนึ่งหรือ มากกว่า carpel นี้เทียบได้กับ megasporophyll ของพืชกลุ่มปรงและสน ( Gymnosperm ) carpel คือโคลง สร้างเจริญที่เปลี่ยนรูปมาจากใบ ดังนั้น carpel หนึ่งจะมีแนวของ midrib และแนวซึ่ง margin สองด้านมา เชื่อมติดต่อกันตามความยาวเกิดเป็นโครงสร้าง ของ pistil ซึ่งปกติแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ovary, style และ stigma ประเภทของ pistil แบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง คือ simple pistil และ compound pistil - Simple pietil คือ รังไข่เดี่ยวเกิดจาก 1 carpel
- Compound pistil คือรังไข่รวมเกิดจากหลาย carpel ซึ่งแบ่งออกได้เป็น apocarpous, syncarpous pistil Apocarpous pistil คือรังไข่ที่รวมแต่ละ carpel แยกกันตลอดโดยอิสระ แต่ละอันเป็น 1 pistil โดยสมบูรณ์ดั้ง นั้นจะพบว่าบางครั้ง carpel, pistil ,ovary นั้นใช้แทนกันได้ Syacarpous pistil คือรังไข่รวมที่ carpel ตั้งแต่ 2 ขึ้นไปรวมติดกันตลอดหรือติดกันบางส่วนแบ่งได้ 5 แบบ แบบที่ ovary style stigma ตัวอย่างพืช 1 ติดกัน ติดกัน ติดกัน คาแสด ส้ม 2 ติดกัน ติดกัน แยกกัน ชบา แตง 3 ติดกัน แยกกัน แยกกัน ละหุ่ง บานเช้า 4 แยกกัน ติดกัน ติดกัน โมก บานบุรี 5 แยกกัน แยกกัน ติดกัน ขจร รัก Plancentation บริเวณที่ ovule ติดภายในรังไข่เรียกว่า placenta และลักษณะของการที่ placenta อยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ กันคือ plancentation การศึกษา placentation นั้น หากว่ารังไข่ที่มีขนาดเล็กให้ดูจากผลจะชัดเจนกว่าดูรังไข่ และ สังเกตเมเล็ดแทนออวุล ดังได้กล่าวมาแล้วว่ารังไข่เกิดจากการเชื่อมกันของ carpel ตั้งแต่ 1 carpel ขึ้นไป การ เชื่อมติดกันของ carpel ทาให้เกิดช่องภายในรังไข่เรียก locule ซึ่งมีจานวนต่าง ๆ กันไป จานวนของ locule และ carpel อาจไม่เท่ากันก็ได้ แบบต่าง ๆ ของ placentation ดังนี้ Axile placentation รังไข่เป็น syncarpous มีหลาย locule placentaอยู่ที่แกนกลาง ( axis ) ของรังไข่ จานวน carpel และ locule เท่ากัน Laminar placentation รังไข่เป็น syncarpous มีหลาย locule และมี ovule ติดอยู่ที่ผนังภายในแต่ละ locule Parietal plancentation รังไข่ชนิด syncarpous มี 1 locule และ placenta อยู่ที่ขอบของ carpel ซึ่งมาเชื่อม ติดกัน ซึ่งจานวนของ carpel เท่ากับจานวนของ placenta เมื่อตัดผลตามขวาง Marginal placentation ลักษณะเหมือนกับ parietal placentation แต่ต่างกันที่ marginal placentation รังไข่เป็น simple pistil ให้สังเกตว่า placentation ของทั้ง 2 แบบนี้คล้ายกัน แต่ต่างกันที่ marginal placentation มี 1 carpel Free – central placentation คล้ายกัน axile placentation แต่มี 1 locule และแกนกลางซึ่งมี placenta นั้นจะยาว ไปจรดปลายรังไข่ Free – basal placentation คล้ายกับ free – central placentation แต่แกนกลางไม่ยาวไปจรดท้ายกับปลายของ รังไข่ Basal placentation มีจานวนออวุลน้อยติดที่ปลายด้านล่างของรังไข่ Apical placentation เหมือน basal placentation แต่มีออวุลเพียง 1 อันติดที่ปลายด้านบนของรังไข่
ประเภทของผล จาแนกได้หลายแบบโดยอาศัยลักษณะต่าง ๆ ของpistil, placentation และ pericarp เป็นส่วนสาคัญจัดแบ่งได้ อย่างกว้าง ๆ ดังนี้ ผลเดี่ยว ( simple fruit ) เป็นผลที่เกิดจากดอกเดี่ยวซึ่งมี simple pistil หรือ compuond pistil ชนิด syncarpous แบบรังไข่ไม่แยก ผลกลุ่ม ( aggregate fruit ) เป็นกลุ่มของผลที่เกิดจากดอกเดี่ยว ซึ่งมี compound pistil ชนิด apocarpous ผลช่อ หรือ ผลรวม ( multiple fruit ) เป็นผลที่เกิดจากช่อดอกที่เกิดจากช่อดอกที่เบียดกันแน่นเหมือนผลและ ดูคล้ายผลเดี่ยว การจาแนกชนิดของผล ผลไม้ไม่ว่าจะเป็นผลเดี่ยวผลกลุ่มหรืผลช่อก็ตามอาจแบ่งออกได้เป็นชนิดต่าง ๆ ดังนี้ 1.ผลไม้ที่มีเนื้อสด ( fleshy fruit ) มี pericarp เป็นเนื้อนุ่มดั้งนี้ 1.1 drupe มี pericarp เป็น 3 ชั้นชัดเจน mesocarp เป็นเนื้อนุ่มซึ่งรับประทานได้ ยกเว้นพืชวงศ์ปาล์มบางชนิด เช่นมะพร้าว จาก ตาล หมาก ที่มี mesocarp เป็นเส้นใย fiber endocarp แข็ง 1.2 berry มี mesocarp และ endocarp รวมกันหรือแบ่ง ไม่ชัดเจน 1.3 hesperidium คล้าย berry แต่มีต่อมน้ามัน ( oil grand ) ที่ exocarp ส่วน endocarp เวลาแก่เปลี่ยนเป็นเส้น มีน้า มีผนังเยื่อบาง ๆ กั้นเมล็ดมาก 1.4 pepo มี exocarp แข็งและเหนียว ภายในคล้าย berry 1.5 pome มี pericarp อยู่ในผลเนื้อของผลเจริญมาจากฐานรองดอกผลชนิดนี้เจริญมาจาก inferior ovary 1.6 aril เป็นผลที่มีลักษIะแตกต่างจากที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวคือ ถัดจาก pericarp เข้าไปภายในมีเนื้อที่ สามารถรับประทานได้ เรียกว่า aril ซึ่งได้มาจากการเจริญของเมล็ด ( outgrowth of seed ) ส่วนมากเป็น ผลไม้เมืองร้อน เช่น เงาะ ลาไย ลางสาด 2.ผลแห้ง ( dry fruit ) เป็นผลที่มี pericarp แห้งเมื่อแก่ แบ่งออกได้เป็น 2 พวก 2.1 dry dehiscent fruit ผลแห้งแตกได้เองหรือมีรอยที่ทาให้แยกจากกันได้ มีดั้งนี้ follicle ผลที่เกิดจาก 1 carpel แตกตามรอยตะเข็บ 1 ด้าน legume ผลเกิดจาก 1 carpel แตกตามรอยตะเข็บ 2 ด้าน capsule ผลเกิดหลาย capsuleที่ติดกัน ( syncarpous pistil ) แตกตามรอยหรือมีช่องเปิดให้เมล็ดออก silique ผลที่เกิดจาก 2 carpel ซึ่งติดกันแตกออกเป็น 2 ซีก จากทางก้านขึ้นไปทางปลาย มักเห็นผนังเทียม บางๆ กั้นกลางเหลืออยู่ schizocarp ผลเกิดจาก 2 carpel หรือมากกว่า เมื่อแก่กระจัดกระจายออกเป็น 2 ส่วน แต่ละส่วนจะมีเมล็ดอยู่ ภายใน 1 เมล็ด เรียก mericarp
lomentum คล้าย legume แต่ทาให้หักออกได้เป็นข้อ ๆ ตามขวางของผลซึ่งมักเรียกว่าฝัก แต่ละข้อมี 1 เมล็ด 2.2 dry indehiscent fruit ผลแห้งไม่แตกมีหลายชนิดดังนี้ achene ผลขนาดเล็กมี 1 เมล็ด preicarp บางและไม่ติดกับเปลือกของเมล็ด caryopsis คล้าย achene แต่ pericarp ไม่ติดกับเปลือกเมล็ด nut มีpericarp แข็งมาก ส่วนมากมีเมล็ดเดียว samara เป็น achene ที่มีส่วนยื่นคล้ายปีกใช้ในการแพร่กระจายพันธุ์ เมล็ด( seed)และต้นกล้า( seeding) เมล็ดคือ ออวุล ( ovule ) ที่เจริญขึ้นมาพร้อม ๆ กับผล จากผลข้าวโพดเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดละหุ่ง จะพบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1.เปลือกเมล็ด ( seed coat ) เจริญมาจากผนังของออวุล ( integument ) แบ่งเป็น 2 ชั้นคือชั้นนอก ( testa ) และชั้นใน (tegmen ) ในพืชบางชนิดรวมเป็นชั้นเดียว 2.เอมบริโอ ( embryo ) ประกอบด้วย radicle, cotyledon, hypocotyl, และ pumule 3.เอนโดสเปิร์ม ( endosperm ) เป็นแหล่งสะสมอาหารในเมล็ด เมล็ดที่มี endosperm เรียก albuminous seed เมล็ดที่ไม่มี endosperm เรียก exalbuminous seed ซึ่งจะได้อาหารสะสมจากใบเลี้ยง (cotyledon) แทน ให้ สังเกตว่า exalbuminous seed มีใบเลี้ยงหนา การงอกของเมล็ด ( seed germination ) การงอกของเมล็ดเป็นต้นกล้านั้น พืชบางกลุ่มจะมีใบเลี้ยงเหนือระดับดินเรียก การงอกนี้ว่า epigeal germination ส่วนพืชบางกลุ่มการงอกไม่มีใบเลี้ยงโผล่ขึ้นมาเหนือระดับดินเรียก hypogeal germination ลักษณะทั่วไปของปลา ปลาเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้า มีหลายจานวนมากมายหลากหลายสายพันธุ์ บางชนิดมีเกล็ดและไม่มี เกล็ด ปลาส่วนมากมีการผสมพันธุ์นอกร่างกาย แต่บางชนิดก็จะมีการผสมพันธุ์ภายในร่างกายของปลาตัว เมีย มีลักษณะลาตัวด้านซ้ายและขวาเท่ากัน สามารถแบ่งกลุ่มทางอนุกรมวิธานของปลาได้เป็นชั้นใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ปลาไม่มีขากรรไกร (Agnatha) แบ่งเป็น แฮคฟิช พบในปัจจุบันประมาณ 65 ชนิด และ ปลาแลมป์ เพรย์ พบในปัจจุบันประมาณ 40 ชนิด 2. ปลากระดูกอ่อน (Cartilaginous fish) ได้แก่ ปลาโรนัน, ปลาฉนาก, ปลากระเบน และปลาฉลาม พบ ในปัจจุบันประมาณ 400 ชนิด 3. ปลากระดูกแข็ง (Bony fish) คือปลาอื่น ๆ ที่เหลือทั้งหมด ปลากระดูกแข็งเป็นปลาส่วนใหญ่ของโลก พบในปัจจุบันประมาณ 21,000 ชนิด
4. ปลาครีบเป็นพู่ (Lobe-finned fish) คือ ปลาที่มีครีบต่าง ๆ เป็นพู่หรือกลีบ ใช้ในการเคลื่อนไหวใต้น้า เหมือนเดิน ได้แก่ ปลาซีลาแคนท์, ปลาปอด เป็นต้น 5. ปลามีเกราะ (Armoured fish) เป็นปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถือเป็นบรรพบุรุษของปลาทั้งหมด ปัจจุบันสูญพันธุ์หมดแล้ว มีเกล็ดหนาหุ้มตลอดลาตัวเหมือนชุดเกราะ ปลาเป็นสัตว์น้าที่สามารถดารงชีพอยู่ได้ในสภาพของดินฟ้าอากาศที่มีความแปรปรวน และแตกต่างกัน อย่างมาก ตราบใดที่ในบริเวณนั้นยังคงมีแหล่งน้าอยู่ เนื่องจากปลาในแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวใน การปรับสภาพของตัวเองให้สามารถมีชีวิตต่อไปได้ เช่น ปลาที่อาศัยในมหาสมุทรแอนตาร์กติก ซึ่งปกคลุม ไปด้วยน้าแข็งและอุณหภูมิที่ต่ากว่าจุดเยือกแข็ง จึงต้องปรับสภาพร่างกายของตัวเองโดยการสร้างสารความ ต้านทานของเม็ดเลือด หรือปลาที่อาศัยอยู่ในน้าที่มีอุณหภูมิสูง แหล่งน้าที่จืดสนิทจนถึงแหล่งน้าที่มีความ เค็มค่อนข้างมาก ก็จะปรับสภาพการดารงชีพที่แตกต่างกันรวมไปถึงวิธีการว่ายน้าด้วยลักษณะวิธีการ ที่แตกต่างกัน การปรับตัวและการดิ้นรนเพื่อการดารงชีพของปลา ทาให้ลักษณะทางสรีรวิทยารวมถึง พฤติกรรมต่าง ๆ มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ปลาโดยทั่วไปจะเคลื่อนไหวร่างกายในน้าด้วยครีบ โดยจะใช้ครีบบริเวณหลังและครีบบริเวณก้นสาหรับ ว่ายน้า ซึ่งปลาในชนิดต่าง ๆ อาจจะใช้ครีบบริเวณหูและครีบบริเวณก้นในการเคลื่อนตัวไปด้านหน้า ปลา บางชนิดอาจจะใช้อวัยวะบางส่วนเช่น ครีบบริเวณท้อง เพื่อสาหรับทาหน้าที่ให้เหมือนกับเท้าของสัตว์ชนิด อื่น ๆ เช่น ปลาตีน เพื่อไว้สาหรับการเคลื่อนไหวไปมา สามารถปีนป่ายก้อนหินและรากไม้ได้อย่างอิสรเสรี ภาพโดยรวมแล้วอวัยวะต่าง ๆ ของปลาประกอบด้วย  ปาก  จมูก  ดวงตา  กระพุ้งแก้ม  ครีบหู  ครีบท้อง  ครีบหลัง  ครีบก้น  ครีบหาง  ช่องก้น  เส้นข้างลาตัว มีซึ่งนอกจากครีบแล้วปลายังมีอวัยวะต่าง ๆ ที่มีประสาทในการรับรู้ความรู้สึกด้านต่าง ๆ รวมอยู่ด้วย ได้แก่ เส้นข้างลาตัว, เกล็ด เป็นต้น
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
1.กล้องถ่ายรูป 
2.คอมพิวเตอร์+อินเทอร์เน็ต 
3.สมุดบันทึก 
4.เครื่องเขียน 
5.โปรแกรมPhotoscape 
6.website biogang.net 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 
1.รวมกลุ่มโครงงานและวางแผนในการเลือกชุมชนเพื่อทาสารวจ คือชุมชนวัดเซิงหวาย 
2.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนไปถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตในชุมชนและบันทึกข้อมูล 
3.สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตที่ตนเองหามา 
4.นาข้อมูลไปโพสในเว็บ Bio gang 
5.แคปหน้าจอที่ไปโพสในเว็บแล้วนามารวมเป็นรูปเล่มจากนั้นตรวจสอบความเรียบร้อย 
6.จัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน นาเสนอให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบ 
7.ช่วยกันคิดหัวข้อแต่ละอย่างของโครงงาน อาทิเช่น ที่มาและความสาคัญ ระยะเวลาดาเนินงาน โดยร่าง ข้อมูลและนาไปตรวจสอบเมื่อถูกต้องแล้วจึงนาไปจัดพิมพ์ 
8.โหลดโปรแกรม E-Book แล้วศึกษาวิธีการทา 
9.นาข้อมูลมาใส่ใน E-Book ตามหัวข้อต่างๆและจัดหน้าจัดรูปแบบการวางข้อมูลในเล่ม E-Book 
10.ตกแต่ง E-Book ให้สวยงาม และนาเสนอให้ครูที่ปรึกษาโครงงาน
- แผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนในการทาโครงงาน 
ระยะเวลาในการทาโครงงาน 
1.รวมกลุ่มโครงงานและวางแผน 
4 ก.ค. 57 
2. แต่ละคนไปถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตในชุมชนและ บันทึกข้อมูล 
9 ก.ค. 57 
3.หาข้อมูลของสิ่งมีชีวิต 
14-20 ก.ค. 57 
4.นาไปโพสในเว็บ Bio gang 
23-25 ก.ค. 57 
5.แคปหน้าจอนามารวมเป็นรูปเล่ม จากนั้น ตรวจสอบความเรียบร้อย 
24-25 ก.ค. 57 
6.จัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน นาเสนอให้ครูที่ ปรึกษาตรวจสอบ 
24-25 ก.ค. 57 
7.ช่วยกันคิดหัวข้อแต่ละอย่างของโครงงานโดย ร่างข้อมูลและนาไปตรวจสอบเมื่อถูกต้องแล้วจึง นาไปจัดพิมพ์ 
23-24 ก.ค. 57 
8.โหลดโปรแกรม E-Book แล้วศึกษาวิธีการทา 
28-30 ก.ค. 57 
9.นาข้อมูลมาใส่ใน E-Book 
18-22 ส.ค. 57 
10.ตกแต่ง E-Book ให้สวยงาม และนาเสนอให้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
25 ส.ค. 57 
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 
.http://science.thepbodint.ac.th/topmenu.php?c=show_note_work&w_id=13 
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2 
.http://coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/DP320/ 
.http://www.adsthailand.com/bedo/category/projects/ 
. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A1 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%A1_(%E0%B8%9E% E0%B8%B7%E0%B8%8A) 
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%A1 
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A1 
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2 
.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2% E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%87
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
ชื่อโครงงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเซิงหวาย 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม kitty 
1.น.ส.ณัชนันท์ มูลสา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 4 
2.น.ส.ธิติพร พรมวัลย์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 5 
3.น.ส.วรัญญา ใบประเสริฐ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 7 
4.น.ส.ศศิธร กองพิธี ชั้น ม.6/1 เลขที่ 8 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ชื่อ น.ส. ณัชนันท์ สกุล มูลสา เลขที่ 4 ชั้น ม. 6/1 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ ต้นกล้วยน้าว้า
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นไทร 
2. ชื่อ น.ส.ธิติพร นามสกุล พรมวัลย์ เลขที่ 5 ชั้น ม. 6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ต้นลีลาวดี
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ชาฮกเกี้ยน 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ พลูด่าง
3. ชื่อ น.ส.วรัญญา นามสกุล ใบประเสริฐ เลขที่ 7 ชั้น ม.6/1 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ดอกเข็ม
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ โมก 
4. ชื่อ น.ส. ศศิธร นามสกุล กองพิธี เลขที่ 8 ชั้น ม. 6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ปลาหางนกยูง
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ ชวนชม
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ เฟื่องฟ้า
Biocontest2014 kitty

More Related Content

What's hot (20)

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 

Similar to Biocontest2014 kitty

10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....PimlapusBoonsuphap
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktalLooktal Love
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10Don Tanadon
 

Similar to Biocontest2014 kitty (20)

Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
Mini5
Mini5Mini5
Mini5
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Biocontest2014 kitty

  • 1. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเซิงหวาย รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม kitty 1.น.ส.ณัชนันท์ มูลสา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 4 2.น.ส.ธิติพร พรมวัลย์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 5 3.น.ส.วรัญญา ใบประเสริฐ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 7 4.น.ส.ศศิธร กองพิธี ชั้น ม.6/1 เลขที่ 8 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยจัดเป็นวาระสาคัญของชาติ การรวบรวม ศึกษา วิจัย และจัดทาข้อเสนอเกี่ยวกับการกาหนดนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง จะต้องมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อมโยงกัน ด้วยเหตุนี้ กลุ่มของเราจึงเห็นความจาเป็นในการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชน ที่จะช่วยทากิจกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชนอย่างเป็น ระบบ เกิดประโยชน์สูงสุด ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพต่อไป การ สะสมข้อมูลองค์ความรู้ ด้านความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยนั้นมีการจัดเก็บและค้นพบข้อมูล ต่างๆ เหล่านี้อยู่ช้านาน การจัดเก็บมีการกระจายอยู่ทั่วไป โดยผู้ที่ถือครองข้อมูลมีทั้งผู้ถือครองที่เป็นองค์กร หรือตัวบุคคล ซึ่งนับเป็นข้อจากัดและยากต่อการนามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพของชุมชน ดังนั้นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้มี การรวบรวม จัดระเบียบ การบริหารจัดการข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่าง เป็นระบบ หมวดหมู่ อย่างชุมชนที่พวกเราสนใจที่จะศึกษาข้อมูลก็คือ ชุมชนวัดเซิงหวาย ซึ่งเป็นชุมชนที่ไม่ ใหญ่มากแต่ก็เป็นชุมชนที่มีสถานที่สาคัญตั้งอยู่หลายแห่งคือโรงเรียนระดับอนุบาลและประถม มีวัด และอีก ทั้งยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนที่เราได้ทาการศึกษาอยู่ ชุมชนวัดเซิงหวายมีทั้งบ้านเรือนที่เป็นหลังๆ เป็นตึก3-4ชั้น มีร้านชายของ ร้ายขายอาหารและอื่นๆอีกมากมาย จึงทาให้ชุมชนวัดเซิงหวายนี้มีความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างมาก จากที่เราได้ไปทาการสารวจมาแล้ว จึงได้ทาการวิเคราะห์และเลือกสิ่งมีชีวิตที่เป็นตัวอย่าง คือ ต้นชาดัก ต้นลีลาวดี ต้นพลูด่าง ต้นโมก ดอกเข็ม เฟื่องฟ้า ชวนชม ต้นไทร ต้นกล้วย และปลาหางนกยูง เป็นต้น ซึ่งเราก็จะมาทาการศึกษาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตดังกล่าวที่มีอยู่ในชุมชนวัดเซิงหวายต่อไป จึงถือเป็นสิ่งจาเป็นที่จะทาให้พวกเราได้ทาการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เราทุกคนต่างมี ความสัมพันธ์และต้องพึ่งพาความหลากหลายทางชีวภาพในการดารงชีวิตประจาวัน ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แม้ว่าบ่อยครั้งจะไม่รู้ตัวก็ตาม ซึ่งโดยทั่วไป คนเรามักเห็นความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพจาก ประโยชน์โดยตรงที่เราได้รับ นั่นคือการนามาเป็นอาหาร แต่ความจริงแล้วามหลากหลายทางชีวภาพนั้นมี บทบาทตามธรรมชาติกว้างขวางมาก สิ่งเหลานี้เป็นประโยชน์ที่คนเราได้รับจากธรรมชาติโดยไม่ต้องเสีย ค่าบริการใดๆ แต่ในบ่อยครั้งพบว่าคนเรามองข้ามความสาคัญของมันไป เราจึงเลือกที่จะมาทาการสารวจถึง ชีวภาพความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตต่างๆในชุมชนวัดเซิงหวาย
  • 3. 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสามารจาแนกสปีชีร์และสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงลักษณะของดอก ใบ ลาต้น คุณประโยชน์ ชื่อเรียกสามัญทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ ฤดูกาล ที่ใช้ประโยชน์และประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตที่ได้ทาการสารวจ 3. เพื่อให้ได้รู้จักสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การปลูกสาหรับต้นไม้และสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของ สิ่งมีชีวิตนั้นๆ 4.เพื่อให้รู้เรื่องของทรัพยากรความหลากหลายทางชีภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สารวจ 3. สมมติฐานของการศึกษา ถ้าชุมชนวัดเซิงหวายมีความหลากหลายทางชีวภาพแล้ว เมื่อเราทาการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนก็จะพบ สิ่งมีชีวิต เช่น ต้นชาดัก ต้นลีลาวดี ต้นพลูด่าง ต้นโมก ดอกเข็ม เฟื่องฟ้า ชวนชม ต้นไทร ต้นกล้วย และปลา หางนกยูง เป็นต้น 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1. สามารจาแนกสปีชีร์และสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตได้ 2. ได้ทราบถึงลักษณะของดอก ใบ ลาต้น คุณประโยชน์ ชื่อเรียกสามัญทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ ฤดูกาลที่ใช้ ประโยชน์และประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตที่ได้ทาการสารวจ 3. ได้รู้จักสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การปลูกสาหรับต้นไม้และสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต นั้นๆ 4. ได้รู้เรื่องของทรัพยากรความหลากหลายทางชีภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สารวจมากขึ้น 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน ส่วนประกอบของพืช ราก ( Root ) รากโดยทั่วไปเกิดมาจากส่วนกลางของใบเลียง(Hypocotyl)ของเอมบริโอ ซึ่งเรียกว่ารากเกิด ( radicle ) และ งอกออกจากเมล็ดเรียกว่ารากแก้ว ( primary root หรือ tap root ) ซึ่งสามารถแตกกิ่งก้านสาขาออกไปได้อีก เป็นรากแขนง ( secondary root )ถ้าคิดจากการกาเนิดตะมีราก 2 ชนิด คือรากแก้วและรากพิเศษ ( adventitious root ) โดยรากแก้วเกิดจาก embryo และมีสาขาเป็นรากแขนงเกิดจาก pericycle ของรากเดิม ส่วนรากพิเศษที่เกิดจากส่วนอื่น ๆ ของพืช เช่น ลาต้น ใบ หรือส่วนอื่น ๆ ของรากที่แก่ ซึ่งในส่วนนี้รากที่ เกิดจากพวกแคลลลัส ( callus ) ของกิ่งที่ปักชานับว่ามีความสาคัญมาก
  • 4. รากที่เจริญมาจาก embryo จะมีระบบราก 2 ประเภทคือ 1.ระบบรากแก้ว ( primary root system ) มีรากแก้วเป็นหลักมีขนาดใหญ่กว่ารากอื่น ๆ อาจมีรากแขนง แตกออกมาจาก pericycle ของรากแก้ว พบใน พืชใบเลี้ยงคู่ 2.ระบบรากฝอย ( fibrous root system) มักประกอบด้วยรากที่มีขนาดใกล้เคียงกันเป็นเส้นเล็ก ๆ แผ่ออก โดยรอบพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว โครงสร้างทางกายวิภาคของราก ปลายรากประกอบด้วย 1.Root cap หรือหมวกราก เป็นส่วนปลายสุดป้องกันไม่ให้รากฉีกขาด ในขณะที่รากเจริญและแทงหยั่งลึกลง ไปในดินเพื่อหาอาหาร root cap เป็นเซลล์ parenchyma รูปสี่เหลี่ยมหรือกลม 2.region of cell division , meristematic region เป็นกลุ่มเซลล์ที่เจริญทาหน้าที่แบ่งเซลล์ 3. region of elongation บริเวณนี้เซลล์มีการยืดยาวและมีการเจริญอย่างรวดเร็ว แบ่งออกเป็นเซลล์ผิว ( protoderm ) เซลล์เจริญชั้น cortex ( ground meristem ) และเซลล์เจริญชั้น procambium 4.region of maturation เซลล์ถาวรบริเวณนี้พัฒนามาจากกลุ่มเซลล์ในบริเวณ region of elongation เป็น ตัวการสาคัญในการช่วยดูดน้าและเกลือแร่ บริเวณนี้จะพบ root hair ซึ่งเกิดมาจาก epidermal cell ยื่นออกไป ที่บริเวณ region of maturation จะเป็นบริเวณที่สร้างรากแขนง ( lateral root ) จากเซลล์ต้นกาเนิดคือ pericycle cell ข้อแตกต่างของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทาหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก หน้าที่ของราก 1.ดูด ( absorption ) น้าและแร่ธาตุจากดิน 2. ลาเรียง ( conduction ) น้า แร่ธาตุ และ อาหาร 3. ยึด ( anchorange ) ลาต้นให้ติดกับพื้นดิน 4. สร้างฮอร์โมน ( producing hormones ) เช่น cytokinin,gibberellin เพื่อพัฒนาลาต้นยอดและส่วนอื่น ๆ 5. อาจทาหน้าที่พิเศษอื่น ๆ เช่น สะสมอาการ สังเคราะห์แสง ค้าจุน ยึดเกาะ หายใจ เป็นต้น
  • 5. ลาต้นพืช ( Stem ) ลาต้นเป็นโครงสร้างที่ต่อเนื่องมาจากราก ประกอบด้วย ข้อ ( node ) และปล้อง ( internode ) มีใบและตาติด อยู่บนข้อลาต้นส่วนมากจะชูสูงขึ้นมาเหนือดิน ยกเว้นลาต้นที่อยู่ใต้ดิน ลาต้นเป็นส่วนของ vegetative part ที่ เจริญมาจากคัพภะ ( embryo ) มีจุดกาเนิดตรงส่วนของ epicotyl เจริญเป็นส่วนยอด เรียก pulmule โครงสร้างกายวิภาคของลาต้น 1.โครงส้างของลาต้นที่เจริญมาจากการเจริญเติบโตในขั้นปฐมภูมิ ( primary growth ) บริเวณปลายยอด ( shoot apex ) ทาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และยังเป็นศูนย์กลางการแบ่งเซลล์ คือ apical meristem ซึ่ง ประกอบด้วย เซลล์ meristem ล้วน ๆ และแบ่งตัวอยู่เสมอ ทาให้ลาต้นสูงขึ้น 1. Meristematic zone อยู่ปลายสุดของยอด ทาหน้าที่แบ่งตัวแล้วเปลี่ยนสภาพไปเป็น primary meristem มี 3 ชนิดคือ 1.1 protoderm ผิวนอกสุดของลาต้น มีเซลล์เพียงชั้นเดียว หรืออาจมี 2 – 3 ชั้น และจะเจริญเป็น epidermis 1.2 procambium เป็นเซลล์ที่ย้อมติดสีเข้มกว่าบริเวณอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงจะเปลี่ยนสภาพเป็นprimary xylem และ primary phloem 1.3 ground meristem เป็นเนื้อเยื่อที่กล่าวมาจากข้างต้น ต่อไปจะเปลี่ยนเป็น cortex และ pith 2. leaf primodium เป็นจุดกาเนิดของใบที่อยู่ด้านข้างที่อยู่ปลายยอดทั้ง 2 ข้าง 3.region of elongation เป็นบริเรณที่เซลล์ขยายตัวทางด้านข้างถัด จาก epical meristem ลงมา 4.axillary bud and primordial เป็นจุดกาเนิดตาข้าง ประกอบด้วยเซลล์ meristem ขนาดเล็ก Epidermis ส่วนใหญ่จะพบเพียง 1 ชั้น มีสารพวกคิวติน หรือ wax เคลือบอยู่ด้านนอก เพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออก จากเนื้อเยื่อพืช จะพบปากใบ ( stomata ) กระจายอยู่ในชั้นนี้บ้างแต่มีปริมาณน้อยกว่าใบ เซลล์ผิวที่ดัดแปลง พิเศษ Cortex ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ parenchyma ภายในอาจมี chloroplast เซลล์เรียงตัวค่อนข้างหลวม เห็นช่องว่างระหว่าง เซลล์
  • 6. Pith ประกอบด้วย parenchyma cells เป็นส่วนมาก ภายในเซลล์อาจมี chloroplast Vascular bundle ในลาต้นมีการเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิ เนื้อเยื่อท่อลาเลียงประกอบด้วยเนื้อเยื่อ phloem และ xylem จะ เรียงตัวอยู่ในแนวรัศมีเดียวกัน ( collateral ) โดยมี phloem อยู่ด้านนอก xylem อยู่ด้านใน การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลียงคู่ vascular bundle เป็นแบบ open bundle มี vascular cambium เกิดขึ้นภายหลังการเจริญเติบโต ของลาต้นใน ระยะ primary growth มี vascular bundle เป็นกลุ่มเรียงตัวกันเป็นระเบียบ ( ordered )ในลาต้นที่เจริญมาก กลุ่มท่อลาเรียงจะมีเนื้อเยื่อพวก sclerenchyma ล้อมรอบ ผนังหนาเห็นชัดเจน เรียก bundle sheath การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว vascular bundle เป็นแบบ close bundle ไม่มีเซลล์ vascular cambium เกิดขึ้น vascular bundle เรียงตัวกระจัด กระจายไม่เป็นระเบียบ ( scatter ) 2.กายวิภาคของลาต้นที่มีการเจริญเติบโตในระยะ ทุติยภูมิ ( secondary growth ) การเจริญเติบโตในระยะทุติยภูมิ ( secondary growth ) ของพืชใบเลียงคู่ เซลล์ที่มีชีวิตตั้งแต่ชั้น epidermis จนถึงชั้น phloem tissue สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ cork cambium แบ่งเซลล์ให้ชั้น epiderm คอยทาหน้าที่ป้องกันอันตรายแทนชั้นเซลล์ epidermis ที่ต่อไปจะถูก เบียดให้หลุดหายไป ส่วนเนื้อเยื่อชั้น vascular bundle มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เซลล์ที่มีชีวิตอยู่ ระหว่าง xylem และ phloem พัฒนาเป็น vascular cambium แบ่งตัวให้ secondary phloem และsecondary xylem secondary phloem เรียงอยู่เป็นวงนอกและ secondary xylem เรียงเป็นวงอยู่ด้านใน ทาหน้าที่แทน metaxylem และ meta phloem การเจริญในระยะนี้เกิดเซลล์ xylem ray และ phloem ray ในพืชที่มีอายุยืน หลายปี มีการเจริญของ secondary growth มาก สามารถเป็นชั้นเปลือกและแผ่น และจาแนกชนิดของแผ่นไม้ ( wood ) ได้หลายรูปแบบเช่น sap wood เป็นเนื้อไม้บริเวณที่ secondary xylem tissue ยังทาหน้าที่ลาเลียงอยู่ และ heart wood เป็นบริเวณที่ xylem tissue ไม่ทางานแล้ว การเจริญของพืชในแต่ละช่วงทาให้เกิดเป็นวงปี ( annual ring ) ขึ้น วงปีที่เห็นเกิดจากการแบ่งเซลล์ อัตราการเจริญของเซลล์ที่มีการเจริญเติบโตไม่เท่ากับขึ้นอยู่กับลักษณะ ความสมบูรณ์ของสภาพแวดล้อมในช่วง 1 ปี กล่าวคือในช่วง ฤดูฝนดินฟ้าอากาศชุ่มชื้นน้าและอาหารอุดม สมบูรณ์ การแบ่งตัวของเซลล์ในช่วงนี้จะเกิดอย่างรวดเร็ว มีปริมาณของเซลล์ที่เกิดใหม่มากขึ้น เซลล์มี ขนาดใหญ่มีผนังบาง การเจริญในช่วงนี้เจริญไปเป็นช่วงเนื้อไม้ที่มีบริเวณกว้าง มีสีอ่อนเรียก early wood ,
  • 7. spring wood พอย่างเข้าฤดูแล้งน้าและอาหารไม่อุดสมบูรณ์ ดินฟ้าอากาศแห้งแล้งการแบ่งเซลล์จะลด ปริมาณลงอย่างชัดเจน เซลล์มีขนาดเล็ก ผนังหนา เนื้อไม้บริเวณนี้จะแคบและมีสีเข้มเรียก late wood , autumn wood ดังนั้นการเจริญในช่วงเวลา 1 ปี หรือ annual ring จะเห็นอยู่ 2 แถบ คือแถบของ early wood และแถบของ late wood ในบางทีอาจมีแถบเพิ่มมากขึ้นเรียก false ring เนื่องจากสภาพอากาศมีความ แปรปรวนมากทาให้มีการเจริญที่ผิดปกติ ข้อแตกต่างของลาต้นพืชใบเลียงคู่และลาต้นพืชใบเลียงเดี่ยว Dicot stem Monocot stem 1.ข้อปล้องไม่ชัดเจน 1.มีข้อปล้องชัดเจน 2. Vascular bundle เรียงตัวกันเป็นระเบียบ 2. Vascular bundle กระจัดกระจาย 3. มี vascular cambium 3. ไม่มี vascular cambium 4. มี secondary growth 4. ไม่มี secondary growth 5.่่มี annual ring 5.ไม่มี annual ring 6. xylem และ phloem 6. xylem และ phloem ทางานได้นาน ลาต้นที่เปลี่ยนแปลง ( modified stem ) 1.ลาต้นที่อยู่เหนือดิน 1.1 Stolon ลาต้นที่ทอดไปตามพื้นดินและพื้นน้า มีปล้องยาว ใบ ดอก และรากที่ข้อเช่น บัวบก จอก ผักแว่น 1.2 Twing stem ลาต้นอ่อนที่เลื้อยพันสิ่งที่อยู่ใกล้ เช่น พางชมพู เถาวัลย์ 1.3 Thorny stem ส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นหนาม เช่น เฟื่องฟ้า มะนาว ส้ม 1.4 Cladode หรือ cladophyll ลาต้นสีเขียวทาหน้าที่สังคราะห์แสง เช่น กระบองเพชร 1.5 Stem tendril ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เป็นมือเกาะหรือยึดสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง เช่น พวงชมพู องุ่น Hook เช่น การเวก 2.ลาต้นใต้ดิน 2.1 Rhizome ลาต้นขนานไปกับพื้นดิน มีข้อปล้อง และ scale leaf ที่ข้อมีตา ซึ่งจะเติบโตเป็นลาต้นหรือใบ และแทงขึ้นเหนือพื้นดิน มีรากเป็นแบบ adevetitious root เช่น ขิง ข่า พุทธรักษา 2.2 Tuber ลาต้นสั้นและใหญ่มีตาอยู่โดยรอบ เช่น มันฝรั่ง 2.3 Corm ลาต้นตั้งตรงมีข้อปล้อง เห็นได้ชัดเจนเช่น เผือก 2.4 Bulb ลาต้นตรงอาจมีพ้นพื้นดินขึ้นมาบ้าง มีข้อปล้องสั้นมาก ตามปล้องมี scale leaf สะสมอาหารล้อมกันหลายชั้นหุ้มลาต้น เช่น หัวหอม พลับพลึง เป็นต้น ใบ ( Leaves ) เป็นส่วนของพืชหรือรยางค์ที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้าง โดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้องของต้นและกิ่ง ใบ
  • 8. ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ รูปร่างและขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลัก ของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า ลักษณะโครงสร้างภายในของใบ ส่วนประกอบของใบมี 3 ส่วนคือ แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) ก้านใบ ( petiole ) และหูใบ ( stipule ) 1.แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) มักแผ่เป็นมีขนาดใบและรูปร่างต่างกัน 1.1เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จากเส้นกลางใบแยก ออกเป็นเส้นใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) ในพืช ใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนมาก เป็นเส้นใบขนาน ( parallel venation )เรียงตามยาวของใบ (plamately parallel venation) และเส้นใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation ) ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย ( netted หรือ recticulated venation ) ซึ่งมี 2 แบบคือ - แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation ) - ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately netted venation ) 1.1.1รูปร่าง ( shape ) ของแผ่นใบ พิจารณาจากอัตราส่วนตามความยาวและ ความกว้างของแผ่นใบ 1.1.2ปลายใบ ( apex ) ฐานใบ ( base ) และขอบใบ ( margin )รูปแบบและชื่อเรียกต่างกัน 2. ก้านใบ ( petiole ) ติดกับแผ่นใบตรงฐานใบ ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดตรงกลางหรือตรงด้านในของแผ่นใบ ก้านใบสั้นบ้าง ยาวบ้าง หรือไม่มีก้านใบเลย เรียก sessile leaf ก้านใบโดยมากมีลักษณะกลม ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ก้านใบแผ่หุ้มลาต้นเรียกกาบใบ ( leaf sheath ) 3. หูใบ ( stipule ) เป็นระยางค์ อยู่ตรงโคนก้านใบ ถ้าเป็นหูใบของในย่อย ( leaflet ) เรียกหูใบย่อย ( stiple ) หูใบมีลักษณะเป็น ริ้ว หนามหรือต่อมเล็ก ๆ ส่วนใหญ่มีสีเขียว หูใบมีรูปร่างขนาดและสีต่างกัน การจัดเรียงของใบบนต้น ( leaf arrangment ) ใบที่ออกมาจากส่วนของลาต้น แบ่งออกได้กว้าง ๆ 3 แบบคือ 1.แบบสลับ ( alternate หรือ spiral ) 2.แบบตรงข้าม ( opposite ) 3. แบบวง ( whorled ) ใบเดี่ยวและใบประกอบแบบต่าง 1.ใบเดี่ยว ( simple leaf ) ใบที่มีแผ่นใบแผ่นเดียว 2.ใบประกอบ (compound leaf )คือใบที่มีแผ่นใบมากกว่าหนึ่งเกิดบนก้านใบอันเดียวกันแต่ละใบ เรียกว่าใบ ย่อย ( leaflet ) ก้านชองใบย่อยเรียกว่า petiolule หรือ petiolet ใบเดี่ยวหรือใบประกอบสังเกตได้โดยใบเดี่ยว มีตาข้าง ( arillary bud ) หรือ ตายอด ( terminal bud ) อาศัยดูความอ่อนแก่ของใบ ถ้าเป็นใบประกอบจะแก่ พร้อม ๆ กัน แต่ถ้าเป็นกิ่งของใบเดี่ยว ใบตอนโคนจะแก่กว่าใบตอนปลายกิ่ง ใบประกอบแยกออกได้ดังนี้ 2.1)ใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf ) มีใบย่อยออก 2 ข้างของเกนกลาง ( rachis) ซึ่งเป็น
  • 9. ส่วนที่ต่อกับก้านใบ ใบประกอบมีใบย่อยออกแกนกลาง 2 ครั้ง เรียกใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ( bipinnately compound leaf ) แกนของใบประกอบใบย่อยแยกออกจากแกนกลาง นี้เรียก rachilla พืชบาง ชนิดมีใบประกอบแบบ tripinnately compound leaf คือมีการแตกแขนงของใบ ย่อยเช่นเดียวกับใบประกอบ แบบขนนกสองชั้นแต่เพิ่มมาอีก หนึ่งชั้น 2.2)ใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf ) คือใบประกอบที่มีใบย่อยทุกใบออกมาจากตาเหน่ง เดียวกันตรงปลายก้านใบ ใบประกอบแบบนี้ถ้ามี 3 ใบย่อยเรียก trifoliolate ถ้ามี 4 ใบเรียก quadrifoliolate และถ้ามีใบย่อยมากกว่านี้เรียก polyfoliolate trifoliolate อาจเป็นใบประกอบแบบขนนกถ้ามี rachis ใบที่เปลี่ยนแปลง ( modified leaf ) 1.1ใบที่ทาหน้าที่ป้องกันอันตราย ( protective leaf ) เช่นเกล็ดหุ้มตา ( bud scale ) มีลักษณะเป็นเกล็ดหุ้มตา ขณะยังอ่อน หรือเป็นหนาม ( spine ) อาจเกิดจากส่วนของแผ่นใบ หูใบ ขอบใบ หรือส่วนต่าง ๆ ของใบที่ เปลี่ยนเป็นหนาม 1.2 ใบช่วยพยุงลาต้น ( supporting leaf ) เช่น ใบยึดเกาะ (leaf tendril) หมายถึงส่วนของใบที่เปลี่ยนไปทา หน้าที่ยึดเกาะ กาบใบ ( leaf sheath ) ทาห้าที่เหมือนลาต้นโครงสร้างของกาบใบหุ้มซ้อนอัดแน่นกัน ใบทุน ( buoyancy leaf ) ก้านใบที่พองช่วยพยุงลาต้นให้ลอยน้า 1.3ใบล่อตา ( attractive leaf ) คือใบที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะสวยงาม คล้ายกลีบดอกเรียก bract 1.4ใบขยายพันธุ์ ( reproductive leaf ) คือใบที่สามารถกาเนิดต้นใหม่ได้ 1.5ใบสะสมอาหาร ( storage leaf ) 1.6ใบกับดัก ( carnivorous leaf ) คือส่วนของใบที่เป็นกับดักสัตว์เล็ก ๆ เช่นหม้อข้าวหม้อแกงลิง สาหร่าย ข้าวเหนียว ในก้าน ( phyllode ) คือก้านใบหรือแกนกลางของใบที่แผ่เป็นแผ่นใบ ส่วนใบจริงนั้นไม่มี มี เฉพาะในต้นกล้าเท่านั้น โครงสร้างภายในใบ 1)Epidermis ประกอบด้วย epidermal cell อยู่ด้านนอกทั้งสองข้างของแผ่นใบ มี cuticle เคลือบ epidermal cell นี้มีชั้นเดียว ยกเว้นพืชบางชนิดมีหลายชั้นเรียก multiple epidermis ซึ่งทาหน้าที่เก็บสะสมน้า ( water storge tissue ) นอกจากนี้ยังมี epidermal cells ที่มีรูปร่างต่างกันคือ 1.1 guard cell หนึ่งคู่ทาให้เกิด stoma หรือเรียกปากใบซึ่งอยู่ระดับเดียวกับ epidermis เรียก typical stoma หรืออยู่ต่ากว่าเรียก sunken stoma หรืออยู่สูงกว่าเรียก raised stoma 1.2 bulliform cell, มีขนาดใหญ่กว่า epidermal cell ธรรมดา อยู่เป็นกลุ่มประมาณ 3 – 5 เซลล์ที่ epidermis ด้านบน ทาหน้าที่เกี่ยวกับการม้วนงอของก้านใบ 2)Mesophyll เป็นเนื้อเยื่ออยู่ระหว่าง epidermis ทั้ง 2 ด้านส่วนใหญ่เป็น parenchyma สองชนิดคือ palisade parenchyma รูปทรงกระบอกเรียงชิดกันในแนวดิ่งมีคลอโรพลาสต์มากซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในกระบวนการ สังเคราะห์แสง อีกชนิดคือ spongy parenchyma ขนาดและรูปร่างของเซลล์ไม่แน่นอนอยู่กันอย่างหลวม ๆ
  • 10. 3)Vascular bundle กลุ่มท่อลาเลียงของใบซึ่งได้แก่ เส้นกลางใบ เส้นใบ และเส้นแขนงใบซึ่งมี xylem,phloem,cambium นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อcollenchyma, sclerenchyma, ที่เพิ่มความเหนียวและความ แข็งแรงให้แก่ใบ ดอกและช่อดอก( Flower ) ดอกเป็นส่วนกาเนิดของพืชที่เจริญมาจากตาดอกที่ปลายยอด ปลายกิ่ง ซอกใบ หรือข้างลาต้น ดอกมีหน้าที่ สาคัญในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบนี้ก่อเกิดพันธุ์ใหม่ ๆ ก่อให้เกิดความหลากหลายของ พันธุ์พืช ส่วนประกอบของดอก 1. Calyx เป็นวงของกลีบเลียง ( sepal ) อยู่ชั้นนอกสุดของดอกส่วนมากมีสีเขียว 2. Corolla เป็นวงของกลีบดอก ( petal ) ยู่ถัดกลีบเลี้ยงเข้าไปส่วนมากมีสีสะดุดตา 3. Androecium เป็นวงเกสรตัวผู้ ( stamen ) และก้านเกสรตัวผู้ ( filament ) ภายในอับเรณูเป็นโพรงอับเรณู ( pollen sac ) 4 ช่อง แต่ละช่องมีเรณู ( pollen grain ) จานวนมากเพื่อทาหน้าที่สร้าง sperm ต่อไป 4. gymnoecium ( pistil )เป็นวงเกสรตัวเมีย ( carpel ) อยู่ใจกลางของดอกประกอบด้วยส่วนฐานที่สร้างออวุล ( ovule ) เรียกรังไข่ ( ovary ) มีก้านเกสรตัวเมีย ( style ) ยื่นออกไปและปลายเกสรตัวเมีย ( stigma ) อยู่ปลาย สุด วงเกสรตัวเมียประกอบด้วย carpel ถ้ามี 1 carpel เรียก simple pistil ถ้ามีมากกว่า 1 carpel ขึ้นไปเรียก compound pistil 5. receptacle เป็นฐานรองดอกรองรับส่วนต่าง ๆ ของดอก 6. peduncle เป็นก้านดอกเดี่ยวหรือก้านดอกช่อ ยึดดอกกับช่อดอกติดกับลาต้นในกรณีของช่อดอกมีก้าน ดอกย่อย ( pedicle ) ยึดดอกย่อย ( floret ) ไว้กับช่อดอก calyx และ corolla เป็นส่วนของดอกที่รวมกัน เรียกว่า perianth แต่ดอกของพืชบางชนิดมีส่วนของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกไม่ต่างกันเรียก perianth เช่นกัน ซึ่งแต่ละกลีบเรียกกลีบรวมเรียก ( tepal ) เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งเรียก essential part แต่ละกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเป็นส่วนช่วยในการสืบพันธุ์เรียก accessory part รูปแบบชนิดดอก 1.อาศัยจานวนของดอกที่เกิดจากตาดอก แบ่งเป็นดอกเดี่ยว ( solitary flower ) เป็นดอกที่เกิดจาก 1 ตาดอกมี เพียงดอกเดียว และช่อดอก ( inflorescenes ) เป็นกลุ่มดอกที่เกิดจากหนึ่งตาดอกที่มีหลายดอก แต่ละดอก เรียกดอกย่อย 2.อาศัยส่วนประกอบของดอกทั้ง 4 วง คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และ เกสรตัวเมีย ดอกที่มี ส่วนประกอบดอกครบ 4 วงเรียก ดอกครบส่วน ( complete flower ) แต่ถ้าขาดหายไป 1 – 2 วงเรียกดอกไม่ ครบส่วน(incomplete flower) 3.อาศัยส่วนของดอกที่จาเป็นต่อการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยตรง คือเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย ดอกที่มี ทั้ง 2 เพศอยู่ในดอกเดียวกันเรียก ดอกสมบูรณเพศ( perfect flower ) ส่วนดอกที่มีเพียงเพศเดียวเรียกว่า ดอก ไม่สมบูรณ์เพศ ( incomplete flower ) แบ่งเป็นดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย
  • 11. 4.อาศัยตาเหน่งของรังไข่ที่ติดกับฐานดอกเปรียบเทียบตาแหน่งกับรอยติดของกลีบเลี้ยง กลีบดอกและเกสร ตัวผู้อยู่บนฐานดอก - Epigynous flower คือดอกที่มีรังไข่ต่ากว่าส่วนอื่น ๆ ของดอก ( inferior ovary ) บนฐานดอก - Hypogynous flower คือดอกที่มีรังไข่อยู่สูงกว่าส่วนอื่น ๆ บนฐานดอก ( superior ovary ) บนฐานดอก - Perigynoun flower คือดอกที่มีส่วนของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เจริญติดกันกับฐานดอกเป็นโคลง สร้างรูปถ้วยเรียกว่า hypanthium 5.อาศัยสมมาตร ( symmetry ) ของดอก เป็นการจัดส่วนแบ่งของดอกเมื่อพิจารณาจากด้านบนของดอก แบ่งเป็นดอกได้สมมาตร ( regular flower ) คือดอกที่มี radial symmetry หมายถึงดอกที่แบ่งครึ่งตามยาวของ ดอกแล้วได้ 2 คล้ายกันหรือเหมือนกันมากกว่า 1 ครั้ง ขึ้นไป และดอกไม่ได้สมมาตร ( irregular flower ) คือ ดอกที่มี bilateral symmetry หมายถึงดอกที่แบ่งครึ่งความยาวของดอกแล้วได้เป็น 2 ส่วน คล้ายกันหรือ เหมือนกันเพียง 1 ครั้งเท่านั้น ดอกชนิดต่าง ๆ ช่อดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบด้วยก้านช่อดอก แกนช่อดอก และดอกย่อย การเกิดดอกย่อยในช่อดอกมี หลายรูปแบบ ก่อให้เกิดความหลากหลายชนิดของช่อดอก ซึ่งจัดเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ racemose type และ cymose type 1.Racemose type หมายถึง ดอกย่อยตรงโคนช่อดอก หรือรอบช่อดอกมีอายุมากกว่าดอกอื่น ๆ แบ่งออกได้ เป็นดังนี้ 1.1 raceme ช่อดอกค่อนข้างยาวมีแกนช่อดอก ดอกย่อยออกจากแกนช่อดอกโดยตรงเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกยาวเท่า ๆ กัน 1.2 spike ช่อ ดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่ไม่มีก้านดอกย่อย 1.3 catkin ช่อดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่เป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ ช่อดอกมีลักษณะตั้งขึ้นหรือห้อย หัวลง 1.4 corymb ช่อดอกมีลักษณะคล้าย raceme ต่างกันที่ก้านดอกยางเท่าไม่ถึงกัน จึงส่งดอกย่อยให้อยู่ในระดับ เดียวกัน 1.5 spadix ช่อดอกมีใบประดับขนาดใหญ่ ( spathe ) รองรับกลุ่มดอกย่อย ดอกย่อยอัดกันแน่นบนช่อดอก ซึ่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศก็ได้ 1.6 umbel ช่อดอกที่มีดอกย่อยทั้งหมดเกิดตรงปลายก้านช่อดอก ไม่มีแกนช่อดอกมีก้านช่อดอกยาวเท่า ๆ กัน สงให้ดอกย่อยอยู่ในระดับเดียวกันคล้ายร่ม ช่อดอกพืชบางชนิด ปลายก้านดอกย่อยจะมีการแตกแขนง เป็นช่อดอกแบบ umbel ซ้อนอีกชั้น จึงเรียกช่อดอกแบบนี้เรียกว่า compound umbel 1.7 head ช่อดอกที่มีก้านดอกย่อยอัดกันแน่นตรงปลายก้านช่อดอก ช่อดอกมีลักษณะค่อนข้างกลมหรือแบน
  • 12. ราบ ไม่มีแกนช่อดอก ไม่มีก้านดอกย่อย ช่อดอกพืชบางชนิดถึงแม้ไม่มีก้านดอกย่อยแต่มีหลอดกลีบของช่อ ดอก ( perianth tube ) ค่อนช้างยาวจึงทาให้ดูเป็นช่อดอกแบบ umbel 1.8 panicle ช่อดอกที่มีการแตกแขนงเป็นช่อดอกย่อยแบบหลายครั้ง แต่ละช่อดอกย่อยเป็นช่อดอกแบบ raceme หรือ spike ก็ได้ 2.Cymose type หมายถึงดอกย่อยตรงโตนช่อดอกหรือรอบนอกแกนดอก มีอายุน้อยกว่าดอกย่อยอื่น ๆ แบ่ง ได้เป็นดังนี้ 2.1. umbel head และ panicle เป็นช่อดอกที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มของ racemose type ต่างกันที่ตาเหน่งของ ดอกมีอายุมากและอายุน้อย 2.2 simple monochasium ช่อดอกที่มีดอกย่อยเพียง 2 ดอกบนก้านดอก โดยดอกบนมีอายุมากกว่าข้างล่าง 2.3 simple dichasium ช่อดอกมีดอกย่อยเพียง 3 ดอกบนก้านช่อดอก โดยดอกบนมีอายุมากกว่าดอกล่างข้าง ละ 1 ดอก ถ้ามีการแตกแขนงเป็น simple dichasium ซ้าหลายครั้งเรียกดอกแบบนี้ว่า compound dichasium 2.4 pleiochasium ช่อดอกมีการแตกแขนงเป็นดอกย่อยหลาย ๆ ครั้ง ตรงตาแหน่งที่มีการแตกแขนงจะเป็น 3 เสมอ ยกเว้นตรงปลายก้านช่อดอกจะแยกมากกว่า 3 แขนง 2.5 helicoid cyme ช่อดอกที่มีการแตกแขนงเป็นช่อดอกย่อยจานวนมาก แต่ละช่อดอกย่อยมีเพียง 2 ดอกย่อย เท่านั้นและอยู่ข้างเดียวกัน 2.6 scorpioid cyme ช่อดอกมีลักษณะคล้าย helicoid cyme ต่างกันที่ดอกย่อยเรียงสลับข้าง ผล(fruit) เมล็ด(seed) และต้นกล้า(seeding) ดอกเมื่อได้รับการปฏิสนธิ ( fertilized ) รังไข่จึงเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล ซึ่งภายในมีเมล็ดซึ่งเป็นส่วน สาคัญในการเจริญของพืชดอก (angiosperm) ผลไม้เมืองร้อนมีความแตกต่างกันมากค่อนข้างมากจึงได้มีการ จักแยกประเภทไว้ดังนี้ 1.ผล (fruit) ส่วนที่เป็นผนังหรือเนื้อของผลที่เจริญมาจาก ovary wall เรียกว่า pericarp แต่ผลบางชนิดส่วนที่เป็นเนื้อซึ่ง มักจะรับประทานได้นั้น เจริญมาจากส่วนอื่นเช่น จากฐานรองดอก ตัวอย่างเช่นมะม่วงหิมพานต์ บางทีเจริญ มาจากฐานของช่อดอกเช่น มะเดื่อ ปกติแล้ว pericarp แบ่งเป็น 3 ชั้นคือ exsocarp หรือ epicarp ( ชั้นนอก ) mesocarp ( ชั้นกลาง ) endocarp ( ชั้นใน ) ในผลบางชนิดเห็น pericarp 3 ชั้น ประกอบกัน การศึกษาเรื่องผลให้เข้าใจดีต้องศึกษาถึง pistil ด้วยว่าประกอบด้วย carpel ซึ่งมีจานวนตั้งแต่หนึ่งหรือ มากกว่า carpel นี้เทียบได้กับ megasporophyll ของพืชกลุ่มปรงและสน ( Gymnosperm ) carpel คือโคลง สร้างเจริญที่เปลี่ยนรูปมาจากใบ ดังนั้น carpel หนึ่งจะมีแนวของ midrib และแนวซึ่ง margin สองด้านมา เชื่อมติดต่อกันตามความยาวเกิดเป็นโครงสร้าง ของ pistil ซึ่งปกติแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ovary, style และ stigma ประเภทของ pistil แบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง คือ simple pistil และ compound pistil - Simple pietil คือ รังไข่เดี่ยวเกิดจาก 1 carpel
  • 13. - Compound pistil คือรังไข่รวมเกิดจากหลาย carpel ซึ่งแบ่งออกได้เป็น apocarpous, syncarpous pistil Apocarpous pistil คือรังไข่ที่รวมแต่ละ carpel แยกกันตลอดโดยอิสระ แต่ละอันเป็น 1 pistil โดยสมบูรณ์ดั้ง นั้นจะพบว่าบางครั้ง carpel, pistil ,ovary นั้นใช้แทนกันได้ Syacarpous pistil คือรังไข่รวมที่ carpel ตั้งแต่ 2 ขึ้นไปรวมติดกันตลอดหรือติดกันบางส่วนแบ่งได้ 5 แบบ แบบที่ ovary style stigma ตัวอย่างพืช 1 ติดกัน ติดกัน ติดกัน คาแสด ส้ม 2 ติดกัน ติดกัน แยกกัน ชบา แตง 3 ติดกัน แยกกัน แยกกัน ละหุ่ง บานเช้า 4 แยกกัน ติดกัน ติดกัน โมก บานบุรี 5 แยกกัน แยกกัน ติดกัน ขจร รัก Plancentation บริเวณที่ ovule ติดภายในรังไข่เรียกว่า placenta และลักษณะของการที่ placenta อยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ กันคือ plancentation การศึกษา placentation นั้น หากว่ารังไข่ที่มีขนาดเล็กให้ดูจากผลจะชัดเจนกว่าดูรังไข่ และ สังเกตเมเล็ดแทนออวุล ดังได้กล่าวมาแล้วว่ารังไข่เกิดจากการเชื่อมกันของ carpel ตั้งแต่ 1 carpel ขึ้นไป การ เชื่อมติดกันของ carpel ทาให้เกิดช่องภายในรังไข่เรียก locule ซึ่งมีจานวนต่าง ๆ กันไป จานวนของ locule และ carpel อาจไม่เท่ากันก็ได้ แบบต่าง ๆ ของ placentation ดังนี้ Axile placentation รังไข่เป็น syncarpous มีหลาย locule placentaอยู่ที่แกนกลาง ( axis ) ของรังไข่ จานวน carpel และ locule เท่ากัน Laminar placentation รังไข่เป็น syncarpous มีหลาย locule และมี ovule ติดอยู่ที่ผนังภายในแต่ละ locule Parietal plancentation รังไข่ชนิด syncarpous มี 1 locule และ placenta อยู่ที่ขอบของ carpel ซึ่งมาเชื่อม ติดกัน ซึ่งจานวนของ carpel เท่ากับจานวนของ placenta เมื่อตัดผลตามขวาง Marginal placentation ลักษณะเหมือนกับ parietal placentation แต่ต่างกันที่ marginal placentation รังไข่เป็น simple pistil ให้สังเกตว่า placentation ของทั้ง 2 แบบนี้คล้ายกัน แต่ต่างกันที่ marginal placentation มี 1 carpel Free – central placentation คล้ายกัน axile placentation แต่มี 1 locule และแกนกลางซึ่งมี placenta นั้นจะยาว ไปจรดปลายรังไข่ Free – basal placentation คล้ายกับ free – central placentation แต่แกนกลางไม่ยาวไปจรดท้ายกับปลายของ รังไข่ Basal placentation มีจานวนออวุลน้อยติดที่ปลายด้านล่างของรังไข่ Apical placentation เหมือน basal placentation แต่มีออวุลเพียง 1 อันติดที่ปลายด้านบนของรังไข่
  • 14. ประเภทของผล จาแนกได้หลายแบบโดยอาศัยลักษณะต่าง ๆ ของpistil, placentation และ pericarp เป็นส่วนสาคัญจัดแบ่งได้ อย่างกว้าง ๆ ดังนี้ ผลเดี่ยว ( simple fruit ) เป็นผลที่เกิดจากดอกเดี่ยวซึ่งมี simple pistil หรือ compuond pistil ชนิด syncarpous แบบรังไข่ไม่แยก ผลกลุ่ม ( aggregate fruit ) เป็นกลุ่มของผลที่เกิดจากดอกเดี่ยว ซึ่งมี compound pistil ชนิด apocarpous ผลช่อ หรือ ผลรวม ( multiple fruit ) เป็นผลที่เกิดจากช่อดอกที่เกิดจากช่อดอกที่เบียดกันแน่นเหมือนผลและ ดูคล้ายผลเดี่ยว การจาแนกชนิดของผล ผลไม้ไม่ว่าจะเป็นผลเดี่ยวผลกลุ่มหรืผลช่อก็ตามอาจแบ่งออกได้เป็นชนิดต่าง ๆ ดังนี้ 1.ผลไม้ที่มีเนื้อสด ( fleshy fruit ) มี pericarp เป็นเนื้อนุ่มดั้งนี้ 1.1 drupe มี pericarp เป็น 3 ชั้นชัดเจน mesocarp เป็นเนื้อนุ่มซึ่งรับประทานได้ ยกเว้นพืชวงศ์ปาล์มบางชนิด เช่นมะพร้าว จาก ตาล หมาก ที่มี mesocarp เป็นเส้นใย fiber endocarp แข็ง 1.2 berry มี mesocarp และ endocarp รวมกันหรือแบ่ง ไม่ชัดเจน 1.3 hesperidium คล้าย berry แต่มีต่อมน้ามัน ( oil grand ) ที่ exocarp ส่วน endocarp เวลาแก่เปลี่ยนเป็นเส้น มีน้า มีผนังเยื่อบาง ๆ กั้นเมล็ดมาก 1.4 pepo มี exocarp แข็งและเหนียว ภายในคล้าย berry 1.5 pome มี pericarp อยู่ในผลเนื้อของผลเจริญมาจากฐานรองดอกผลชนิดนี้เจริญมาจาก inferior ovary 1.6 aril เป็นผลที่มีลักษIะแตกต่างจากที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวคือ ถัดจาก pericarp เข้าไปภายในมีเนื้อที่ สามารถรับประทานได้ เรียกว่า aril ซึ่งได้มาจากการเจริญของเมล็ด ( outgrowth of seed ) ส่วนมากเป็น ผลไม้เมืองร้อน เช่น เงาะ ลาไย ลางสาด 2.ผลแห้ง ( dry fruit ) เป็นผลที่มี pericarp แห้งเมื่อแก่ แบ่งออกได้เป็น 2 พวก 2.1 dry dehiscent fruit ผลแห้งแตกได้เองหรือมีรอยที่ทาให้แยกจากกันได้ มีดั้งนี้ follicle ผลที่เกิดจาก 1 carpel แตกตามรอยตะเข็บ 1 ด้าน legume ผลเกิดจาก 1 carpel แตกตามรอยตะเข็บ 2 ด้าน capsule ผลเกิดหลาย capsuleที่ติดกัน ( syncarpous pistil ) แตกตามรอยหรือมีช่องเปิดให้เมล็ดออก silique ผลที่เกิดจาก 2 carpel ซึ่งติดกันแตกออกเป็น 2 ซีก จากทางก้านขึ้นไปทางปลาย มักเห็นผนังเทียม บางๆ กั้นกลางเหลืออยู่ schizocarp ผลเกิดจาก 2 carpel หรือมากกว่า เมื่อแก่กระจัดกระจายออกเป็น 2 ส่วน แต่ละส่วนจะมีเมล็ดอยู่ ภายใน 1 เมล็ด เรียก mericarp
  • 15. lomentum คล้าย legume แต่ทาให้หักออกได้เป็นข้อ ๆ ตามขวางของผลซึ่งมักเรียกว่าฝัก แต่ละข้อมี 1 เมล็ด 2.2 dry indehiscent fruit ผลแห้งไม่แตกมีหลายชนิดดังนี้ achene ผลขนาดเล็กมี 1 เมล็ด preicarp บางและไม่ติดกับเปลือกของเมล็ด caryopsis คล้าย achene แต่ pericarp ไม่ติดกับเปลือกเมล็ด nut มีpericarp แข็งมาก ส่วนมากมีเมล็ดเดียว samara เป็น achene ที่มีส่วนยื่นคล้ายปีกใช้ในการแพร่กระจายพันธุ์ เมล็ด( seed)และต้นกล้า( seeding) เมล็ดคือ ออวุล ( ovule ) ที่เจริญขึ้นมาพร้อม ๆ กับผล จากผลข้าวโพดเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดละหุ่ง จะพบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1.เปลือกเมล็ด ( seed coat ) เจริญมาจากผนังของออวุล ( integument ) แบ่งเป็น 2 ชั้นคือชั้นนอก ( testa ) และชั้นใน (tegmen ) ในพืชบางชนิดรวมเป็นชั้นเดียว 2.เอมบริโอ ( embryo ) ประกอบด้วย radicle, cotyledon, hypocotyl, และ pumule 3.เอนโดสเปิร์ม ( endosperm ) เป็นแหล่งสะสมอาหารในเมล็ด เมล็ดที่มี endosperm เรียก albuminous seed เมล็ดที่ไม่มี endosperm เรียก exalbuminous seed ซึ่งจะได้อาหารสะสมจากใบเลี้ยง (cotyledon) แทน ให้ สังเกตว่า exalbuminous seed มีใบเลี้ยงหนา การงอกของเมล็ด ( seed germination ) การงอกของเมล็ดเป็นต้นกล้านั้น พืชบางกลุ่มจะมีใบเลี้ยงเหนือระดับดินเรียก การงอกนี้ว่า epigeal germination ส่วนพืชบางกลุ่มการงอกไม่มีใบเลี้ยงโผล่ขึ้นมาเหนือระดับดินเรียก hypogeal germination ลักษณะทั่วไปของปลา ปลาเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้า มีหลายจานวนมากมายหลากหลายสายพันธุ์ บางชนิดมีเกล็ดและไม่มี เกล็ด ปลาส่วนมากมีการผสมพันธุ์นอกร่างกาย แต่บางชนิดก็จะมีการผสมพันธุ์ภายในร่างกายของปลาตัว เมีย มีลักษณะลาตัวด้านซ้ายและขวาเท่ากัน สามารถแบ่งกลุ่มทางอนุกรมวิธานของปลาได้เป็นชั้นใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ปลาไม่มีขากรรไกร (Agnatha) แบ่งเป็น แฮคฟิช พบในปัจจุบันประมาณ 65 ชนิด และ ปลาแลมป์ เพรย์ พบในปัจจุบันประมาณ 40 ชนิด 2. ปลากระดูกอ่อน (Cartilaginous fish) ได้แก่ ปลาโรนัน, ปลาฉนาก, ปลากระเบน และปลาฉลาม พบ ในปัจจุบันประมาณ 400 ชนิด 3. ปลากระดูกแข็ง (Bony fish) คือปลาอื่น ๆ ที่เหลือทั้งหมด ปลากระดูกแข็งเป็นปลาส่วนใหญ่ของโลก พบในปัจจุบันประมาณ 21,000 ชนิด
  • 16. 4. ปลาครีบเป็นพู่ (Lobe-finned fish) คือ ปลาที่มีครีบต่าง ๆ เป็นพู่หรือกลีบ ใช้ในการเคลื่อนไหวใต้น้า เหมือนเดิน ได้แก่ ปลาซีลาแคนท์, ปลาปอด เป็นต้น 5. ปลามีเกราะ (Armoured fish) เป็นปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถือเป็นบรรพบุรุษของปลาทั้งหมด ปัจจุบันสูญพันธุ์หมดแล้ว มีเกล็ดหนาหุ้มตลอดลาตัวเหมือนชุดเกราะ ปลาเป็นสัตว์น้าที่สามารถดารงชีพอยู่ได้ในสภาพของดินฟ้าอากาศที่มีความแปรปรวน และแตกต่างกัน อย่างมาก ตราบใดที่ในบริเวณนั้นยังคงมีแหล่งน้าอยู่ เนื่องจากปลาในแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวใน การปรับสภาพของตัวเองให้สามารถมีชีวิตต่อไปได้ เช่น ปลาที่อาศัยในมหาสมุทรแอนตาร์กติก ซึ่งปกคลุม ไปด้วยน้าแข็งและอุณหภูมิที่ต่ากว่าจุดเยือกแข็ง จึงต้องปรับสภาพร่างกายของตัวเองโดยการสร้างสารความ ต้านทานของเม็ดเลือด หรือปลาที่อาศัยอยู่ในน้าที่มีอุณหภูมิสูง แหล่งน้าที่จืดสนิทจนถึงแหล่งน้าที่มีความ เค็มค่อนข้างมาก ก็จะปรับสภาพการดารงชีพที่แตกต่างกันรวมไปถึงวิธีการว่ายน้าด้วยลักษณะวิธีการ ที่แตกต่างกัน การปรับตัวและการดิ้นรนเพื่อการดารงชีพของปลา ทาให้ลักษณะทางสรีรวิทยารวมถึง พฤติกรรมต่าง ๆ มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ปลาโดยทั่วไปจะเคลื่อนไหวร่างกายในน้าด้วยครีบ โดยจะใช้ครีบบริเวณหลังและครีบบริเวณก้นสาหรับ ว่ายน้า ซึ่งปลาในชนิดต่าง ๆ อาจจะใช้ครีบบริเวณหูและครีบบริเวณก้นในการเคลื่อนตัวไปด้านหน้า ปลา บางชนิดอาจจะใช้อวัยวะบางส่วนเช่น ครีบบริเวณท้อง เพื่อสาหรับทาหน้าที่ให้เหมือนกับเท้าของสัตว์ชนิด อื่น ๆ เช่น ปลาตีน เพื่อไว้สาหรับการเคลื่อนไหวไปมา สามารถปีนป่ายก้อนหินและรากไม้ได้อย่างอิสรเสรี ภาพโดยรวมแล้วอวัยวะต่าง ๆ ของปลาประกอบด้วย  ปาก  จมูก  ดวงตา  กระพุ้งแก้ม  ครีบหู  ครีบท้อง  ครีบหลัง  ครีบก้น  ครีบหาง  ช่องก้น  เส้นข้างลาตัว มีซึ่งนอกจากครีบแล้วปลายังมีอวัยวะต่าง ๆ ที่มีประสาทในการรับรู้ความรู้สึกด้านต่าง ๆ รวมอยู่ด้วย ได้แก่ เส้นข้างลาตัว, เกล็ด เป็นต้น
  • 17. 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 1.กล้องถ่ายรูป 2.คอมพิวเตอร์+อินเทอร์เน็ต 3.สมุดบันทึก 4.เครื่องเขียน 5.โปรแกรมPhotoscape 6.website biogang.net - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 1.รวมกลุ่มโครงงานและวางแผนในการเลือกชุมชนเพื่อทาสารวจ คือชุมชนวัดเซิงหวาย 2.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนไปถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตในชุมชนและบันทึกข้อมูล 3.สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตที่ตนเองหามา 4.นาข้อมูลไปโพสในเว็บ Bio gang 5.แคปหน้าจอที่ไปโพสในเว็บแล้วนามารวมเป็นรูปเล่มจากนั้นตรวจสอบความเรียบร้อย 6.จัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน นาเสนอให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบ 7.ช่วยกันคิดหัวข้อแต่ละอย่างของโครงงาน อาทิเช่น ที่มาและความสาคัญ ระยะเวลาดาเนินงาน โดยร่าง ข้อมูลและนาไปตรวจสอบเมื่อถูกต้องแล้วจึงนาไปจัดพิมพ์ 8.โหลดโปรแกรม E-Book แล้วศึกษาวิธีการทา 9.นาข้อมูลมาใส่ใน E-Book ตามหัวข้อต่างๆและจัดหน้าจัดรูปแบบการวางข้อมูลในเล่ม E-Book 10.ตกแต่ง E-Book ให้สวยงาม และนาเสนอให้ครูที่ปรึกษาโครงงาน
  • 18. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน ระยะเวลาในการทาโครงงาน 1.รวมกลุ่มโครงงานและวางแผน 4 ก.ค. 57 2. แต่ละคนไปถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตในชุมชนและ บันทึกข้อมูล 9 ก.ค. 57 3.หาข้อมูลของสิ่งมีชีวิต 14-20 ก.ค. 57 4.นาไปโพสในเว็บ Bio gang 23-25 ก.ค. 57 5.แคปหน้าจอนามารวมเป็นรูปเล่ม จากนั้น ตรวจสอบความเรียบร้อย 24-25 ก.ค. 57 6.จัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน นาเสนอให้ครูที่ ปรึกษาตรวจสอบ 24-25 ก.ค. 57 7.ช่วยกันคิดหัวข้อแต่ละอย่างของโครงงานโดย ร่างข้อมูลและนาไปตรวจสอบเมื่อถูกต้องแล้วจึง นาไปจัดพิมพ์ 23-24 ก.ค. 57 8.โหลดโปรแกรม E-Book แล้วศึกษาวิธีการทา 28-30 ก.ค. 57 9.นาข้อมูลมาใส่ใน E-Book 18-22 ส.ค. 57 10.ตกแต่ง E-Book ให้สวยงาม และนาเสนอให้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน 25 ส.ค. 57 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง .http://science.thepbodint.ac.th/topmenu.php?c=show_note_work&w_id=13 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2 .http://coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/DP320/ .http://www.adsthailand.com/bedo/category/projects/ . http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81
  • 19. .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A1 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%A1_(%E0%B8%9E% E0%B8%B7%E0%B8%8A) .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%A1 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A1 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2 .http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2% E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%87
  • 20. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net ชื่อโครงงงานชีววิทยา ชุมชนวัดเซิงหวาย รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม kitty 1.น.ส.ณัชนันท์ มูลสา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 4 2.น.ส.ธิติพร พรมวัลย์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 5 3.น.ส.วรัญญา ใบประเสริฐ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 7 4.น.ส.ศศิธร กองพิธี ชั้น ม.6/1 เลขที่ 8 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 21. 1. ชื่อ น.ส. ณัชนันท์ สกุล มูลสา เลขที่ 4 ชั้น ม. 6/1 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ ต้นกล้วยน้าว้า
  • 22. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นไทร 2. ชื่อ น.ส.ธิติพร นามสกุล พรมวัลย์ เลขที่ 5 ชั้น ม. 6/1
  • 24. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ชาฮกเกี้ยน ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ พลูด่าง
  • 25. 3. ชื่อ น.ส.วรัญญา นามสกุล ใบประเสริฐ เลขที่ 7 ชั้น ม.6/1 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ดอกเข็ม
  • 26. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ โมก 4. ชื่อ น.ส. ศศิธร นามสกุล กองพิธี เลขที่ 8 ชั้น ม. 6/1
  • 29.