SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆตามความสามารถในการแบ่ งตัว
ของเนือเยือเป็ นหลัก คือ เนือเยือเจริญ (meristematic tissue) และ
้ ่
้ ่
เนือเยือถาวร (permanent tissue)
้ ่

1. เนือเยือเจริญ (meristematic tissue) ประกอบด้วย
้ ่

กลุ่มเซลล์ ทมีผนังบางและสามารถแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส
ี่
จําแนกตามตําแหน่ งทีอยู่ในส่ วนต่ างๆของพืชได้ 3 ชนิด คือ
่
่
1. เนื้อเยือเจริ ญส่ วนปลาย ( apical meristem ) อยูบริ เวณปลายราก
่
และปลายยอดของพืช เมื่อแบ่งเซลล์จะทําให้รากและลําต้นยืดยาว
ออกไป ลักษณะจะพบว่าเซลล์เหล่านี้จะมีความเข้มของสารภายใน
ค่อนข้างมามองเห็นสี เข้ม
่
2. เนื้อเยือเจริ ญเหนือข้อ ( intercalary meristem ) อยูบริ เวณ
่
เหนือข้อ หรื อโคนของปล้องช่วยให้ปล้องยาวขึ้น พบในพืช
ใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ไผ่ อ้อย ข้าว หญ้า เป็ นต้น
3. เนื้อเยือเจริ ญด้านข้าง (lateral meristem)จะแบ่งตัวออก
่
ทางด้านขางทําให้รากและลําต้นขยายขนาดขึ้น พบในพืช
ใบเลี้ยงคู่ทวไป และ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น
ั่
หมากผูหมากเมีย จันทน์ผา เป็ นต้น เนื้อเยือเจริ ญชนิดนี้
้
่
่
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า แคมเบียม (cambium) ถ้าอยูในกลุ่มของ
ท่อลําเลียงจะเรี ยกว่า วาสคิวลาร์ แคมเบียม (vascular
่ ั
cambium) และถ้าอยูถดจากชั้นเยือบุผวรากและลําต้นเข้าไป
่ ิ
จะเรี ยกว่า คอร์ ก แคมเบียม (cork cambium)
l-s ปลายยอดสาหร่ ายหางกระรอก
l-s จากยอดโกงกาง
l-s ปลายรากโกงกาง
2. เนื้อเยือถาวร ( permanent tissue ) ประกอบด้วย
่

กลุ่มเซลล์ที่ปกติจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกแล้วโดยเซลล์เหล่านี้
เจริ ญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยือเจริ ญ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่
่
มีรูปร่ าง และหน้าที่ต่างๆกัน แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1.) เนื้อเยือถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue)
่
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกัน ทําหน้าที่อย่างเดียวกัน
แบ่งได้หลายชนิดตามหน้าที่และส่ วนประกอบภายในเซลล์
ได้แก่
่
เอพิเดอร์ มีส ( epidermis) เป็ นเนื้อเยือที่อยูรอบนอกสุ ด
่
ของส่ วนต่างๆของพืช มักจะมีเพียงชั้นเดียว ประกอบด้วย
กลุ่มเซลล์ที่มี รู ปร่ างแบน แวคิวโอลใหญ่ เซลล์แต่ละเซลล์เรี ยงตัว
กันแน่น ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ ผนังเซลล์ดานนอกมักหนากว่า
้
ด้านในและมีสาร คิวทิน (cutin) มาเคลือบ
่ ้
เอนโดเดอร์ มิส (endodermis) อยูดานนอกของเยือลําเลียง
่
ของราก รู ปร่ างคล้ายเซลล์พาเรงคิมา ที่ผนังเซลล์มีสารลิกนิน
(lignin)และซูเบอริ น(suberin)มาพอกหนา
คอร์ ก (cork) เกิดจากการแบ่งเซลล์ของ cork cambium
่
อยูนอกสุ ดของลําต้นและรากของพืชที่มีการเจริ ญเติบโตขั้นที่ 2
(secondary growth)
Epidermis ทีเ่ ปลียนแปลง
่
รู ปเพือทําหน้ าทีต่างๆ
่
่

stinging hair จากผิวลําต้น
ตําแย
ปากใบ (stomata)
เป็ นเนือเยือทีพบอยู่ทวๆไปในพืช เซลล์ มรูปร่ าง
้ ่ ่
ั่
ี
หลายแบบ เช่ น ค่ อนข้ างกลม รี หรือทรงกระบอก
เมือเรียงตัวติดกันทําให้ เกิด ช่ องว่ างระหว่ างเซลล์
่
ผนังเซลล์ บาง แวคิวโอลใหญ่ เกือบเต็มเซลล์
เป็ นเนื้อเยือที่มีกลุ่มเซลล์คล้ายพาเรงคิมา
่
ผนังเซลล์ประกอบด้วย เพกติน (pectin)
และเซลลูโลสช่วยเพิมความแข็งแรงให้แก่
่
พืช แต่ผนังเซลล์หนาไม่เท่ากัน
เป็ นเนือเยือทีช่วยพยุงให้ ความแข็งแรงแก่ ลาต้ น
้ ่ ่
ํ
แบ่ งเป็ น 2 ชนิดคือ ไฟเบอร์ (fiber) มีรูปร่ างยาวมากและ
หนาช่ วยให้ ความแข็งแรงแก่ พช และสเกลอรีด(sclereid)
ื
คล้ ายไฟเบอร์ แต่ เซลล์ ไม่ ยาวมาก มักอยู่ตามส่ วนทีแข็งๆ
่
ของเปลือกต้ นไม้ และเปลือกหุ้มเมล็ด
Scleried จากเปลือกกระเทียม
Trichoscleried (ติดสี แดง) จากก้ านใบบัวสาย
Macroscleried จากเปลือกเมล็ดถัวลิสง
่
2.) เนือเยือถาวรเชิงซ้ อน (complex permanent tissue)
้ ่
เป็ นเนื้อเยือที่ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ทํางานร่ วมกัน คือ
่
เนื้อเยือลําเลียง (vascular tissue) ซึ่งแบ่งเป็ น ไซเลม และโฟลเอ็ม
่
2.1.1 ไซเลม(xylem)
4 ชนิด คือ

ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและแร่ ธาตุประกอบด้วยเซลล์
ํ

(1) พาเรงคิมา (parenchyma) เป็ นเซลล์ชนิดเดียวกับที่
่
อยูในชั้นคอร์ เท็กและพิธทําหน้าที่สะสมอาหารพวกแป้ ง
(2) ไฟเบอร์ (fiber) เป็ นเซลล์รูปร่ างยาวเรี ยว
่
มีความเหนียวแข็งแรงแทรกอยูในไซเลม
(3) เทรคีด (tracheid) เป็ นเซลล์รูปร่ างยาวเรี ยว
ปลายเซลล์ที่มาต่อกันจะเหลื่อมกันเล็กน้อยเมื่อเจริ ญเต็มที่เป็ นเซลล์
ที่ตายแล้วจะมีสารพวกลิกนินมาพอกเป็ นรู ปต่างๆแต่บางแห่งเป็ นรู
เรี ยกว่า “พิธ” ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและแร่ ธาตุ พบในไซเลมของพืช
ํ
ที่มีท่อลําเลียงชั้นตํ่าตั้งแต่หวายทะนอยจนถึงพวกจิมโนสเปิ ร์ ม
ทําหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่ไซเลม
(4) เวสเซล (vessel) ลักษณะคล้ายเทรคีด คือ
เมื่อเซลล์โตเต็มที่แล้วจะตาย ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและเกลือแร่
ํ
กลุ่มท่ อลําเลียงจากลําต้ นโกงกาง
- Tracheid จาก
เนือเยือเนือไม้ สน
้ ่ ้

Lignified wall แบบต่ างๆ
ใน vessel จาการแยก
เนือเยือก้ านใบขึนฉ่ าย
้ ่
้
Tangential l-x เนือไม้ เต็ง
้
X-S เนือไม้ เต็ง
้
2.1.2 โฟลเอ็ม (phloem)
ทําหน้าที่ลาเลียงอินทรี ยสารจากใบไปยังส่ วนต่างๆของพืช
ํ
์
ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ
่
(1) พาเรงคิมา มีอยูในโฟลเอ็มเช่นเดียวกับไซเลม
(2) ไฟเบอร์ เป็ นเส้นใยทําให้โฟลเอ็มแข็งแรง
(3) ซี ฟทิวบ์ (sieve tube) เป็ นเซลล์ที่มีชีวตอยูรูปร่ างยาว
ิ ่
ทรงกระบอก ด้านสุ ดปลายทั้งสองของเซลล์มีลกษณะเสี้ ยม บริ เวณนี้มี
ั
่ ้
แผ่นรู พรุ นอยูดวยเรี ยกว่า ซีฟเพลต (sieve plate) เมื่อเซลล์เจริ ญเต็มที่
นิวเคลียสหายไปแต่เซลล์ยงมีชีวตอยู่
ั ิ
(4) คอมพาเนียนเซลล์ (companion cell) เป็ นเซลล์
่ ั
ขนาดเล็กอยูกบซี ฟทิวบ์เมมเบอร์ ทําหน้าที่ช่วยเหลือซี ฟทิวบ์เมมเบอร์
ซึ่งไม่มีนิวเคลียสแล้ว
Sieve tube จากลําต้ นฟักทอง

x-s ลําต้ นเฟื่ องฟา
้
โครงสร้ างภายในของราก
บริ เวณส่ วนปลายของรากพืช ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ 4 ส่ วน
1. บริ เวณหมวกราก (root cap) เป็ นส่ วนปลายที่สุดของราก
หมวกรากมีหน้าที่ในการปกคลุมป้ องกันไม่ให้เซลล์ที่บริ เวณปลายราก
ถูกทําลายเซลล์ของหมวกรากมีสารเมือกซึ่งเป็ นพอลิแซ็กคาไร
ช่วยป้ องกันอันตรายต่างๆในดิน ป้ องกันไม่ให้ปลายรากแห้งและ
่ ้
ช่วยละลายแร่ ธาตุดวย เซลล์ส่วนที่อยูดานนอกของหมวกรากและ
้
บุบสลายอยูเ่ สมอ เนื่องจากรากเจริ ญและหยังลึกลงไปในดิน ดังนั้น
่
ส่ วนของเซลล์ที่บริ เวณปลายรากจึงต้องแบ่งตัวสร้างหมวกรากขึ้นมา
แทนอยูเ่ สมอ
2. บริ เวณเซลล์แบ่งตัวหรื อบริ เวณเนื้อเยือเจริ ญ
่
บริ เวณเซลล์แบ่งตัวหรื อบริ เวณเนื้อเยือเจริ ญ
่
่ ั
(meristermatic zone) เป็ นส่ วนที่อยูถดจากหมวกรากขึ้นมา เซลล์
บริ เวณนี้คือ เนื้อเยือเจริ ญปลายราก (apical meristem) เซลล์มีการ
่
แบ่งตัวตลอดเวลาทําให้รากเจริ ญและขยายขนาดยาวขึ้น เซลล์มี
ขนาดเล็ก ผนังเซลล์บาง ภายในมีโพโทพลาสซึมปริ มาณมาก
เมื่อแบ่งเซลล์จะได้หมวกรากและเซลล์มีรูปร่ างยาวขึ้น
3. บริ เวณเซลล์ทีมีการยืดตัว
บริ เวณเซลล์ทีมีการยืดตัว (zone of cell
่ ั
elongation ) เป็ นบริ เวณที่อยูถดจากเนื้อเยือเจริ ญโดยเซลล์ที่
่
ได้จากการแบ่งตัวมีการขยายขนาดและยืดตัวตามความยาว
ของราก ดั้งนั้นเซลล์บริ เวณนี้จึงยาวกว่าบริ เวณอื่นๆ และ
ทําให้ปลายรากยาวเพิ่มขึ้น
4. บริ เวณขนราก (root hair zone) เป็ นบริ เวณปลายรากที่มี
ขนรากยืนออกมามาก บริ เวณนี้เซลล์ไม่มีการยืดตัวแล้ว แต่เป็ น
่
บริ เวณที่มีการดูดนํ้าและแร่ ธาตุให้แก่พืชจึงเป็ นบริ เวณที่มี
ความสําคัญต่อพืชเป็ นอย่างมาก บริ เวณขนรากและบริ เวณที่อยูเ่ หนือ
ขนรากขึ้นมาเซลล์บริ เวณนี้มีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหน้าที่ต่างๆ
มีการเปลี่ยนแปลงทังส่ วนประกอบภายในและรู ปร่ างเพื่อให้
่
เหมาะสมกับหน้าที่ เช่น ท่อลําเลียงนํ้าของไซเลม เป็ นต้น
ขนรากเป็ นส่ วนของเซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell) ที่ยน
ื่
ออกมาจากรากทําหน้าที่ดูดนํ้าและแร่ ธาตุให้แก่พืช
5. บริ เวณเซลล์ที่เจริ ญเติบโตเต็มที่ (region of
่
่ ั
maturation) อยูในบริ เวณขนรากและบริ เวณที่อยูถดขึ้นไป
และเป็ นบริ เวณที่เป็ นเนื้อเยือถาวร เนื้อเยือพืชทั้ง
่
่
พืชใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยว เมื่อตัดตามขวางตรงบริ เวณ
ที่เจริ ญเติบโตเต็มที่แล้วจะพบบริ เวณต่างๆ ของเนื้อเยือ
่
เรี ยงจากด้านนอกเข้าด้านในเป็ นชั้นๆ ดั้งนี้
่
5.1 เอพิเดอร์ มิส (epidermis) เป็ นชั้นที่อยูนอกสุ ด เป็ นเซลล์
ที่เรี ยงกันชั้นเดี่ยว ผนังเซลล์บาง ไม่มีคลอโรพลาสต์ บริ เวณ
ปลายรากที่เรี ยกว่า บริ เวณขนราก (root hair zone) เป็ นส่ วนของ
เซลล์เอพิเดอร์ มิสที่ยนออกมา และเรี ยกว่า ขนราก (root hair)
ื่
ช่วยในการดูดนํ้าและแร่ ธาตุต่างๆ ให้แก่พืช
5.2 คอร์ เทกซ์ (cortex) เป็ นชั้นที่ประกอบด้วยเซลล์
พาเรงคิมาเป็ นส่ วนใหญ่ เรี ยงตัวกันหลายแถว เซลล์ไม่มี
คลอโรพลาสต์ ทําหน้าที่ในการสะสมอาหาร ชั้นในสุ ดของคอร์ เทกซ์
เรี ยกว่า เอนโดเดอร์ มิส (endodermis) เซลล์เรี ยงตัวชั้นเดี่ยวในขณะที่
่
รากอ่อนยังอยูที่ผนังเซลล์ จะบางเมื่อเซลล์อายุมากขึ้น จะมีสารพวก
ซูเบอริ น (suberin) มาเกาะตามขวางของเซลล์ สารซูเบอริ นเป็ นสารที่
นํ้าผ่านไม่ได้ ดั้งนั้นการไหลของนํ้าผ่านเอนโดเดอร์ มิสเข้าสู่ ดานในจึง
้
ต้องผ่านเอนโดเดอร์ มิสโดยตรง
่ ั
5.3 สตีล (stele) เป็ นบริ เวณที่อยูถดจากชั้นเอนโดเดอร์ มิส
เข้าไปในรากพบว่าชั้นของสตีลแคบกว่าชั้นคอร์เทกซ์ ชั้นสตีล
ประกอบด้วยชั้นต่างๆ คือ
5.3.1 เพริ ไซเคิล (pericycle) เป็ นชั้นของเซลล์ที่ต่อจาก
เอนโดเดอร์ มิสเข้ามาเซลล์เรี ยงกันแถวเดี่ยวหรื อ 2 แถวเท่านั้น
เพริ ไซเคิลเป็ นจุดกําเนิดของรากแขนง ในลําต้นไม่มีเซลล์
ชนิดนี้เลย
5.3.2 กลุ่มท่อลําเลียงหรื อวาสคิวลาร์บนเดิล (vascular
ั
bundle) เป็ นกลุ่มของไซเลมและโฟลเอ็ม ซึ่งมีการจัดเรี ยงตัว
แตกต่างกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลียงคู่รากพืชใบเลี้ยงคู่
มีกลุ่มของเซลล์ไซเลมซึ้งเป็ นเซลล์ขนาดใหญ่เรี ยงตัวเป็ น 4-6 แฉก
(arch) โดยมากมักมี 4 แฉก และมีโฟลเอ็มขนาดเล็ก แทรกอยู่
ระหว่างแฉกของไซเลม ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีแฉกของไซเลมมาก
กว่า 4 หรื อ 5 แฉก นอกจากนี้รากพืชใบเลี้ยงคู่ยงมีแคมเบียม ซึ่ งจะ
ั
แบ่งตัวให้วาสคิวลาร์ บนเดิลชั้นที่สอง (secondary vascular bundle)
ั
เมื่อพืชมีอายุมากขึ้นด้วย
5.3.3 พิธ (pith) เป็ นเซลล์พวกพาเรงคิมา
่
ที่อยูบริ เวณกลางสุ ดของราก ช่วยทําหน้าที่ในการสะสม
อาหาร แต่ในพวกพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีอายุมากขึ้นเซลล์
เหล่านี้มกจะตายแล้วบุบสลายไปเพราะถูกไซเลมดันเข้า
ั
ด้านในโครงสร้างของราก
x-s ปลายรากโกงกาง
x-s รากพลูฉีก
หน้ าทีและชนิดของราก
่
รากมีหน้าที่สาคัญ คือ
ํ
1. ดูด (absorbtion) นํ้าและแร่ ธาตุต่างๆ แล้วลําเลียง
ไปสู่ส่วนอื่นๆ ของพืช
2. ยึด (anchorage) พื้นดิน พยุงใบ และคํ้าจุนให้ลาต้น
ํ
ของพืชตั้งตรงได้
3. หน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น สะสมอาหาร หายใจ สื บพันธุ์
และรากบางชนิดมีคลอโรฟิ ลล์ทาให้สงเคราะห์ดวยแสงได้
ํ ั
้
ชนิดของราก เมื่อจําแนกตามการกําเนิดของราก
1. ไพรมารี รู ท (primary root) เป็ นรากที่เกิดมาจากราก
่
แรกเกิดหรื อแรดิเคิล (radicle) ในขณะที่เป็ นเอมบริ โออยูในเมล็ด
่
่ ั
แล้วเจริ ญเติบโตยืดยาวออกมา พุงลงสู่ดิน ติดอยูกบลําต้น
มีขนาดใหญ่และเรี ยวเล็กลงเรื่ อยๆ ซึ่งก็คือ รากแก้ว (tap root)
นันเอง
่
2. เซกันดารี รู ท (secondary root) เป็ นรากที่เจริ ญจาก
รากแก้วหรื อไพมารี รูท อีกทีหนึ่งเรี ยกว่า รากแขนง (lateral root)
ซึ่งจะมีการแตกแขนงออกไปได้อีกโดยรากแขนงนี้จะแตกออก
จากส่ วนเพริ ไซเคิลของราก การแตกแขนงในลักษณะนี้เป็ นการ
แตกแขนงจากเนื้อเยือข้างในเรี ยกว่า เอนโดจีนส บรานชิง
่
ั
(endogenous branching)
3. รากพิเศษ หรื อรากวิสามัญ (adventious root)
เป็ นรากที่ไม่ได้เกิดมาจากรากแรกเกิดและไพรมารี รูท
ซึ่ งแบ่งออกมาเป็ นหลายชนิด คือ
3.1 รากฝอย (fibrous root) เป็ นรากขนาดเล็ก
ขนาดเท่าๆ กัน งอกออกมาจากบริ เวณโคนต้นพืชพบใน
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น รากหญ้า รากข้าว เป็ นต้น
3.2 รากคํ้าจุน (prop root) เป็ นรากที่แตก
ออกมาจากข้อของลําต้นเหนือดิน ช่วยพยุงลําต้นเอาไว้ไม่ให้
ล้มง่าย เช่น รากคํ้าจุนของข้าวโพด โกงกาง เป็ นต้น
3.3 รากเกาะ (climbing) เป็ นรากที่ออกมาจากลําต้น
แล้วยึดเกาะกับเสาหรื อไม้อื่นเพื่อไต่ข้ ึนด้านบน เช่น รากเกาะ
ของพลู พลูด่าง เป็ นต้น
3.4 รากหายใจ (aerationg root or respiratory
root) เป็ นรากที่แตกแขนงจากรากใหญ่แล้วแทงขึ้นด้านบน
ขึ้นเหนือพืชดินหรื อพืชนํ้า เซลล์มกเป็ นพาเรงคิมา มีช่องว่าง
ั
ระหว่างเซลล์มากทําให้อากาศผ่านได้ดี เช่น รากหายใจของ
แสม ลําพู เป็ นต้น
3.5 รากสังเคราะห์ดวยแสง (photosynthetic root) ราก
้
พวกนี้เมื่อแตกแขนงออกมาจากลําต้นแล้วมักจะห้อยลงมาในอากาศ
มักมีสีเขียวของคลอโรฟี ลล์ เช่น รากกล้วยไม้ รากไทร เป็ นต้น
3.6 รากกาฝาก (parasitic root) เป็ นรากของพืชที่เป็ น
กาฝากที่แทงลงไปในเนื้อเยือของพืชแล้วดูดนํ้าและอาหารส่ งให้
่
ลําต้นของมัน รากที่แทงเข้าไปในเนื้อเยือพืชที่เป็ นโฮสต์ (host)
่
เรี ยกว่า ฮูสทอเรี ยม (haustorium)
นอกจากนี้รากยังทําหน้าที่สาคัญในการสะสมอาหารด้วย
ํ
่
จึงเรี ยกรากพวกนี้วา รากสะสมอาหาร (storage root) โดยสะสม
อาหารพวกแป้ ง นํ้าตาลและโปรตีนเอาไว้ ทําให้มีลกษณะอวบอ้วน
ั
เราจึงเรี ยกว่า หัว ซึ่ งอาจเปลี่ยนแปลงจากรากแก้ว เช่น หัวผักกาด
หรื อเปลี่ยนแปลงมาจากรากฝอย เช่น หัวมันแกว เป็ นต้น
ลําต้น(Stem) เป็ นส่ วนที่เจริ ญมาจากเนื้อเยือเจริ ญปลาย
่
ยอดของต้นอ่อน เรี ยกว่า หน่อ (Shoot) ซึ่งหมายถึง ต้น
และใบรวมเป็ นระบบเดียวกัน
ลักษณะภายนอกของลําต้ นพืช
ลักษณะของลําต้ น
่
ลําต้นจะมี ข้อ (Node) และ ปล้อง (Internode) มีใบติดอยูที่
ข้อและมักมีตา (Bud) ซึ่งตาอาจจะแตกไปเป็ นกิ่ง ใบ หรื อดอก
ลําต้ นของพืชใบเลียงเดียว จะเห็นข้อ ปล้อง ได้ชดเจน เช่น
้ ่
ั
หญ้า อ้อย มะพร้าว ไผ่ หมากต่างๆ
ลําต้ นของพืชใบเลียงคู่ จะไม่เห็นข้อ ปล้อง เนื่องจากมีการ
้
สร้างคอร์ก (Cork) มาหุม
้
ลําต้ นของพืชใบเลียงเดียว
้ ่
(Monocotyledon)
มีระบบท่อลําเลียง (Vascular
bundle) คือ ท่อลําเลียงนํ้า
(Xylem)และท่อลําเลียงอาหาร
(Phloem)เรี ยงตัวกันเป็ นกลุ่มๆ
กระจัดกระจายทัวไป และไม่มี
่
Cambium กั้นระหว่าง
XylemและPhloem

ลําต้ นพืชใบเลียงคู่(Dicotyledon)
้
ระบบท่อลําเลียง(Vascular bundle)
คือท่อลําเลียงนํ้า(Xylem)และท่อ
ลําเลียงอาหาร(Phloem)เรี ยงตัวกัน
เป็ นระเบียบรอบๆลําต้น โดยมี
่ ้
Phloem อยูดานนอกXylem อยู่
ด้านใน ในแนวรัศมีเดียวกันและมี
Cambium กั้นระหว่าง Xylemและ
Phloem
ชนิดของลําต้ น
1. ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem)
2. ลําต้ นใต้ ดน (Underground stem)
ิ
1. ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem) แบ่งออกเป็ น ต้นไม้
ยืนต้น (Tree) ไม้พม (Shrub) และไม้ลมลุก (Herb)
ุ่
้
- ลําต้นเถาวัลย์ ถัวฝักยาว เรี ยกว่า Twiner (ลําต้นพันหลัก)
่
- ลําต้นพลูด่าง พริ กไทย เรี ยกว่า Climber (ลําต้นปี นป่ าย)
- ลําต้นแตง ผักบุง หญ้า เรี ยกว่า Creeping (ลําต้นเลื้อย)
้
- ลําต้นกุหลาบ การะเวก เรี ยกว่า Spine (ลําต้นหนาม)
- กระบองเพชร พญาไร้ใบ สนทะเล ลําต้นแผ่แบนคล้ายใบ
ทําหน้าที่แทนใบ เรี ยกว่า cladophyll
2. ลําต้ นใต้ ดน(Underground stem)
ิ
****ข้ อสั งเกต ลําต้ นมีตา
ขมิ้น กล้วย

- Rhizome (แง่ง หรื อเหง้าใต้ดิน) เช่น ขิง ข่า กระชาย
- Tuber (หัวมีขอปล้อง) เช่น มันฝรั่ง
้
- Corm (หัวมีใบเกล็ด) เช่น เผือก แห้ว

พลับพลึง

- Bulb (ใบเกล็ดสะสมอาหาร) เช่น หอม กระเทียม
Epidermis

Pith

Parenchyma cell
Stem
Vascular
Bundle

Cortex
Cambium
Parenchyma cell

Interfasicular cambium

Vascular Cambium
Xylem

Phloem
การเจริ ญเติบโตทางด้านความสูงของพืชจัดเป็ น
การเจริ ญเติบโตขั้นต้น อันเป็ นผลมาจากการแบ่งเซลล์
ของเนื้อเยือเจริ ญปลายยอดและปลายราก นอกจากนี้เซลล์
่
นี้ยงมี การเปลี่ยนแปลงไปเป็ น เนื้อเยือเจริ ญขั้นต้น
ั
่
(primary meristem) 3 กลุ่ม คือ
1. โพรโทเดิร์ม (protoderm) เป็ นเนื้อเยือชั้นนอกสุ ด
่
ห่อหุมเนื้อเยืออื่นๆของรากไว้โดยรอบ ส่ วนนี้จะเปลี่ยนแปลง
้
่
ไปเป็ นเอพิเดอร์ มิส
2. โพรแคมเบียม (procambium ) เป็ นเนื้อเยือชั้นในสุ ด
่
ซึ่ งจะเปลี่ยนแปลงเป็ น ไซเลมขั้นต้น (primary xylem)
เนื้อเยือเจริ ญ แคมเบียมและโฟลเอมขั้นต้น (phoem)
่
3. กราวด์ เมอริสเต็ม (groun meristem ) ได้แก่
เนื้อเยือพื้นทัวไป ซึ่ งจะเปลี่ยนเป็ นคอร์เทกซ์และพิธ
่
่
ในลําต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิดและใบเลี้ยงคู่
นอกจากจะ เติบโตขั้นต้นแล้ว ยังมีการเจริ ญขั้นที่ 2 โดย
วาสคิวลาร์ แคมเบียมจะแบ่งตัวสร้างเนื้อเยือเจริ ญขั้นที่สอง
่
(secondary xylem) เพิมขึ้นภายในเป็ นจํานวนมาก
่
ทําให้เนื้อเยือโฟลเอมขั้นที่สอง (secondary pholem)
่
ที่วาสคิวลาร์ แคมเบียมสร้างออกมาทางด้านนอก ถูกดัน
ออกมาเบียดชั้นคอร์เทกซ์จนสลายไปในที่สุด โฟลเอม
่
ั
ขั้นที่สองจะมาอยูใกล้กบชั้นคอร์กแคมเบียมซึ่ งกําลังจะหลุด
ตัวออกไปเช่นกัน
ใน 1 ปี วาสคิวลาร์แคมเบียมจะมีการแบ่งเซลล์
เพิ่มขึ้นตามจํานวนมากน้อยต่างกันในแต่ละฤดู ซึ่งขึ้นจะขึ้นอยู่
กับปริ มาณนํ้าและอาหาร เซลล์ช้ นไซเลมที่สร้างขึ้นในฤดูฝน
ั
จะเจริ ญเร็ วมีขนาดใหญ่ทาให้ไซเลมกว้างและมักมีสีจาง
ํ
ส่ วนในฤดูแล้งจะมีสีเข้ม ลักษณะดังกล่าวทําให้เนื้อไม้มีสีจาง
และสี เข้มสลับกันมองเห็นเป็ นวง เรี ยกว่า วงปี (annual ring)
่
แก่ นไม้ (heart wood) มาจากไซเลมขั้นต้นที่ดานที่อยูในสุ ด
้
ของลําต้นหรื อรากที่มีอายุมากแล้วอุดตัน
่
กระพีไม้ (sapwood) คือ ไซเลมที่อยูรอบนอกซึ่ งมีสีจางกว่า
้
ชั้นในทําหน้าที่ลาเลียงนํ้า
ํ
เนือไม้ (wood) คือ เนื้อเยือไซเลมทั้งหมด (กระพีไม้ + แก่ นไม้ )
้
่
้
่ ั
เปลือกไม้ (bark) คือ ส่ วนที่อยูถดจากวาสคิวลาร์ แคมเบียม
ออกมา ประกอบด้วย เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอ็ม ส่ วนลําต้น
ที่อายุมากๆ เนื้อเยือบางชั้นก็ตายไป ทําให้มี คอร์ก คอร์ กแคมเบียม
่
และโฟลเอ็มขั้นที่ 2 ทําหน้าที่ลาเลียงอาหารได้
ํ
กลุ่มท่ อลําเลียงและ interfascicular cambium จาก x-s ลําต้ นทองพันช่ าง
กลุ่มท่ อลําเลียงของลําต้ นหญ้ าขน
ลักษณะของวงปี (early wood - late wood)
ลักษณะของวงปี วงชะงัก(ศรชี้)
โครงสร้ างของใบพืช
ลักษณะภายนอกของใบพืช
โดยทัวๆไปใบพืชมีลกษณะเป็ นแผ่นบาง ปลายแหลมบ้าง
ั
่
ทู่บาง เว้าบ้าง แล้วแต่ชนิดของพืช ส่ วนประกอบภายนอกของ
้
ใบพืชแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
1. ฐานใบ (base) เป็ นส่ วนที่ยดติดกับลําต้นหรื อกิ่ง ใบพืช
ึ
บางชนิดที่ฐานใบจะมีใบเล็กๆติดอยู่ 2 ข้าง เรี ยกว่า หูใบ (stipule)
เช่น ใบชบา ใบมะขาม เป็ นต้น
่
2. ก้านใบ (petiole) เป็ นส่ วนที่อยูระหว่างตัวใบและ
่
้
ลําต้น โดยอยูติดกับเส้นกลางใบ พืชบางชนิดมีกานบางชนิด
้
ไม่มีกานใบ ในพืชใบเลี้ยงคู่มกมีกานใบที่ค่อนข้างกลมหรื อกลม
ั ้
้
ส่ วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมักมีกานใบแผ่เป็ นแผ่นหุมข้อของลําต้น
้
เรี ยกว่า กาบใบ (leaf sheath) ภายในก้านใบจะมีท่อลําเลียง
่ ั
(มีไซเลมและโฟลเอ็ม) ติดต่ออยูกบลําต้น
3. ตัวใบหรื อแผ่นใบ (blade หรื อ lamina) เป็ นส่ วนของใบที่มี
ลักษณะเป็ นแผ่นแบนบาง เพื่อให้คลอโรฟี ลล์ในใบมีโอกาสสัมผัสหรื อ
่ ั
ได้รับแสงแดดให้มากที่สุด ตัวใบมีรูปร่ างลักษณะแตกต่างกันขึ้นอยูกบ
ชนิดของพืช เช่น มีรูปร่ างคล้ายใบหอก ลูกธนู หัวใจ ไต เคียว ช้อน
เป็ นรู ปไข่ แหลม ยาว เป็ นเส้น เป็ นต้น ตัวใบประกอบด้วยส่ วนต่างๆ
ดังนี้
่
3.1 ยอดใบ (apex) อยูนอกสุ ดของตัวใบ อาจเรี ยว มน แหลม
หรื อเว้าเข้าสู่ใบเป็ นแบบต่างๆ กัน
่
3.2 ขอบใบ (rim หรื อ margin) อยูทางด้านข้างของตัวใบ
บางชนิดมีลกษณะเรี ยบ หยักหรื อเว้าในแบบต่างๆกัน
ั
3.3 เส้นกลางใบ (midrib) และเส้นใบ (vein) มีการจัดเรี ยงตัว
ของเส้นใบออกเป็ น 2 แบบ คือ
- การจัดเรี ยงตัวของเส้นใบแบบตาข่าย ( netted
venation ) พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทวไป โดยเส้นใบย่อย
ั่
หรื อเส้นแขนง ( rib ) จะแตกกิ่งก้านออกจากเส้นกลาง
ใบเป็ นเส้นเล็กลงตามลําดับ ( vein ) และสานกันเป็ น
ร่ างแหหรื อแบบตาข่าย
- การจัดเรี ยงตัวของเส้นใบแบบขนาน ( paralleled
venation ) พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว จะมีเส้นใบขนานใหญ่
เท่ากันเรี ยงไปในแนวเดียวกันตามยาวจากฐานใบไปสู่ ยอดใบ
หรื อจากกลางใบออกสู่ขอบใบ เช่น ใบตอง เป็ นต้น
ผิวด้านบนส่ วนที่รับแสงเรี ยกว่า หลังใบ (dorsal side)
ส่ วนด้านล่างที่ไม่ได้รับแสง เรี ยกว่า ท้องใบ ( ventral side )
ทางด้านหลังใบมักมีสีเขียวเข้มและผิวเรี ยบกว่าด้านท้องใบ
แต่เส้นใบทางด้านท้องใบจะนูนออกมาเห็นได้ชดเจนกว่า
ั
โครงสร้ างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์ มิส ( epidermis) เป็ นเนื้อเยือชั้นนอกสุ ดของใบ
่
่ ั
มีอยูท้ งด้านหลังใบ (upper epidermis) และ ด้านท้องใบ
(lower epidermis) ส่ วนมากมีความหนาเพียงชั้นเดียว ผิวชั้นบนของ
เซลล์ที่มาสัมผัสอากาศจะหนากว่าผิวชั้นล่างเล็กน้อย และมีสารคล้าย
ขี้ผ้ งสี ขาวๆ เรี ยกว่า สารคิวทิน (cutin) ปกคลุมเป็ นชั้นบางๆ ช่วย
ึ
ป้ องกันการระเหยของนํ้า
เอพิเดอร์ มิสประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่ างเป็ นรู ป
สี่ เหลี่ยมผืนผ้าเรี ยงตัวกันเพียงชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ มี
่ ั
หน้าที่ช่วยป้ องกันโครงสร้างอื่นของใบที่อยูถดไปและช่วย
ป้ องกันไม่ให้น้ าระเหยออกจากใบมากเกิน
ํ
เซลล์บางเซลล์จะเปลี่ยนไปเป็ นเซลล์คุม (guard cell)
เป็ นคู่ๆ มีรูปร่ างคล้ายเมล็ดถัว 1 คู่ มาประกบกัน ทําให้เกิดรู
่
ตรงกลางขึ้น คือ ส่ วนของปากใบ (stoma หรื อ stomata)
ทําหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สและไอนํ้าระหว่างภายในและภายนอก
ใบ ภายในเซลล์คุมมีคลอโรพลาสต์
่
2. มีโซฟี ลล์ (mesophyll) เป็ นเนื้อเยือที่อยูระหว่าง
่
เอพิเดอร์ มิสด้านบนและด้านล่าง ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา
่
ที่มีคลอโรพลาสต์ (chloroplast) อยูในปริ มาณที่ไม่เท่ากันและมี
รู ปร่ างต่างกันออกเป็ น 2 แบบ คือ
2.1 พาลิเสดมีโซฟี ลล์ (palisade mesophyll)
เป็ นชั้นที่ติดกับเอพิเดอร์มิสด้านบน ประกอบด้วยเซลล์ที่มี
รู ปร่ างยาวเรี ยงต่อกันในแนวตั้งฉากกับเอพิเดอร์มิส โดยไม่มี
ช่องว่างระหว่างเซลล์ อาจมีช้ นเดียวหรื อหลายชั้น ภายในเซลล์
ั
ที่มีคลอโรพลาสต์อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก จนเป็ นบริ เวนที่มีการ
สังเคราะห์ดวยแสงมากที่สุด
้
2.2 สปั นจีมีโซฟี ลล์ (spongy mesophyll) เป็ นชั้นที่อยู่
ถัดลงมาจากพาลิเสดมีโซฟี ลล์จนถึงเอพิเดอร์มิสด้านล่าง
ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่ างค่อนข้างกลมเรี ยงตัวหลวมๆ ไม่เป็ น
ระเบียบ จึงเกิดช่องว่างระหว่างเซลล์ ช่วยให้เซลล์สมผัสอากาศ
ั
ภายในใบได้มาก จึงเอื้ออํานวยต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สและไอนํ้า
ั
ระหว่างเซลล์กบสิ่ งแวดล้อม ภายในมีคลอโรพลาสต์ไม่หนาแน่น
จึงเกิดกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงได้นอยกว่าชั้น
้
้
พาลิเสดมีโซฟี ลล์
3. เส้นใบ (vein) หรื อ มัดท่อลําเลียง (vascular bundle) เป็ นกลุ่มเซลล์
่
ที่ทาหน้าที่ลาเลียงนํ้า เกลือแร่ และอาหาร ไปสู่ ส่วนต่างๆของใบ แทรกอยูใน
ํ
ํ
ชั้นมีโซฟี ลล์ มีรูปร่ างแตกต่างไปจากพาลิเสดมีโซฟี ลล์และสปันจีมีโซฟี ลล์
กลุ่มเซลล์น้ ีจดเป็ นเนื้อเยือท่อลําเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วยเซลล์
ั
่
่ ั
ไซเลมและเซลล์โฟลเอ็ม ตามปกติเส้นใบจะอยูกนเป็ นย่อมๆในชั้น
สปันจีมีโซฟี ลล์ (spongy mesophyll) เส้นใบเส้นใหญ่ที่สุด คือ เส้นกลางใบ
แล้วแยกแขนงจากเส้นกลางใบ (midrib) เป็ นเส้นเล็กลงเรื่ อยๆออกไปมากมาย
พบว่ามัดท่อลําเลียงจะล้อมรอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เรี ยกว่า
บันเดิล ชีท(bundle sheath) ช่วยทําให้มดท่อลําเลียงแข็งแรงขึ้น ซึ่ งบันเดิลชีท
ั
่
อาจจะเป็ นเนื้อเยือพาเรงคิมาหรื อสเกลอเรงคิมา 1-2 ชั้น ส่ วนใหญ่จะอยูใน
่
ชั้นสปันจีมีโซฟี ลล์ ทําให้เห็นเส้นใบนูนขึ้นมาทางด้านท้องใบ
x-s ใบพืชใบเลียงเดียว
้ ่
Sunken stoma ใบโกงกาง
Raised stomata จากใบบัวสาย
vascular bundle and bundle sheath
หน้ าทีของใบ
่
ใบมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการคือ
ํ
1. สร้างอาหารด้วยวิธีการสังเคราะห์ดวยแสง
้
(Photosynthesis)
2. แลกเปลี่ยนแก๊สหรื อการหายใจ (respiration)
3. คายนํ้า (transpiration)
เช่น

นอกจากนี้ ใบยังมีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างไปเพื่อทําหน้าที่อื่นๆอีก

1. ช่วยยึดและคํ้าจุนลําต้น โดยใบเปลี่ยนไปเป็ นมือเกาะ(tendril)
เช่น มือเกาะของต้นตําลึง มะระ บวบ ถัวลันเตา เป็ นต้น
่
2. แพร่ พนธุ์ เช่น ใบของต้นตายใบเป็ น โคมญี่ปุ่น เป็ นต้น
ั
3. ช่วยป้ องกันลําต้น (ใบเปลี่ยนเป็ นหนาม) เช่น หนาม
กระบองเพชร เป็ นต้น
4. สะสมอาหารและนํ้า เช่น ใบว่านหางจระเข้ กลีบหัวหอม
เป็ นต้น
5. ช่วยในการผสมพันธุ์ คือ กลีบดอกและใบประดับสี สนต่างๆ
ั
สําหรับล่อแมลง
6. ช่วยประหยัดนํ้าโดยเปลี่ยนเป็ นเกล็ดเล็กๆ เช่น
สนทะเล หรื อเปลี่ยนเป็ นหนาม เช่น ใบเสมา
กระบองเพชร
7. ช่วยป้ องกันใบอ่อน เช่น เกล็ดหุมตา (bud scale )
้
8. ช่วยในการดักจับแมลงโดยใบพืชพวกนี้จะมีการ
เปลี่ยนแปลงไปเป็ นกับดักแมลง (เป็ นพืชพวก insectivorous
plant) เช่น ใบของต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดนํ้าค้าง
เป็ นต้น

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)Natee Tasanakulwat
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกsarawut chaiyong
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกNatty Natchanok
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชPawida Chumpurat
 

Viewers also liked (10)

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
Doc12
Doc12Doc12
Doc12
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืช
 

Similar to บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก

โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 

Similar to บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
Body
BodyBody
Body
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 

More from ฟลุ๊ค ลำพูน

บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 

More from ฟลุ๊ค ลำพูน (20)

Biology
BiologyBiology
Biology
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
4
44
4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก

  • 1.
  • 2.
  • 3. แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆตามความสามารถในการแบ่ งตัว ของเนือเยือเป็ นหลัก คือ เนือเยือเจริญ (meristematic tissue) และ ้ ่ ้ ่ เนือเยือถาวร (permanent tissue) ้ ่ 1. เนือเยือเจริญ (meristematic tissue) ประกอบด้วย ้ ่ กลุ่มเซลล์ ทมีผนังบางและสามารถแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส ี่ จําแนกตามตําแหน่ งทีอยู่ในส่ วนต่ างๆของพืชได้ 3 ชนิด คือ ่
  • 4. ่ 1. เนื้อเยือเจริ ญส่ วนปลาย ( apical meristem ) อยูบริ เวณปลายราก ่ และปลายยอดของพืช เมื่อแบ่งเซลล์จะทําให้รากและลําต้นยืดยาว ออกไป ลักษณะจะพบว่าเซลล์เหล่านี้จะมีความเข้มของสารภายใน ค่อนข้างมามองเห็นสี เข้ม ่ 2. เนื้อเยือเจริ ญเหนือข้อ ( intercalary meristem ) อยูบริ เวณ ่ เหนือข้อ หรื อโคนของปล้องช่วยให้ปล้องยาวขึ้น พบในพืช ใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ไผ่ อ้อย ข้าว หญ้า เป็ นต้น
  • 5. 3. เนื้อเยือเจริ ญด้านข้าง (lateral meristem)จะแบ่งตัวออก ่ ทางด้านขางทําให้รากและลําต้นขยายขนาดขึ้น พบในพืช ใบเลี้ยงคู่ทวไป และ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ั่ หมากผูหมากเมีย จันทน์ผา เป็ นต้น เนื้อเยือเจริ ญชนิดนี้ ้ ่ ่ เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า แคมเบียม (cambium) ถ้าอยูในกลุ่มของ ท่อลําเลียงจะเรี ยกว่า วาสคิวลาร์ แคมเบียม (vascular ่ ั cambium) และถ้าอยูถดจากชั้นเยือบุผวรากและลําต้นเข้าไป ่ ิ จะเรี ยกว่า คอร์ ก แคมเบียม (cork cambium)
  • 9. 2. เนื้อเยือถาวร ( permanent tissue ) ประกอบด้วย ่ กลุ่มเซลล์ที่ปกติจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกแล้วโดยเซลล์เหล่านี้ เจริ ญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยือเจริ ญ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ ่ มีรูปร่ าง และหน้าที่ต่างๆกัน แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1.) เนื้อเยือถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue) ่ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกัน ทําหน้าที่อย่างเดียวกัน แบ่งได้หลายชนิดตามหน้าที่และส่ วนประกอบภายในเซลล์ ได้แก่
  • 10. ่ เอพิเดอร์ มีส ( epidermis) เป็ นเนื้อเยือที่อยูรอบนอกสุ ด ่ ของส่ วนต่างๆของพืช มักจะมีเพียงชั้นเดียว ประกอบด้วย กลุ่มเซลล์ที่มี รู ปร่ างแบน แวคิวโอลใหญ่ เซลล์แต่ละเซลล์เรี ยงตัว กันแน่น ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ ผนังเซลล์ดานนอกมักหนากว่า ้ ด้านในและมีสาร คิวทิน (cutin) มาเคลือบ ่ ้ เอนโดเดอร์ มิส (endodermis) อยูดานนอกของเยือลําเลียง ่ ของราก รู ปร่ างคล้ายเซลล์พาเรงคิมา ที่ผนังเซลล์มีสารลิกนิน (lignin)และซูเบอริ น(suberin)มาพอกหนา คอร์ ก (cork) เกิดจากการแบ่งเซลล์ของ cork cambium ่ อยูนอกสุ ดของลําต้นและรากของพืชที่มีการเจริ ญเติบโตขั้นที่ 2 (secondary growth)
  • 11. Epidermis ทีเ่ ปลียนแปลง ่ รู ปเพือทําหน้ าทีต่างๆ ่ ่ stinging hair จากผิวลําต้น ตําแย ปากใบ (stomata)
  • 12. เป็ นเนือเยือทีพบอยู่ทวๆไปในพืช เซลล์ มรูปร่ าง ้ ่ ่ ั่ ี หลายแบบ เช่ น ค่ อนข้ างกลม รี หรือทรงกระบอก เมือเรียงตัวติดกันทําให้ เกิด ช่ องว่ างระหว่ างเซลล์ ่ ผนังเซลล์ บาง แวคิวโอลใหญ่ เกือบเต็มเซลล์
  • 13.
  • 14. เป็ นเนื้อเยือที่มีกลุ่มเซลล์คล้ายพาเรงคิมา ่ ผนังเซลล์ประกอบด้วย เพกติน (pectin) และเซลลูโลสช่วยเพิมความแข็งแรงให้แก่ ่ พืช แต่ผนังเซลล์หนาไม่เท่ากัน
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18. เป็ นเนือเยือทีช่วยพยุงให้ ความแข็งแรงแก่ ลาต้ น ้ ่ ่ ํ แบ่ งเป็ น 2 ชนิดคือ ไฟเบอร์ (fiber) มีรูปร่ างยาวมากและ หนาช่ วยให้ ความแข็งแรงแก่ พช และสเกลอรีด(sclereid) ื คล้ ายไฟเบอร์ แต่ เซลล์ ไม่ ยาวมาก มักอยู่ตามส่ วนทีแข็งๆ ่ ของเปลือกต้ นไม้ และเปลือกหุ้มเมล็ด
  • 20. Trichoscleried (ติดสี แดง) จากก้ านใบบัวสาย
  • 22. 2.) เนือเยือถาวรเชิงซ้ อน (complex permanent tissue) ้ ่ เป็ นเนื้อเยือที่ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ทํางานร่ วมกัน คือ ่ เนื้อเยือลําเลียง (vascular tissue) ซึ่งแบ่งเป็ น ไซเลม และโฟลเอ็ม ่ 2.1.1 ไซเลม(xylem) 4 ชนิด คือ ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและแร่ ธาตุประกอบด้วยเซลล์ ํ (1) พาเรงคิมา (parenchyma) เป็ นเซลล์ชนิดเดียวกับที่ ่ อยูในชั้นคอร์ เท็กและพิธทําหน้าที่สะสมอาหารพวกแป้ ง (2) ไฟเบอร์ (fiber) เป็ นเซลล์รูปร่ างยาวเรี ยว ่ มีความเหนียวแข็งแรงแทรกอยูในไซเลม
  • 23. (3) เทรคีด (tracheid) เป็ นเซลล์รูปร่ างยาวเรี ยว ปลายเซลล์ที่มาต่อกันจะเหลื่อมกันเล็กน้อยเมื่อเจริ ญเต็มที่เป็ นเซลล์ ที่ตายแล้วจะมีสารพวกลิกนินมาพอกเป็ นรู ปต่างๆแต่บางแห่งเป็ นรู เรี ยกว่า “พิธ” ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและแร่ ธาตุ พบในไซเลมของพืช ํ ที่มีท่อลําเลียงชั้นตํ่าตั้งแต่หวายทะนอยจนถึงพวกจิมโนสเปิ ร์ ม ทําหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่ไซเลม (4) เวสเซล (vessel) ลักษณะคล้ายเทรคีด คือ เมื่อเซลล์โตเต็มที่แล้วจะตาย ทําหน้าที่ลาเลียงนํ้าและเกลือแร่ ํ
  • 25. - Tracheid จาก เนือเยือเนือไม้ สน ้ ่ ้ Lignified wall แบบต่ างๆ ใน vessel จาการแยก เนือเยือก้ านใบขึนฉ่ าย ้ ่ ้
  • 28. 2.1.2 โฟลเอ็ม (phloem) ทําหน้าที่ลาเลียงอินทรี ยสารจากใบไปยังส่ วนต่างๆของพืช ํ ์ ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ ่ (1) พาเรงคิมา มีอยูในโฟลเอ็มเช่นเดียวกับไซเลม (2) ไฟเบอร์ เป็ นเส้นใยทําให้โฟลเอ็มแข็งแรง (3) ซี ฟทิวบ์ (sieve tube) เป็ นเซลล์ที่มีชีวตอยูรูปร่ างยาว ิ ่ ทรงกระบอก ด้านสุ ดปลายทั้งสองของเซลล์มีลกษณะเสี้ ยม บริ เวณนี้มี ั ่ ้ แผ่นรู พรุ นอยูดวยเรี ยกว่า ซีฟเพลต (sieve plate) เมื่อเซลล์เจริ ญเต็มที่ นิวเคลียสหายไปแต่เซลล์ยงมีชีวตอยู่ ั ิ (4) คอมพาเนียนเซลล์ (companion cell) เป็ นเซลล์ ่ ั ขนาดเล็กอยูกบซี ฟทิวบ์เมมเบอร์ ทําหน้าที่ช่วยเหลือซี ฟทิวบ์เมมเบอร์ ซึ่งไม่มีนิวเคลียสแล้ว
  • 29. Sieve tube จากลําต้ นฟักทอง x-s ลําต้ นเฟื่ องฟา ้
  • 30.
  • 31. โครงสร้ างภายในของราก บริ เวณส่ วนปลายของรากพืช ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ 4 ส่ วน 1. บริ เวณหมวกราก (root cap) เป็ นส่ วนปลายที่สุดของราก หมวกรากมีหน้าที่ในการปกคลุมป้ องกันไม่ให้เซลล์ที่บริ เวณปลายราก ถูกทําลายเซลล์ของหมวกรากมีสารเมือกซึ่งเป็ นพอลิแซ็กคาไร ช่วยป้ องกันอันตรายต่างๆในดิน ป้ องกันไม่ให้ปลายรากแห้งและ ่ ้ ช่วยละลายแร่ ธาตุดวย เซลล์ส่วนที่อยูดานนอกของหมวกรากและ ้ บุบสลายอยูเ่ สมอ เนื่องจากรากเจริ ญและหยังลึกลงไปในดิน ดังนั้น ่ ส่ วนของเซลล์ที่บริ เวณปลายรากจึงต้องแบ่งตัวสร้างหมวกรากขึ้นมา แทนอยูเ่ สมอ
  • 32. 2. บริ เวณเซลล์แบ่งตัวหรื อบริ เวณเนื้อเยือเจริ ญ ่ บริ เวณเซลล์แบ่งตัวหรื อบริ เวณเนื้อเยือเจริ ญ ่ ่ ั (meristermatic zone) เป็ นส่ วนที่อยูถดจากหมวกรากขึ้นมา เซลล์ บริ เวณนี้คือ เนื้อเยือเจริ ญปลายราก (apical meristem) เซลล์มีการ ่ แบ่งตัวตลอดเวลาทําให้รากเจริ ญและขยายขนาดยาวขึ้น เซลล์มี ขนาดเล็ก ผนังเซลล์บาง ภายในมีโพโทพลาสซึมปริ มาณมาก เมื่อแบ่งเซลล์จะได้หมวกรากและเซลล์มีรูปร่ างยาวขึ้น
  • 33. 3. บริ เวณเซลล์ทีมีการยืดตัว บริ เวณเซลล์ทีมีการยืดตัว (zone of cell ่ ั elongation ) เป็ นบริ เวณที่อยูถดจากเนื้อเยือเจริ ญโดยเซลล์ที่ ่ ได้จากการแบ่งตัวมีการขยายขนาดและยืดตัวตามความยาว ของราก ดั้งนั้นเซลล์บริ เวณนี้จึงยาวกว่าบริ เวณอื่นๆ และ ทําให้ปลายรากยาวเพิ่มขึ้น
  • 34. 4. บริ เวณขนราก (root hair zone) เป็ นบริ เวณปลายรากที่มี ขนรากยืนออกมามาก บริ เวณนี้เซลล์ไม่มีการยืดตัวแล้ว แต่เป็ น ่ บริ เวณที่มีการดูดนํ้าและแร่ ธาตุให้แก่พืชจึงเป็ นบริ เวณที่มี ความสําคัญต่อพืชเป็ นอย่างมาก บริ เวณขนรากและบริ เวณที่อยูเ่ หนือ ขนรากขึ้นมาเซลล์บริ เวณนี้มีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหน้าที่ต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงทังส่ วนประกอบภายในและรู ปร่ างเพื่อให้ ่ เหมาะสมกับหน้าที่ เช่น ท่อลําเลียงนํ้าของไซเลม เป็ นต้น ขนรากเป็ นส่ วนของเซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell) ที่ยน ื่ ออกมาจากรากทําหน้าที่ดูดนํ้าและแร่ ธาตุให้แก่พืช
  • 35. 5. บริ เวณเซลล์ที่เจริ ญเติบโตเต็มที่ (region of ่ ่ ั maturation) อยูในบริ เวณขนรากและบริ เวณที่อยูถดขึ้นไป และเป็ นบริ เวณที่เป็ นเนื้อเยือถาวร เนื้อเยือพืชทั้ง ่ ่ พืชใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยว เมื่อตัดตามขวางตรงบริ เวณ ที่เจริ ญเติบโตเต็มที่แล้วจะพบบริ เวณต่างๆ ของเนื้อเยือ ่ เรี ยงจากด้านนอกเข้าด้านในเป็ นชั้นๆ ดั้งนี้
  • 36. ่ 5.1 เอพิเดอร์ มิส (epidermis) เป็ นชั้นที่อยูนอกสุ ด เป็ นเซลล์ ที่เรี ยงกันชั้นเดี่ยว ผนังเซลล์บาง ไม่มีคลอโรพลาสต์ บริ เวณ ปลายรากที่เรี ยกว่า บริ เวณขนราก (root hair zone) เป็ นส่ วนของ เซลล์เอพิเดอร์ มิสที่ยนออกมา และเรี ยกว่า ขนราก (root hair) ื่ ช่วยในการดูดนํ้าและแร่ ธาตุต่างๆ ให้แก่พืช
  • 37. 5.2 คอร์ เทกซ์ (cortex) เป็ นชั้นที่ประกอบด้วยเซลล์ พาเรงคิมาเป็ นส่ วนใหญ่ เรี ยงตัวกันหลายแถว เซลล์ไม่มี คลอโรพลาสต์ ทําหน้าที่ในการสะสมอาหาร ชั้นในสุ ดของคอร์ เทกซ์ เรี ยกว่า เอนโดเดอร์ มิส (endodermis) เซลล์เรี ยงตัวชั้นเดี่ยวในขณะที่ ่ รากอ่อนยังอยูที่ผนังเซลล์ จะบางเมื่อเซลล์อายุมากขึ้น จะมีสารพวก ซูเบอริ น (suberin) มาเกาะตามขวางของเซลล์ สารซูเบอริ นเป็ นสารที่ นํ้าผ่านไม่ได้ ดั้งนั้นการไหลของนํ้าผ่านเอนโดเดอร์ มิสเข้าสู่ ดานในจึง ้ ต้องผ่านเอนโดเดอร์ มิสโดยตรง
  • 38. ่ ั 5.3 สตีล (stele) เป็ นบริ เวณที่อยูถดจากชั้นเอนโดเดอร์ มิส เข้าไปในรากพบว่าชั้นของสตีลแคบกว่าชั้นคอร์เทกซ์ ชั้นสตีล ประกอบด้วยชั้นต่างๆ คือ 5.3.1 เพริ ไซเคิล (pericycle) เป็ นชั้นของเซลล์ที่ต่อจาก เอนโดเดอร์ มิสเข้ามาเซลล์เรี ยงกันแถวเดี่ยวหรื อ 2 แถวเท่านั้น เพริ ไซเคิลเป็ นจุดกําเนิดของรากแขนง ในลําต้นไม่มีเซลล์ ชนิดนี้เลย
  • 39. 5.3.2 กลุ่มท่อลําเลียงหรื อวาสคิวลาร์บนเดิล (vascular ั bundle) เป็ นกลุ่มของไซเลมและโฟลเอ็ม ซึ่งมีการจัดเรี ยงตัว แตกต่างกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลียงคู่รากพืชใบเลี้ยงคู่ มีกลุ่มของเซลล์ไซเลมซึ้งเป็ นเซลล์ขนาดใหญ่เรี ยงตัวเป็ น 4-6 แฉก (arch) โดยมากมักมี 4 แฉก และมีโฟลเอ็มขนาดเล็ก แทรกอยู่ ระหว่างแฉกของไซเลม ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีแฉกของไซเลมมาก กว่า 4 หรื อ 5 แฉก นอกจากนี้รากพืชใบเลี้ยงคู่ยงมีแคมเบียม ซึ่ งจะ ั แบ่งตัวให้วาสคิวลาร์ บนเดิลชั้นที่สอง (secondary vascular bundle) ั เมื่อพืชมีอายุมากขึ้นด้วย
  • 40. 5.3.3 พิธ (pith) เป็ นเซลล์พวกพาเรงคิมา ่ ที่อยูบริ เวณกลางสุ ดของราก ช่วยทําหน้าที่ในการสะสม อาหาร แต่ในพวกพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีอายุมากขึ้นเซลล์ เหล่านี้มกจะตายแล้วบุบสลายไปเพราะถูกไซเลมดันเข้า ั ด้านในโครงสร้างของราก
  • 42.
  • 44. หน้ าทีและชนิดของราก ่ รากมีหน้าที่สาคัญ คือ ํ 1. ดูด (absorbtion) นํ้าและแร่ ธาตุต่างๆ แล้วลําเลียง ไปสู่ส่วนอื่นๆ ของพืช 2. ยึด (anchorage) พื้นดิน พยุงใบ และคํ้าจุนให้ลาต้น ํ ของพืชตั้งตรงได้ 3. หน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น สะสมอาหาร หายใจ สื บพันธุ์ และรากบางชนิดมีคลอโรฟิ ลล์ทาให้สงเคราะห์ดวยแสงได้ ํ ั ้
  • 45. ชนิดของราก เมื่อจําแนกตามการกําเนิดของราก 1. ไพรมารี รู ท (primary root) เป็ นรากที่เกิดมาจากราก ่ แรกเกิดหรื อแรดิเคิล (radicle) ในขณะที่เป็ นเอมบริ โออยูในเมล็ด ่ ่ ั แล้วเจริ ญเติบโตยืดยาวออกมา พุงลงสู่ดิน ติดอยูกบลําต้น มีขนาดใหญ่และเรี ยวเล็กลงเรื่ อยๆ ซึ่งก็คือ รากแก้ว (tap root) นันเอง ่
  • 46. 2. เซกันดารี รู ท (secondary root) เป็ นรากที่เจริ ญจาก รากแก้วหรื อไพมารี รูท อีกทีหนึ่งเรี ยกว่า รากแขนง (lateral root) ซึ่งจะมีการแตกแขนงออกไปได้อีกโดยรากแขนงนี้จะแตกออก จากส่ วนเพริ ไซเคิลของราก การแตกแขนงในลักษณะนี้เป็ นการ แตกแขนงจากเนื้อเยือข้างในเรี ยกว่า เอนโดจีนส บรานชิง ่ ั (endogenous branching)
  • 47. 3. รากพิเศษ หรื อรากวิสามัญ (adventious root) เป็ นรากที่ไม่ได้เกิดมาจากรากแรกเกิดและไพรมารี รูท ซึ่ งแบ่งออกมาเป็ นหลายชนิด คือ 3.1 รากฝอย (fibrous root) เป็ นรากขนาดเล็ก ขนาดเท่าๆ กัน งอกออกมาจากบริ เวณโคนต้นพืชพบใน พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น รากหญ้า รากข้าว เป็ นต้น 3.2 รากคํ้าจุน (prop root) เป็ นรากที่แตก ออกมาจากข้อของลําต้นเหนือดิน ช่วยพยุงลําต้นเอาไว้ไม่ให้ ล้มง่าย เช่น รากคํ้าจุนของข้าวโพด โกงกาง เป็ นต้น
  • 48. 3.3 รากเกาะ (climbing) เป็ นรากที่ออกมาจากลําต้น แล้วยึดเกาะกับเสาหรื อไม้อื่นเพื่อไต่ข้ ึนด้านบน เช่น รากเกาะ ของพลู พลูด่าง เป็ นต้น 3.4 รากหายใจ (aerationg root or respiratory root) เป็ นรากที่แตกแขนงจากรากใหญ่แล้วแทงขึ้นด้านบน ขึ้นเหนือพืชดินหรื อพืชนํ้า เซลล์มกเป็ นพาเรงคิมา มีช่องว่าง ั ระหว่างเซลล์มากทําให้อากาศผ่านได้ดี เช่น รากหายใจของ แสม ลําพู เป็ นต้น
  • 49. 3.5 รากสังเคราะห์ดวยแสง (photosynthetic root) ราก ้ พวกนี้เมื่อแตกแขนงออกมาจากลําต้นแล้วมักจะห้อยลงมาในอากาศ มักมีสีเขียวของคลอโรฟี ลล์ เช่น รากกล้วยไม้ รากไทร เป็ นต้น 3.6 รากกาฝาก (parasitic root) เป็ นรากของพืชที่เป็ น กาฝากที่แทงลงไปในเนื้อเยือของพืชแล้วดูดนํ้าและอาหารส่ งให้ ่ ลําต้นของมัน รากที่แทงเข้าไปในเนื้อเยือพืชที่เป็ นโฮสต์ (host) ่ เรี ยกว่า ฮูสทอเรี ยม (haustorium) นอกจากนี้รากยังทําหน้าที่สาคัญในการสะสมอาหารด้วย ํ ่ จึงเรี ยกรากพวกนี้วา รากสะสมอาหาร (storage root) โดยสะสม อาหารพวกแป้ ง นํ้าตาลและโปรตีนเอาไว้ ทําให้มีลกษณะอวบอ้วน ั เราจึงเรี ยกว่า หัว ซึ่ งอาจเปลี่ยนแปลงจากรากแก้ว เช่น หัวผักกาด หรื อเปลี่ยนแปลงมาจากรากฝอย เช่น หัวมันแกว เป็ นต้น
  • 50.
  • 51. ลําต้น(Stem) เป็ นส่ วนที่เจริ ญมาจากเนื้อเยือเจริ ญปลาย ่ ยอดของต้นอ่อน เรี ยกว่า หน่อ (Shoot) ซึ่งหมายถึง ต้น และใบรวมเป็ นระบบเดียวกัน
  • 52. ลักษณะภายนอกของลําต้ นพืช ลักษณะของลําต้ น ่ ลําต้นจะมี ข้อ (Node) และ ปล้อง (Internode) มีใบติดอยูที่ ข้อและมักมีตา (Bud) ซึ่งตาอาจจะแตกไปเป็ นกิ่ง ใบ หรื อดอก ลําต้ นของพืชใบเลียงเดียว จะเห็นข้อ ปล้อง ได้ชดเจน เช่น ้ ่ ั หญ้า อ้อย มะพร้าว ไผ่ หมากต่างๆ ลําต้ นของพืชใบเลียงคู่ จะไม่เห็นข้อ ปล้อง เนื่องจากมีการ ้ สร้างคอร์ก (Cork) มาหุม ้
  • 53. ลําต้ นของพืชใบเลียงเดียว ้ ่ (Monocotyledon) มีระบบท่อลําเลียง (Vascular bundle) คือ ท่อลําเลียงนํ้า (Xylem)และท่อลําเลียงอาหาร (Phloem)เรี ยงตัวกันเป็ นกลุ่มๆ กระจัดกระจายทัวไป และไม่มี ่ Cambium กั้นระหว่าง XylemและPhloem ลําต้ นพืชใบเลียงคู่(Dicotyledon) ้ ระบบท่อลําเลียง(Vascular bundle) คือท่อลําเลียงนํ้า(Xylem)และท่อ ลําเลียงอาหาร(Phloem)เรี ยงตัวกัน เป็ นระเบียบรอบๆลําต้น โดยมี ่ ้ Phloem อยูดานนอกXylem อยู่ ด้านใน ในแนวรัศมีเดียวกันและมี Cambium กั้นระหว่าง Xylemและ Phloem
  • 54. ชนิดของลําต้ น 1. ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem) 2. ลําต้ นใต้ ดน (Underground stem) ิ
  • 55. 1. ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem) แบ่งออกเป็ น ต้นไม้ ยืนต้น (Tree) ไม้พม (Shrub) และไม้ลมลุก (Herb) ุ่ ้ - ลําต้นเถาวัลย์ ถัวฝักยาว เรี ยกว่า Twiner (ลําต้นพันหลัก) ่ - ลําต้นพลูด่าง พริ กไทย เรี ยกว่า Climber (ลําต้นปี นป่ าย) - ลําต้นแตง ผักบุง หญ้า เรี ยกว่า Creeping (ลําต้นเลื้อย) ้ - ลําต้นกุหลาบ การะเวก เรี ยกว่า Spine (ลําต้นหนาม) - กระบองเพชร พญาไร้ใบ สนทะเล ลําต้นแผ่แบนคล้ายใบ ทําหน้าที่แทนใบ เรี ยกว่า cladophyll
  • 56. 2. ลําต้ นใต้ ดน(Underground stem) ิ ****ข้ อสั งเกต ลําต้ นมีตา ขมิ้น กล้วย - Rhizome (แง่ง หรื อเหง้าใต้ดิน) เช่น ขิง ข่า กระชาย - Tuber (หัวมีขอปล้อง) เช่น มันฝรั่ง ้ - Corm (หัวมีใบเกล็ด) เช่น เผือก แห้ว พลับพลึง - Bulb (ใบเกล็ดสะสมอาหาร) เช่น หอม กระเทียม
  • 57.
  • 59. การเจริ ญเติบโตทางด้านความสูงของพืชจัดเป็ น การเจริ ญเติบโตขั้นต้น อันเป็ นผลมาจากการแบ่งเซลล์ ของเนื้อเยือเจริ ญปลายยอดและปลายราก นอกจากนี้เซลล์ ่ นี้ยงมี การเปลี่ยนแปลงไปเป็ น เนื้อเยือเจริ ญขั้นต้น ั ่ (primary meristem) 3 กลุ่ม คือ
  • 60. 1. โพรโทเดิร์ม (protoderm) เป็ นเนื้อเยือชั้นนอกสุ ด ่ ห่อหุมเนื้อเยืออื่นๆของรากไว้โดยรอบ ส่ วนนี้จะเปลี่ยนแปลง ้ ่ ไปเป็ นเอพิเดอร์ มิส 2. โพรแคมเบียม (procambium ) เป็ นเนื้อเยือชั้นในสุ ด ่ ซึ่ งจะเปลี่ยนแปลงเป็ น ไซเลมขั้นต้น (primary xylem) เนื้อเยือเจริ ญ แคมเบียมและโฟลเอมขั้นต้น (phoem) ่ 3. กราวด์ เมอริสเต็ม (groun meristem ) ได้แก่ เนื้อเยือพื้นทัวไป ซึ่ งจะเปลี่ยนเป็ นคอร์เทกซ์และพิธ ่ ่
  • 61. ในลําต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิดและใบเลี้ยงคู่ นอกจากจะ เติบโตขั้นต้นแล้ว ยังมีการเจริ ญขั้นที่ 2 โดย วาสคิวลาร์ แคมเบียมจะแบ่งตัวสร้างเนื้อเยือเจริ ญขั้นที่สอง ่ (secondary xylem) เพิมขึ้นภายในเป็ นจํานวนมาก ่ ทําให้เนื้อเยือโฟลเอมขั้นที่สอง (secondary pholem) ่ ที่วาสคิวลาร์ แคมเบียมสร้างออกมาทางด้านนอก ถูกดัน ออกมาเบียดชั้นคอร์เทกซ์จนสลายไปในที่สุด โฟลเอม ่ ั ขั้นที่สองจะมาอยูใกล้กบชั้นคอร์กแคมเบียมซึ่ งกําลังจะหลุด ตัวออกไปเช่นกัน
  • 62. ใน 1 ปี วาสคิวลาร์แคมเบียมจะมีการแบ่งเซลล์ เพิ่มขึ้นตามจํานวนมากน้อยต่างกันในแต่ละฤดู ซึ่งขึ้นจะขึ้นอยู่ กับปริ มาณนํ้าและอาหาร เซลล์ช้ นไซเลมที่สร้างขึ้นในฤดูฝน ั จะเจริ ญเร็ วมีขนาดใหญ่ทาให้ไซเลมกว้างและมักมีสีจาง ํ ส่ วนในฤดูแล้งจะมีสีเข้ม ลักษณะดังกล่าวทําให้เนื้อไม้มีสีจาง และสี เข้มสลับกันมองเห็นเป็ นวง เรี ยกว่า วงปี (annual ring)
  • 63. ่ แก่ นไม้ (heart wood) มาจากไซเลมขั้นต้นที่ดานที่อยูในสุ ด ้ ของลําต้นหรื อรากที่มีอายุมากแล้วอุดตัน ่ กระพีไม้ (sapwood) คือ ไซเลมที่อยูรอบนอกซึ่ งมีสีจางกว่า ้ ชั้นในทําหน้าที่ลาเลียงนํ้า ํ เนือไม้ (wood) คือ เนื้อเยือไซเลมทั้งหมด (กระพีไม้ + แก่ นไม้ ) ้ ่ ้ ่ ั เปลือกไม้ (bark) คือ ส่ วนที่อยูถดจากวาสคิวลาร์ แคมเบียม ออกมา ประกอบด้วย เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอ็ม ส่ วนลําต้น ที่อายุมากๆ เนื้อเยือบางชั้นก็ตายไป ทําให้มี คอร์ก คอร์ กแคมเบียม ่ และโฟลเอ็มขั้นที่ 2 ทําหน้าที่ลาเลียงอาหารได้ ํ
  • 64. กลุ่มท่ อลําเลียงและ interfascicular cambium จาก x-s ลําต้ นทองพันช่ าง
  • 68.
  • 69. โครงสร้ างของใบพืช ลักษณะภายนอกของใบพืช โดยทัวๆไปใบพืชมีลกษณะเป็ นแผ่นบาง ปลายแหลมบ้าง ั ่ ทู่บาง เว้าบ้าง แล้วแต่ชนิดของพืช ส่ วนประกอบภายนอกของ ้ ใบพืชแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ 1. ฐานใบ (base) เป็ นส่ วนที่ยดติดกับลําต้นหรื อกิ่ง ใบพืช ึ บางชนิดที่ฐานใบจะมีใบเล็กๆติดอยู่ 2 ข้าง เรี ยกว่า หูใบ (stipule) เช่น ใบชบา ใบมะขาม เป็ นต้น
  • 70. ่ 2. ก้านใบ (petiole) เป็ นส่ วนที่อยูระหว่างตัวใบและ ่ ้ ลําต้น โดยอยูติดกับเส้นกลางใบ พืชบางชนิดมีกานบางชนิด ้ ไม่มีกานใบ ในพืชใบเลี้ยงคู่มกมีกานใบที่ค่อนข้างกลมหรื อกลม ั ้ ้ ส่ วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมักมีกานใบแผ่เป็ นแผ่นหุมข้อของลําต้น ้ เรี ยกว่า กาบใบ (leaf sheath) ภายในก้านใบจะมีท่อลําเลียง ่ ั (มีไซเลมและโฟลเอ็ม) ติดต่ออยูกบลําต้น
  • 71. 3. ตัวใบหรื อแผ่นใบ (blade หรื อ lamina) เป็ นส่ วนของใบที่มี ลักษณะเป็ นแผ่นแบนบาง เพื่อให้คลอโรฟี ลล์ในใบมีโอกาสสัมผัสหรื อ ่ ั ได้รับแสงแดดให้มากที่สุด ตัวใบมีรูปร่ างลักษณะแตกต่างกันขึ้นอยูกบ ชนิดของพืช เช่น มีรูปร่ างคล้ายใบหอก ลูกธนู หัวใจ ไต เคียว ช้อน เป็ นรู ปไข่ แหลม ยาว เป็ นเส้น เป็ นต้น ตัวใบประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ดังนี้ ่ 3.1 ยอดใบ (apex) อยูนอกสุ ดของตัวใบ อาจเรี ยว มน แหลม หรื อเว้าเข้าสู่ใบเป็ นแบบต่างๆ กัน ่ 3.2 ขอบใบ (rim หรื อ margin) อยูทางด้านข้างของตัวใบ บางชนิดมีลกษณะเรี ยบ หยักหรื อเว้าในแบบต่างๆกัน ั 3.3 เส้นกลางใบ (midrib) และเส้นใบ (vein) มีการจัดเรี ยงตัว ของเส้นใบออกเป็ น 2 แบบ คือ
  • 72. - การจัดเรี ยงตัวของเส้นใบแบบตาข่าย ( netted venation ) พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทวไป โดยเส้นใบย่อย ั่ หรื อเส้นแขนง ( rib ) จะแตกกิ่งก้านออกจากเส้นกลาง ใบเป็ นเส้นเล็กลงตามลําดับ ( vein ) และสานกันเป็ น ร่ างแหหรื อแบบตาข่าย - การจัดเรี ยงตัวของเส้นใบแบบขนาน ( paralleled venation ) พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว จะมีเส้นใบขนานใหญ่ เท่ากันเรี ยงไปในแนวเดียวกันตามยาวจากฐานใบไปสู่ ยอดใบ หรื อจากกลางใบออกสู่ขอบใบ เช่น ใบตอง เป็ นต้น
  • 73. ผิวด้านบนส่ วนที่รับแสงเรี ยกว่า หลังใบ (dorsal side) ส่ วนด้านล่างที่ไม่ได้รับแสง เรี ยกว่า ท้องใบ ( ventral side ) ทางด้านหลังใบมักมีสีเขียวเข้มและผิวเรี ยบกว่าด้านท้องใบ แต่เส้นใบทางด้านท้องใบจะนูนออกมาเห็นได้ชดเจนกว่า ั
  • 74. โครงสร้ างภายในของใบ 1. เอพิเดอร์ มิส ( epidermis) เป็ นเนื้อเยือชั้นนอกสุ ดของใบ ่ ่ ั มีอยูท้ งด้านหลังใบ (upper epidermis) และ ด้านท้องใบ (lower epidermis) ส่ วนมากมีความหนาเพียงชั้นเดียว ผิวชั้นบนของ เซลล์ที่มาสัมผัสอากาศจะหนากว่าผิวชั้นล่างเล็กน้อย และมีสารคล้าย ขี้ผ้ งสี ขาวๆ เรี ยกว่า สารคิวทิน (cutin) ปกคลุมเป็ นชั้นบางๆ ช่วย ึ ป้ องกันการระเหยของนํ้า
  • 75. เอพิเดอร์ มิสประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่ างเป็ นรู ป สี่ เหลี่ยมผืนผ้าเรี ยงตัวกันเพียงชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ มี ่ ั หน้าที่ช่วยป้ องกันโครงสร้างอื่นของใบที่อยูถดไปและช่วย ป้ องกันไม่ให้น้ าระเหยออกจากใบมากเกิน ํ เซลล์บางเซลล์จะเปลี่ยนไปเป็ นเซลล์คุม (guard cell) เป็ นคู่ๆ มีรูปร่ างคล้ายเมล็ดถัว 1 คู่ มาประกบกัน ทําให้เกิดรู ่ ตรงกลางขึ้น คือ ส่ วนของปากใบ (stoma หรื อ stomata) ทําหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สและไอนํ้าระหว่างภายในและภายนอก ใบ ภายในเซลล์คุมมีคลอโรพลาสต์
  • 76. ่ 2. มีโซฟี ลล์ (mesophyll) เป็ นเนื้อเยือที่อยูระหว่าง ่ เอพิเดอร์ มิสด้านบนและด้านล่าง ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา ่ ที่มีคลอโรพลาสต์ (chloroplast) อยูในปริ มาณที่ไม่เท่ากันและมี รู ปร่ างต่างกันออกเป็ น 2 แบบ คือ 2.1 พาลิเสดมีโซฟี ลล์ (palisade mesophyll) เป็ นชั้นที่ติดกับเอพิเดอร์มิสด้านบน ประกอบด้วยเซลล์ที่มี รู ปร่ างยาวเรี ยงต่อกันในแนวตั้งฉากกับเอพิเดอร์มิส โดยไม่มี ช่องว่างระหว่างเซลล์ อาจมีช้ นเดียวหรื อหลายชั้น ภายในเซลล์ ั ที่มีคลอโรพลาสต์อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก จนเป็ นบริ เวนที่มีการ สังเคราะห์ดวยแสงมากที่สุด ้
  • 77. 2.2 สปั นจีมีโซฟี ลล์ (spongy mesophyll) เป็ นชั้นที่อยู่ ถัดลงมาจากพาลิเสดมีโซฟี ลล์จนถึงเอพิเดอร์มิสด้านล่าง ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่ างค่อนข้างกลมเรี ยงตัวหลวมๆ ไม่เป็ น ระเบียบ จึงเกิดช่องว่างระหว่างเซลล์ ช่วยให้เซลล์สมผัสอากาศ ั ภายในใบได้มาก จึงเอื้ออํานวยต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สและไอนํ้า ั ระหว่างเซลล์กบสิ่ งแวดล้อม ภายในมีคลอโรพลาสต์ไม่หนาแน่น จึงเกิดกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงได้นอยกว่าชั้น ้ ้ พาลิเสดมีโซฟี ลล์
  • 78. 3. เส้นใบ (vein) หรื อ มัดท่อลําเลียง (vascular bundle) เป็ นกลุ่มเซลล์ ่ ที่ทาหน้าที่ลาเลียงนํ้า เกลือแร่ และอาหาร ไปสู่ ส่วนต่างๆของใบ แทรกอยูใน ํ ํ ชั้นมีโซฟี ลล์ มีรูปร่ างแตกต่างไปจากพาลิเสดมีโซฟี ลล์และสปันจีมีโซฟี ลล์ กลุ่มเซลล์น้ ีจดเป็ นเนื้อเยือท่อลําเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วยเซลล์ ั ่ ่ ั ไซเลมและเซลล์โฟลเอ็ม ตามปกติเส้นใบจะอยูกนเป็ นย่อมๆในชั้น สปันจีมีโซฟี ลล์ (spongy mesophyll) เส้นใบเส้นใหญ่ที่สุด คือ เส้นกลางใบ แล้วแยกแขนงจากเส้นกลางใบ (midrib) เป็ นเส้นเล็กลงเรื่ อยๆออกไปมากมาย พบว่ามัดท่อลําเลียงจะล้อมรอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เรี ยกว่า บันเดิล ชีท(bundle sheath) ช่วยทําให้มดท่อลําเลียงแข็งแรงขึ้น ซึ่ งบันเดิลชีท ั ่ อาจจะเป็ นเนื้อเยือพาเรงคิมาหรื อสเกลอเรงคิมา 1-2 ชั้น ส่ วนใหญ่จะอยูใน ่ ชั้นสปันจีมีโซฟี ลล์ ทําให้เห็นเส้นใบนูนขึ้นมาทางด้านท้องใบ
  • 82. vascular bundle and bundle sheath
  • 83. หน้ าทีของใบ ่ ใบมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการคือ ํ 1. สร้างอาหารด้วยวิธีการสังเคราะห์ดวยแสง ้ (Photosynthesis) 2. แลกเปลี่ยนแก๊สหรื อการหายใจ (respiration) 3. คายนํ้า (transpiration)
  • 84. เช่น นอกจากนี้ ใบยังมีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างไปเพื่อทําหน้าที่อื่นๆอีก 1. ช่วยยึดและคํ้าจุนลําต้น โดยใบเปลี่ยนไปเป็ นมือเกาะ(tendril) เช่น มือเกาะของต้นตําลึง มะระ บวบ ถัวลันเตา เป็ นต้น ่ 2. แพร่ พนธุ์ เช่น ใบของต้นตายใบเป็ น โคมญี่ปุ่น เป็ นต้น ั 3. ช่วยป้ องกันลําต้น (ใบเปลี่ยนเป็ นหนาม) เช่น หนาม กระบองเพชร เป็ นต้น 4. สะสมอาหารและนํ้า เช่น ใบว่านหางจระเข้ กลีบหัวหอม เป็ นต้น 5. ช่วยในการผสมพันธุ์ คือ กลีบดอกและใบประดับสี สนต่างๆ ั สําหรับล่อแมลง
  • 85. 6. ช่วยประหยัดนํ้าโดยเปลี่ยนเป็ นเกล็ดเล็กๆ เช่น สนทะเล หรื อเปลี่ยนเป็ นหนาม เช่น ใบเสมา กระบองเพชร 7. ช่วยป้ องกันใบอ่อน เช่น เกล็ดหุมตา (bud scale ) ้ 8. ช่วยในการดักจับแมลงโดยใบพืชพวกนี้จะมีการ เปลี่ยนแปลงไปเป็ นกับดักแมลง (เป็ นพืชพวก insectivorous plant) เช่น ใบของต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดนํ้าค้าง เป็ นต้น